From this page you can:
Home |
Search results
19 result(s) search for keyword(s) 'ความสำเร็จ, การปฏิบัติงาน, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) / เฟื่องวิทย์ ชูตินันท์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) Original title : Factors Explaining the Success of the Village Public Health Volunteer Work (VHV.) Material Type: printed text Authors: เฟื่องวิทย์ ชูตินันท์, Author ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 237 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน -- การปฏิบัติงานKeywords: ความสำเร็จ,
การปฏิบัติงาน,
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 2) ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานและ 3) นำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารงานการบริการสาธารณสุขมูลฐาน เป็นการวิจัยแบบผสม กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 398 คน และเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดีเด่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สาธารณสุขอำเภอ สาธารณสุขจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 40 คน วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อยู่ในระดับดี ปัจจัยที่สามารถอธิบายการปฏิบัติงาน ได้แก่ ปัจจัยด้านแรงจูงใจ ภาวะผู้นำ การจัดองค์กรแห่งการเรียนรู้ การสื่อสารและการประสานงาน การนิเทศและประเมินผล การจัดสรรงบประมาณ ด้านกฎหมาย และด้านกลไกทางการเมือง สามารถอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของ อสม. ได้ในระดับมาก โดยปัจจัยด้านกฎหมาย และปัจจัยด้านกลไกทางการเมือง เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุด สามารถพยากรณ์ความสำเร็จของการปฏิบัติงานของ อสม. สังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 ได้ร้อยละ 55.70 โดยมีข้อเสนอเชิงนโยบาย คือ 1) รัฐควรกำหนดเป็นนโยบายสำคัญสนับสนุน อสม. ในการพัฒนาสุขภาพพลเมือง สร้างและพัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงกับประชาชนในการเสริมสร้างสุขภาวะอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม รวมทั้งสร้างสรรค์นวัตกรรมบริการสาธารณสุขเพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศยุค 4.0 2) ในการกำหนดนโยบายรัฐควรคำนึงถึงการบูรณาการองค์ความรู้จากทฤษฎี และประสบการณ์จากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27940 SIU THE-T. ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) = Factors Explaining the Success of the Village Public Health Volunteer Work (VHV.) [printed text] / เฟื่องวิทย์ ชูตินันท์, Author ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 237 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน -- การปฏิบัติงานKeywords: ความสำเร็จ,
การปฏิบัติงาน,
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 2) ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานและ 3) นำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารงานการบริการสาธารณสุขมูลฐาน เป็นการวิจัยแบบผสม กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 398 คน และเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดีเด่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สาธารณสุขอำเภอ สาธารณสุขจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 40 คน วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อยู่ในระดับดี ปัจจัยที่สามารถอธิบายการปฏิบัติงาน ได้แก่ ปัจจัยด้านแรงจูงใจ ภาวะผู้นำ การจัดองค์กรแห่งการเรียนรู้ การสื่อสารและการประสานงาน การนิเทศและประเมินผล การจัดสรรงบประมาณ ด้านกฎหมาย และด้านกลไกทางการเมือง สามารถอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของ อสม. ได้ในระดับมาก โดยปัจจัยด้านกฎหมาย และปัจจัยด้านกลไกทางการเมือง เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุด สามารถพยากรณ์ความสำเร็จของการปฏิบัติงานของ อสม. สังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 ได้ร้อยละ 55.70 โดยมีข้อเสนอเชิงนโยบาย คือ 1) รัฐควรกำหนดเป็นนโยบายสำคัญสนับสนุน อสม. ในการพัฒนาสุขภาพพลเมือง สร้างและพัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงกับประชาชนในการเสริมสร้างสุขภาวะอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม รวมทั้งสร้างสรรค์นวัตกรรมบริการสาธารณสุขเพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศยุค 4.0 2) ในการกำหนดนโยบายรัฐควรคำนึงถึงการบูรณาการองค์ความรู้จากทฤษฎี และประสบการณ์จากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27940 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607992 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607989 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสระแก้ว / วรรณพร พุทธภูมิพิทักษ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสระแก้ว Original title : Strategy for Innovation Development, Management and Success of Small Business Entrepreneurs, Community Enterprise Groups in Sa Kaeo Province Material Type: printed text Authors: วรรณพร พุทธภูมิพิทักษ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 158 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธุรกิจขนาดย่อม -- การบริหาร
[LCSH]นวัตกรรมทางธุรกิจ -- การจัดการKeywords: กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการ,
ความสำเร็จ,
ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เพื่อศึกษาลักษณะของนวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสระแก้ว 2.) เพื่อศึกษานวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกับความสำเร็จของผู้ประกอบการ และ 3.) เพื่อหากลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสระแก้ว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) ผสมผสานกับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR)
ผลจากการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1.) พบว่าลักษณะของนวัตกรรมนวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อยู่ในลักษณะผู้ผลิตเชิงเดี่ยวแบบธุรกิจครอบครัว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีลักษณะการรวมกลุ่มของแต่ละหมู่บ้าน มีการประสานงานกับส่วนราชการจังหวัดสระแก้ว โดยมีผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้านเป็นตัวแทน ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2.) พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีความตื่นตัวในการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันเชิงธุรกิจ มีการใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการตลาดonline ประสบความสำเร็จในระดับปานกลาง ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3.) พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันอยู่ตลอดเวลาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่สำคัญของความสำเร็จ
คือ การสร้างนวัตกรรมการจัดการที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของผู้นำและผู้ประกอบการ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี แผนการตลาด การจำแนกกลุ่มลูกค้าตามความต้องการ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ราคา และความสะดวกของลูกค้า และการสร้างแบรนด์ที่เกี่ยวโยงกับวัฒนธรรมชุมชนCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28047 SIU THE-T. กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสระแก้ว = Strategy for Innovation Development, Management and Success of Small Business Entrepreneurs, Community Enterprise Groups in Sa Kaeo Province [printed text] / วรรณพร พุทธภูมิพิทักษ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 158 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธุรกิจขนาดย่อม -- การบริหาร
[LCSH]นวัตกรรมทางธุรกิจ -- การจัดการKeywords: กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการ,
ความสำเร็จ,
ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เพื่อศึกษาลักษณะของนวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสระแก้ว 2.) เพื่อศึกษานวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกับความสำเร็จของผู้ประกอบการ และ 3.) เพื่อหากลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสระแก้ว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) ผสมผสานกับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR)
ผลจากการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1.) พบว่าลักษณะของนวัตกรรมนวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อยู่ในลักษณะผู้ผลิตเชิงเดี่ยวแบบธุรกิจครอบครัว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีลักษณะการรวมกลุ่มของแต่ละหมู่บ้าน มีการประสานงานกับส่วนราชการจังหวัดสระแก้ว โดยมีผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้านเป็นตัวแทน ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2.) พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีความตื่นตัวในการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันเชิงธุรกิจ มีการใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการตลาดonline ประสบความสำเร็จในระดับปานกลาง ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3.) พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันอยู่ตลอดเวลาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่สำคัญของความสำเร็จ
คือ การสร้างนวัตกรรมการจัดการที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของผู้นำและผู้ประกอบการ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี แผนการตลาด การจำแนกกลุ่มลูกค้าตามความต้องการ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ราคา และความสะดวกของลูกค้า และการสร้างแบรนด์ที่เกี่ยวโยงกับวัฒนธรรมชุมชนCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28047 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607382 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607379 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย / อานนท์ เหมือนทัพ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย Original title : The Development of Thai Female Professional Golfers Material Type: printed text Authors: อานนท์ เหมือนทัพ, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 195 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]นักกอล์ฟKeywords: นักกอล์ฟอาชีพสตรี, การพัฒนา, ความสำเร็จ, ประชารัฐ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาลักษณะของการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย และ 3) ศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย ซึ่งผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยจากวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักนักกอล์ฟสตรีอาชีพ จำนวน 5 คน และผู้ให้ข้อมูลรอง จำนวน 30 คน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยมีเครื่องมือวิจัย ได้แก่ ผู้วิจัย และแบบสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก กล้องถ่ายรูป ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยได้แก่ การฝึกซ้อม พรสวรรค์ การสื่อสาร สุขภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ที่ปรึกษาทางจิตวิทยา โค้ช/พี่เลี้ยง วิทยาศาสตร์การกีฬา การสนับสนุนจากภาคเอกชน การสนับสนุนจากครอบครัว งานวิจัยนี้ได้ค้นพบอีกว่า ความสำเร็จของนักกอล์ฟอาชีพไม่ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนจากภาครัฐ และหน่วยงานภาครัฐไม่มีนโยบายที่สนับสนุนการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยอย่างเป็นรูปธรรม แต่ความสำเร็จมาจากการสนับสนุนของครอบครัว ซึ่งเป็นความสำเร็จที่ทำประโยชน์ในการสร้างรายได้และการสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ กล่าวคือ รัฐ/ประเทศชาติได้ประโยชน์จาก ประชารัฐ ข้อเสนอแนะหน่วยงานภาครัฐควรให้ความสำคัญในการสร้างและพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟอาชีพไทย Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27651 SIU THE-T. การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย = The Development of Thai Female Professional Golfers [printed text] / อานนท์ เหมือนทัพ, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 195 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]นักกอล์ฟKeywords: นักกอล์ฟอาชีพสตรี, การพัฒนา, ความสำเร็จ, ประชารัฐ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาลักษณะของการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย และ 3) ศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย ซึ่งผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยจากวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักนักกอล์ฟสตรีอาชีพ จำนวน 5 คน และผู้ให้ข้อมูลรอง จำนวน 30 คน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยมีเครื่องมือวิจัย ได้แก่ ผู้วิจัย และแบบสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก กล้องถ่ายรูป ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยได้แก่ การฝึกซ้อม พรสวรรค์ การสื่อสาร สุขภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ที่ปรึกษาทางจิตวิทยา โค้ช/พี่เลี้ยง วิทยาศาสตร์การกีฬา การสนับสนุนจากภาคเอกชน การสนับสนุนจากครอบครัว งานวิจัยนี้ได้ค้นพบอีกว่า ความสำเร็จของนักกอล์ฟอาชีพไม่ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนจากภาครัฐ และหน่วยงานภาครัฐไม่มีนโยบายที่สนับสนุนการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยอย่างเป็นรูปธรรม แต่ความสำเร็จมาจากการสนับสนุนของครอบครัว ซึ่งเป็นความสำเร็จที่ทำประโยชน์ในการสร้างรายได้และการสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ กล่าวคือ รัฐ/ประเทศชาติได้ประโยชน์จาก ประชารัฐ ข้อเสนอแนะหน่วยงานภาครัฐควรให้ความสำคัญในการสร้างและพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟอาชีพไทย Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27651 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597128 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597789 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Morale and Motivation in Work of Police Officers in Patrol and Special Operation Division Police Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 74 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ขวัญและกำลังใจ
การปฏิบัติงาน
กองบังคับการสายตรวจปฏิบัติการพิเศษ
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่องขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26119 SIU IS-T. ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Morale and Motivation in Work of Police Officers in Patrol and Special Operation Division Police Metropolitan Police Bureau [printed text] / พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 74 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ขวัญและกำลังใจ
การปฏิบัติงาน
กองบังคับการสายตรวจปฏิบัติการพิเศษ
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่องขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26119 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590388 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590354 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความสำเร็จของกลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงอายุ / ปกรณ์เกียรติ จันทรกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสำเร็จของกลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงอายุ Original title : Successful Marketing Strategy for Senior Home Services Material Type: printed text Authors: ปกรณ์เกียรติ จันทรกุล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 136 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตลาดบริการ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัยKeywords: กลยุทธ์,
การตลาด,
ความสำเร็จ,
บริการ,
ที่พัก,
ผู้สูงอายุAbstract: การวิจัยนี้มีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การดำเนินธุรกิจของการให้บริการบ้านพักผู้สูงวัยในประเทศไทย และศึกษาความต้องการที่แท้จริงของผู้สูงวัยที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดของผู้ประกอบการบ้านพักสำหรับผู้สูงวัย เป็นวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป ที่เป็นผู้ที่ใช้บริการบ้านพักผู้สูงวัยอยู่ในปัจจุบันจำนวน 400 คน ใช้สถิติเชิงพรรณา ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและความเห็นต่าง ๆ และใช้การวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวนทางเดียว ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ระหว่าง 55 - 60 ปี มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 30,001 - 40,000 บาท ราคาค่าบริการเดือนละ 15,001 - 20,000 บาทต่อเดือนและเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง ส่วนปัจจัยที่ทำให้เลือกบ้านพักคือความสะดวกในการเดินทาง ค่าบริการเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพห้องพักที่ได้รับ บ้านพักมีช่องทางการจัดจำหน่ายหลายช่องทาง มีโครงการให้รางวัลหากท่านสามารถแนะนำลูกค้าใหม่ มีบริการร้านขายของ ศูนย์อาหาร ร้านซักรีด และอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ผู้สูงวัยยังให้ความสำคัญกับบุคลากรที่ทำงานในบ้านพัก การจัดให้มีอุปกรณ์สำหรับช่วยในการเดิน ในการนี้ผู้สูงวัยมีความประทับใจในบริการที่ได้รับด้านสถานที่ตั้งและห้องพัก และยืนยันที่จะใช้บริการที่พักอาศัยในปัจจุบันอีกต่อไป สำหรับผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่ากลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงวัยมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของการตลาดบริการของการประกอบกิจการ และพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการกับความภักดี โดยหากมีโอกาสจะแนะนำบุคคลที่รู้จักมาใช้บริการพักอาศัยผู้สูงวัยที่ใช้บริการอยู่ในปัจจุบันCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27235 SIU THE-T. ความสำเร็จของกลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงอายุ = Successful Marketing Strategy for Senior Home Services [printed text] / ปกรณ์เกียรติ จันทรกุล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 136 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตลาดบริการ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัยKeywords: กลยุทธ์,
การตลาด,
ความสำเร็จ,
บริการ,
ที่พัก,
ผู้สูงอายุAbstract: การวิจัยนี้มีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การดำเนินธุรกิจของการให้บริการบ้านพักผู้สูงวัยในประเทศไทย และศึกษาความต้องการที่แท้จริงของผู้สูงวัยที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดของผู้ประกอบการบ้านพักสำหรับผู้สูงวัย เป็นวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป ที่เป็นผู้ที่ใช้บริการบ้านพักผู้สูงวัยอยู่ในปัจจุบันจำนวน 400 คน ใช้สถิติเชิงพรรณา ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและความเห็นต่าง ๆ และใช้การวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวนทางเดียว ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ระหว่าง 55 - 60 ปี มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 30,001 - 40,000 บาท ราคาค่าบริการเดือนละ 15,001 - 20,000 บาทต่อเดือนและเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง ส่วนปัจจัยที่ทำให้เลือกบ้านพักคือความสะดวกในการเดินทาง ค่าบริการเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพห้องพักที่ได้รับ บ้านพักมีช่องทางการจัดจำหน่ายหลายช่องทาง มีโครงการให้รางวัลหากท่านสามารถแนะนำลูกค้าใหม่ มีบริการร้านขายของ ศูนย์อาหาร ร้านซักรีด และอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ผู้สูงวัยยังให้ความสำคัญกับบุคลากรที่ทำงานในบ้านพัก การจัดให้มีอุปกรณ์สำหรับช่วยในการเดิน ในการนี้ผู้สูงวัยมีความประทับใจในบริการที่ได้รับด้านสถานที่ตั้งและห้องพัก และยืนยันที่จะใช้บริการที่พักอาศัยในปัจจุบันอีกต่อไป สำหรับผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่ากลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงวัยมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของการตลาดบริการของการประกอบกิจการ และพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการกับความภักดี โดยหากมีโอกาสจะแนะนำบุคคลที่รู้จักมาใช้บริการพักอาศัยผู้สูงวัยที่ใช้บริการอยู่ในปัจจุบันCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27235 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594513 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594547 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี / พงษ์รวี ค้าทวี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี Original title : Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province Material Type: printed text Authors: พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 89 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี = Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province [printed text] / พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 89 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591691 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591709 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน / ธงชัย มานะพัฒนเสถียร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน Original title : Factors Affecting Work Motivation Among the Non-Commissioned Police. The Royal Protection Police Sub-Division 2, Protection and Crowd Control Division Material Type: printed text Authors: ธงชัย มานะพัฒนเสถียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจ,
การปฏิบัติงาน,
กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนAbstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 20 – 30 ปี มีอายุราชการ 1 – 10 ปี มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับชั้นยศสิบตำรวจตรี และปฏิบัติงานอยู่ในสายงานอารักขาที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า ในปัจจัยจูงใจ โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านเนื้องาน ด้านความรับผิดชอบต่องาน ด้านความรู้สึกยอมรับ และด้านความก้าวหน้า ส่วนปัจจัยค้ำจุน โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านเงินเดือนและความมั่นคงในงาน และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สถานภาพส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ชั้นยศ และสายงานที่ปฏิบัติ แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: ประการแรก ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานควรปรับปรุงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรมีการจัดฝึกอบรม ศึกษาดูงานให้กับบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ควรส่งเสริมให้กำลังพลได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ควรจัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานอย่างเพียงพอและมีความทันสมัย ควรจัดสวัสดิการเงินกู้ช่วยเหลือทางการเงินด้านต่าง ๆ รวมทั้งควรจัดให้มีสวัสดิการอาหารกลางวันและจำหน่ายสินค้าราคาถูกให้กับกำลังพล ในด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ผู้บังคับบัญชาควรส่งเสริมให้กำลังพลมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานการปฏิบัติงาน และใช้ภาวะผู้นำในการบริหารองค์การเพื่อทำให้กำลังพลเกิดความกระตือรือร้นในการทำงานอยู่เสมอ และประการที่สอง ในการศึกษางานวิจัยครั้งต่อไป ควรพิจารณาหาวิธีการวิจัยในลักษณะอื่นนอกเหนือจากการวิจัยแบบสำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26684 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน = Factors Affecting Work Motivation Among the Non-Commissioned Police. The Royal Protection Police Sub-Division 2, Protection and Crowd Control Division [printed text] / ธงชัย มานะพัฒนเสถียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจ,
การปฏิบัติงาน,
กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนAbstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 20 – 30 ปี มีอายุราชการ 1 – 10 ปี มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับชั้นยศสิบตำรวจตรี และปฏิบัติงานอยู่ในสายงานอารักขาที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า ในปัจจัยจูงใจ โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านเนื้องาน ด้านความรับผิดชอบต่องาน ด้านความรู้สึกยอมรับ และด้านความก้าวหน้า ส่วนปัจจัยค้ำจุน โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านเงินเดือนและความมั่นคงในงาน และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สถานภาพส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ชั้นยศ และสายงานที่ปฏิบัติ แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: ประการแรก ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานควรปรับปรุงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรมีการจัดฝึกอบรม ศึกษาดูงานให้กับบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ควรส่งเสริมให้กำลังพลได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ควรจัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานอย่างเพียงพอและมีความทันสมัย ควรจัดสวัสดิการเงินกู้ช่วยเหลือทางการเงินด้านต่าง ๆ รวมทั้งควรจัดให้มีสวัสดิการอาหารกลางวันและจำหน่ายสินค้าราคาถูกให้กับกำลังพล ในด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ผู้บังคับบัญชาควรส่งเสริมให้กำลังพลมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานการปฏิบัติงาน และใช้ภาวะผู้นำในการบริหารองค์การเพื่อทำให้กำลังพลเกิดความกระตือรือร้นในการทำงานอยู่เสมอ และประการที่สอง ในการศึกษางานวิจัยครั้งต่อไป ควรพิจารณาหาวิธีการวิจัยในลักษณะอื่นนอกเหนือจากการวิจัยแบบสำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26684 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593259 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593192 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า / พงศกร ลวนานนท์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า Original title : Problem and Obstacle in Sufferers Rescue Operation of Khuson Shatta Foundation’s Volunteers, Koh Tao, Suratthani Province Material Type: printed text Authors: พงศกร ลวนานนท์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 85 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-36
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การทำงาน
[LCSH]อาสาสมัครKeywords: การกู้ภัย,
การปฏิบัติงาน,
เกาะเต่า,
ปัญหาและอุปสรรค,
อาสาสมัครAbstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ ปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากอาสาสมัครมูลนิธิจำนวน 87 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ รองลงมาได้แก่ ด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ ด้านการสนับสนุนช่วยเหลือ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านบุคลากร เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน การจัดการองค์การ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายสถาณการณ์ พบว่า การมอบอำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติเป็นอุปสรรคระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การแจ้งและรายงานผลการปฏิบัติงาน นอกจากนี้พบว่า การรับสมัคร และการคัดเลือกคนเข้ามาเป็นอาสาสมัคร มีอุปสรรคอยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การสร้างระบบการทำงานเป็นทีม ด้านการสนับสนุนช่วยเหลืออยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การดำเนินการกู้ภัยระหว่างอาสาสมัครมูลนิธิอื่นอยู่ในระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การส่งต่อผู้ประสบเหตุไปยังหน่วยงานอื่น ด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์อยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดหาอุปกรณ์กู้ภัยและการปฐมพยาบาลอยู่ในระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การบำรุงรักษาซ่อมแซมอุปกรณ์กู้ภัยและการปฐมพยาบาล ท้ายสุดผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธา เกาะเต่า พบว่าอาสาสมัครที่มีประชากรศาสตร์แตกต่างกัน มีปัญหาและอุปสรรคในการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27029 SIU IS-T. ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า = Problem and Obstacle in Sufferers Rescue Operation of Khuson Shatta Foundation’s Volunteers, Koh Tao, Suratthani Province [printed text] / พงศกร ลวนานนท์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 85 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-36
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การทำงาน
[LCSH]อาสาสมัครKeywords: การกู้ภัย,
การปฏิบัติงาน,
เกาะเต่า,
ปัญหาและอุปสรรค,
อาสาสมัครAbstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ ปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากอาสาสมัครมูลนิธิจำนวน 87 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ รองลงมาได้แก่ ด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ ด้านการสนับสนุนช่วยเหลือ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านบุคลากร เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน การจัดการองค์การ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายสถาณการณ์ พบว่า การมอบอำนาจการตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติเป็นอุปสรรคระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การแจ้งและรายงานผลการปฏิบัติงาน นอกจากนี้พบว่า การรับสมัคร และการคัดเลือกคนเข้ามาเป็นอาสาสมัคร มีอุปสรรคอยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การสร้างระบบการทำงานเป็นทีม ด้านการสนับสนุนช่วยเหลืออยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การดำเนินการกู้ภัยระหว่างอาสาสมัครมูลนิธิอื่นอยู่ในระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การส่งต่อผู้ประสบเหตุไปยังหน่วยงานอื่น ด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์อยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดหาอุปกรณ์กู้ภัยและการปฐมพยาบาลอยู่ในระดับสูงสุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การบำรุงรักษาซ่อมแซมอุปกรณ์กู้ภัยและการปฐมพยาบาล ท้ายสุดผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยของอาสาสมัครกู้ภัยมูลนิธิกุศลศรัทธา เกาะเต่า พบว่าอาสาสมัครที่มีประชากรศาสตร์แตกต่างกัน มีปัญหาและอุปสรรคในการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27029 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594331 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-36 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594323 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-36 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร / รุจิรา ฟูเจริญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Leaderships of Successful Female Executives in Public Vocational Education Institutions under Commission on Vocational in Bangkok Material Type: printed text Authors: รุจิรา ฟูเจริญ, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 109 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้นำ
[LCSH]สตรี
[LCSH]อาชีวศึกษาKeywords: ความสำเร็จภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขององค์ประกอบคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรด้านการศึกษาที่ทำงานในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่าผู้บริหารสตรีมีภาวะผู้นำด้านมุ่งเกณฑ์ (separated) ในระดับสูงสุด รองลงมาคือภาวะผู้นำด้านมุ่งงาน (task oriented) ในระดับสูงภาวะผู้นำด้านมุ่งประสาน (integrated) ในระดับสูง และภาวะผู้นำด้านมุ่งสัมพันธ์ (related) ในระดับสูง ตามลำดับ สำหรับด้านทัศนคติของผู้ร่วมงานเกี่ยวกับการยอมรับผู้บริหารสตรีพบว่าอยู่ในระดับดี ความพึงพอใจของผู้ตามในภาพรวมอยู่ในระดับมากผู้ตามมีแรงจูงใจอยู่ในระดับสูงและเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้ทำงานบรรลุเป้าหมายได้ดี นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าคุณลักษณะของผู้ตามที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาแตกต่างกันผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันของผู้ตามมีผลต่อการรับรู้ลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีแตกต่างกันและผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู้นำแบบพื้นฐาน 4 แบบกับความสำเร็จของผู้บริหารสตรีในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27293 SIU THE-T. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร = Leaderships of Successful Female Executives in Public Vocational Education Institutions under Commission on Vocational in Bangkok [printed text] / รุจิรา ฟูเจริญ, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 109 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้นำ
[LCSH]สตรี
[LCSH]อาชีวศึกษาKeywords: ความสำเร็จภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขององค์ประกอบคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรด้านการศึกษาที่ทำงานในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่าผู้บริหารสตรีมีภาวะผู้นำด้านมุ่งเกณฑ์ (separated) ในระดับสูงสุด รองลงมาคือภาวะผู้นำด้านมุ่งงาน (task oriented) ในระดับสูงภาวะผู้นำด้านมุ่งประสาน (integrated) ในระดับสูง และภาวะผู้นำด้านมุ่งสัมพันธ์ (related) ในระดับสูง ตามลำดับ สำหรับด้านทัศนคติของผู้ร่วมงานเกี่ยวกับการยอมรับผู้บริหารสตรีพบว่าอยู่ในระดับดี ความพึงพอใจของผู้ตามในภาพรวมอยู่ในระดับมากผู้ตามมีแรงจูงใจอยู่ในระดับสูงและเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้ทำงานบรรลุเป้าหมายได้ดี นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าคุณลักษณะของผู้ตามที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาแตกต่างกันผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันของผู้ตามมีผลต่อการรับรู้ลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีแตกต่างกันและผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู้นำแบบพื้นฐาน 4 แบบกับความสำเร็จของผู้บริหารสตรีในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27293 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595098 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595106 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล / รุ่งนภา กุลภักดี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล Original title : Management Model Affecting the Success in Nursing Education Institutions Material Type: printed text Authors: รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xii, 255 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ผู้นำ -- คุณลักษณะKeywords: ความสำเร็จของสถาบัน,
การบริหารจัดการ,
คุณลักษณะผู้นำ,
สถาบันการศึกษาพยาบาลAbstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำและการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล และกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี/ผู้อำนวยการและอาจารย์พยาบาลปฏิบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling : SEM) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=-.52, IE=1.67) ส่วนการบริหารจัดการมีอิทธิพลทางตรงกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=5.909, df=6, P=.433, CMIN/df=.985, GFI=.996, AGFI=.976, RMSEA=.000) ซึ่งสามารถอธิบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27547 SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล = Management Model Affecting the Success in Nursing Education Institutions [printed text] / รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xii, 255 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ผู้นำ -- คุณลักษณะKeywords: ความสำเร็จของสถาบัน,
การบริหารจัดการ,
คุณลักษณะผู้นำ,
สถาบันการศึกษาพยาบาลAbstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำและการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล และกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี/ผู้อำนวยการและอาจารย์พยาบาลปฏิบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling : SEM) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=-.52, IE=1.67) ส่วนการบริหารจัดการมีอิทธิพลทางตรงกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=5.909, df=6, P=.433, CMIN/df=.985, GFI=.996, AGFI=.976, RMSEA=.000) ซึ่งสามารถอธิบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27547 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596674 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596682 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. องค์ประกอบของคุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของบริษัทรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง / ศิร์รัฐ ภิรมย์บวรภักดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : องค์ประกอบของคุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของบริษัทรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง Original title : Elements of Service Quality Influencing on the Success of Security Service Companies in the Industrial Estates in the Central Region Material Type: printed text Authors: ศิร์รัฐ ภิรมย์บวรภักดิ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xii, 120 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2019-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ
[LCSH]ธุรกิจรักษาความปลอดภัย -- การให้บริการKeywords: การบริการ,
ความสำเร็จ,
ธุรกิจรักษาความปลอดภัยAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของธุรกิจรักษาความปลอดภัย ในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง ทำการเก็บข้อมูลจากผู้จัดการบริษัทผู้ใช้บริการรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง จำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยยอมรับสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ทำงานในตำแหน่งผู้จัดการ โดยอยู่ในตำแหน่งปัจจุบันมากกว่า 1 ถึง 5 ปี ทำงานอยู่ในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมการผลิต โดยบริษัทจดทะเบียนมาแล้วมากกว่า 10 ปี มีจำนวนพนักงานทำงานในกิจการจำนวน 101 - 500 คน ผลจากการวิจัยในครั้งนี้พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับขนาดของบริษัทรักษาความปลอดภัยในระดับมากที่สุด รองลงมาพบว่ามีการให้ความความสำคัญกับจำนวนพนักงานรักษาความปลอดภัยของบริษัทผู้ให้บริการ และการรับผิดชอบต่อความเสียหายว่ามีผลต่อความสำเร็จของการบริการ ส่วนความสำคัญด้านคุณลักษณะของบริษัทผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัย พบว่า ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของบริษัทผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัยในภาพรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน โดยพบว่า ชื่อเสียงของเจ้าของธุรกิจมีความสำคัญเป็นอันดับแรก รองลงมาคือหน่วยงานที่เคยใช้บริการสำหรับนำมาใช้ในการอ้างอิง การได้รับการรับรองโดยสถาบันต่างๆ เรียงตามลำดับ การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร การได้รับการรับรองมาตรฐาน และประสบการณ์ของบริษัทผู้ให้บริการในธุรกิจรักษาความปลอดภัย เรียงตามลำดับ ส่วนด้านประสิทธิภาพในการให้บริการที่นำไปสู่ความสำเร็จผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับความปลอดภัยมากเป็นอันดับแรก ตามด้วยความไว้วางใจ ประสิทธิภาพของการตอบสนองต่อเหตุการณ์ และความน่าเชื่อถือของการให้บริการจากบริษัทรักษาความปลอดภัย ส่วนด้านส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อความสำเร็จในการให้บริการพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับกระบวนการจัดการด้านการให้บริการมากเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นภาพลักษณ์ที่ปรากฏต่อสายตาผู้รับบริการ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ อัตราค่าบริการ ช่องทางการจัดจำหน่าย การสื่อสารการตลาด และความน่าเชื่อถือของบุคลากรCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27930 SIU THE-T. องค์ประกอบของคุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของบริษัทรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง = Elements of Service Quality Influencing on the Success of Security Service Companies in the Industrial Estates in the Central Region [printed text] / ศิร์รัฐ ภิรมย์บวรภักดิ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xii, 120 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2019-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ
[LCSH]ธุรกิจรักษาความปลอดภัย -- การให้บริการKeywords: การบริการ,
ความสำเร็จ,
ธุรกิจรักษาความปลอดภัยAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการให้บริการที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของธุรกิจรักษาความปลอดภัย ในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง ทำการเก็บข้อมูลจากผู้จัดการบริษัทผู้ใช้บริการรักษาความปลอดภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง จำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยยอมรับสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ทำงานในตำแหน่งผู้จัดการ โดยอยู่ในตำแหน่งปัจจุบันมากกว่า 1 ถึง 5 ปี ทำงานอยู่ในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมการผลิต โดยบริษัทจดทะเบียนมาแล้วมากกว่า 10 ปี มีจำนวนพนักงานทำงานในกิจการจำนวน 101 - 500 คน ผลจากการวิจัยในครั้งนี้พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับขนาดของบริษัทรักษาความปลอดภัยในระดับมากที่สุด รองลงมาพบว่ามีการให้ความความสำคัญกับจำนวนพนักงานรักษาความปลอดภัยของบริษัทผู้ให้บริการ และการรับผิดชอบต่อความเสียหายว่ามีผลต่อความสำเร็จของการบริการ ส่วนความสำคัญด้านคุณลักษณะของบริษัทผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัย พบว่า ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของบริษัทผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัยในภาพรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน โดยพบว่า ชื่อเสียงของเจ้าของธุรกิจมีความสำคัญเป็นอันดับแรก รองลงมาคือหน่วยงานที่เคยใช้บริการสำหรับนำมาใช้ในการอ้างอิง การได้รับการรับรองโดยสถาบันต่างๆ เรียงตามลำดับ การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร การได้รับการรับรองมาตรฐาน และประสบการณ์ของบริษัทผู้ให้บริการในธุรกิจรักษาความปลอดภัย เรียงตามลำดับ ส่วนด้านประสิทธิภาพในการให้บริการที่นำไปสู่ความสำเร็จผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับความปลอดภัยมากเป็นอันดับแรก ตามด้วยความไว้วางใจ ประสิทธิภาพของการตอบสนองต่อเหตุการณ์ และความน่าเชื่อถือของการให้บริการจากบริษัทรักษาความปลอดภัย ส่วนด้านส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อความสำเร็จในการให้บริการพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับกระบวนการจัดการด้านการให้บริการมากเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นภาพลักษณ์ที่ปรากฏต่อสายตาผู้รับบริการ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ อัตราค่าบริการ ช่องทางการจัดจำหน่าย การสื่อสารการตลาด และความน่าเชื่อถือของบุคลากรCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27930 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598761 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598738 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. โอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรีในสถาบันการเงินภาครัฐ / กนกวรรณ ก่อเกิด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : โอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรีในสถาบันการเงินภาครัฐ Original title : Opportunities and Obstacles in Women’s Advancement in Specialized Financial institutions Material Type: printed text Authors: กนกวรรณ ก่อเกิด, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 113 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2019-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี
[LCSH]สถาบันการเงินของรัฐKeywords: ความสำเร็จ,
สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ,
ผู้บริหารสตรี,
โอกาสและอุปสรรคAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาโอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรี ที่ทำงานในสถาบันการเงินเฉพาะกิจของภาครัฐ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ที่ทำงานในสถาบันการเงินเฉพาะกิจของภาครัฐ 4 แห่ง โดยใช้แบบสอบถาม แบบกึ่งโครงสร้าง และใช้สถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ตัวแปร และทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานะภาพสมรสและอยู่ด้วยกัน งานที่ทำไม่ได้เป็นงานแรก มีประสบการทำงานทั้งหมด 15 ปีผู้ ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับความสมดุลระหว่างงานกับครอบครัวเป็นอันดับแรก และรองลงมาคือ การรับรู้เกี่ยวกับการสนับสนุนจากองค์การ ผลจากการวิจัยพบว่าสถานภาพ ระดับการศึกษา และแผนกงานที่ทำในปัจจุบันมีผลต่อความพึงพอใจในอาชีพ นอกจากนี้พบว่ารายได้ไม่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การ พนักงานสามารถรับรู้ได้ถึงความมั่นคงในการทำงาน และรู้สึกถึงความผูกพันในองค์โดยไม่คิดเปลี่ยนงานแม้จะมีโอกาสก็ตาม ผลการวิจัยยังพบว่าจำนวนครั้งของการอบรมมีผลต่อความรู้สึกองค์กรสนับสนุนให้มีความก้าวหน้า ส่วนผลการทดสอบความสัมพันธ์ด้านทัศนคติที่มีต่อสตรีพบว่าเป็นอุปสรรคต่อการก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27931 SIU THE-T. โอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรีในสถาบันการเงินภาครัฐ = Opportunities and Obstacles in Women’s Advancement in Specialized Financial institutions [printed text] / กนกวรรณ ก่อเกิด, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 113 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2019-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี
[LCSH]สถาบันการเงินของรัฐKeywords: ความสำเร็จ,
สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ,
ผู้บริหารสตรี,
โอกาสและอุปสรรคAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาโอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรี ที่ทำงานในสถาบันการเงินเฉพาะกิจของภาครัฐ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ที่ทำงานในสถาบันการเงินเฉพาะกิจของภาครัฐ 4 แห่ง โดยใช้แบบสอบถาม แบบกึ่งโครงสร้าง และใช้สถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ตัวแปร และทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานะภาพสมรสและอยู่ด้วยกัน งานที่ทำไม่ได้เป็นงานแรก มีประสบการทำงานทั้งหมด 15 ปีผู้ ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับความสมดุลระหว่างงานกับครอบครัวเป็นอันดับแรก และรองลงมาคือ การรับรู้เกี่ยวกับการสนับสนุนจากองค์การ ผลจากการวิจัยพบว่าสถานภาพ ระดับการศึกษา และแผนกงานที่ทำในปัจจุบันมีผลต่อความพึงพอใจในอาชีพ นอกจากนี้พบว่ารายได้ไม่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การ พนักงานสามารถรับรู้ได้ถึงความมั่นคงในการทำงาน และรู้สึกถึงความผูกพันในองค์โดยไม่คิดเปลี่ยนงานแม้จะมีโอกาสก็ตาม ผลการวิจัยยังพบว่าจำนวนครั้งของการอบรมมีผลต่อความรู้สึกองค์กรสนับสนุนให้มีความก้าวหน้า ส่วนผลการทดสอบความสัมพันธ์ด้านทัศนคติที่มีต่อสตรีพบว่าเป็นอุปสรรคต่อการก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27931 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607982 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607981 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การวิเคราะห์ตัวประกอบการรับรู้ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพโรง พยาบาลของรัฐ / ณัฐกมล แพทย์รังษี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : การวิเคราะห์ตัวประกอบการรับรู้ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพโรง พยาบาลของรัฐ Original title : A factor analysis of subjective career success of professional nurses, governmental hospitals Material Type: printed text Authors: ณัฐกมล แพทย์รังษี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฌ, 137 แผ่น Size: 30 ISBN (or other code): 978-974-141-958-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: ความสำเร็จ. Class number: WY100 ณ413 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23193 การวิเคราะห์ตัวประกอบการรับรู้ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพโรง พยาบาลของรัฐ = A factor analysis of subjective career success of professional nurses, governmental hospitals [printed text] / ณัฐกมล แพทย์รังษี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฌ, 137 แผ่น ; 30.
ISSN : 978-974-141-958-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: ความสำเร็จ. Class number: WY100 ณ413 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23193 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354553 WY100 ณ413 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available บริหารธุรกิจ: ความสำเร็จและความยั่งยืนบนการสร้างคุณค่า / วิทยา ด่านธำรงกูล / ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - 2561
Title : บริหารธุรกิจ: ความสำเร็จและความยั่งยืนบนการสร้างคุณค่า Original title : Business: Creating value for success and sustainability Material Type: printed text Authors: วิทยา ด่านธำรงกูล, Author Publisher: ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Publication Date: 2561 Pagination: 434 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 28 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-474854-5 Price: 420.00 บาท Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการอุตสาหกรรม
[LCSH]การจัดตั้งธุรกิจ
[LCSH]การสร้างสรรค์ทางธุรกิจ -- ไทย
[LCSH]ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ -- ไทย
[LCSH]ความเป็นผู้ประกอบการทางสังคม -- ไทย
[LCSH]โมเดลธุรกิจKeywords: ธุรกิจ, การจัดการ, การบริหารธุรกิจ, ความสำเร็จทางธุรกิจ Class number: HD37 .ว634บ 2561 Contents note: ส่วนที่ 1 ธุรกิจ: การปรับตัวเพื่อความสำเร็จและยั่งยืน -- ส่วนที่ 2 การบริหารธุรกิจเพื่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพ -- ส่วนที่ 3 ธุรกิจกับการผลิิตสินค้าและบริการคุณภาพ -- ส่วนที่ 4 ธุรกิจกับการสร้างความพึงพอใจให้ผู้บริโภค -- ส่วนที่ 5 การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อประสิทธิภาพ -- ส่วนที่ 6 การบริหารการเงินเพื่อสร้างคุณค่าทางธุรกิจ. Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28209 บริหารธุรกิจ: ความสำเร็จและความยั่งยืนบนการสร้างคุณค่า = Business: Creating value for success and sustainability [printed text] / วิทยา ด่านธำรงกูล, Author . - [S.l.] : ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561 . - 434 น. : ภาพประกอบ ; 28 ซม.
ISBN : 978-6-16-474854-5 : 420.00 บาท
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการอุตสาหกรรม
[LCSH]การจัดตั้งธุรกิจ
[LCSH]การสร้างสรรค์ทางธุรกิจ -- ไทย
[LCSH]ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ -- ไทย
[LCSH]ความเป็นผู้ประกอบการทางสังคม -- ไทย
[LCSH]โมเดลธุรกิจKeywords: ธุรกิจ, การจัดการ, การบริหารธุรกิจ, ความสำเร็จทางธุรกิจ Class number: HD37 .ว634บ 2561 Contents note: ส่วนที่ 1 ธุรกิจ: การปรับตัวเพื่อความสำเร็จและยั่งยืน -- ส่วนที่ 2 การบริหารธุรกิจเพื่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพ -- ส่วนที่ 3 ธุรกิจกับการผลิิตสินค้าและบริการคุณภาพ -- ส่วนที่ 4 ธุรกิจกับการสร้างความพึงพอใจให้ผู้บริโภค -- ส่วนที่ 5 การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อประสิทธิภาพ -- ส่วนที่ 6 การบริหารการเงินเพื่อสร้างคุณค่าทางธุรกิจ. Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28209 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607059 HD37 .ว634บ 2561 Book Main Library General Shelf Available ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) / ปรางค์ จักรไชย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) : ในทีมหมอครอบครัว จังหวัดปทุมธานี Original title : Factors affecting the performance of village health volunteers (VHVs) of family care teams Pathum Thani province Material Type: printed text Authors: ปรางค์ จักรไชย, Author ; อภิชัย คุณีพงษ์, Author ; วรเดช ช้างแก้ว, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.16-28 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.16-28Keywords: อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.).ทีมหมอครอบครัว.การปฎิบัติงานของอสม. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26760 [article] ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) = Factors affecting the performance of village health volunteers (VHVs) of family care teams Pathum Thani province : ในทีมหมอครอบครัว จังหวัดปทุมธานี [printed text] / ปรางค์ จักรไชย, Author ; อภิชัย คุณีพงษ์, Author ; วรเดช ช้างแก้ว, Author . - 2017 . - p.16-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)