From this page you can:
Home |
Search results
4 result(s) search for keyword(s) 'ความสำเร็จภาวะผู้นำ, ผู้บริหารสตรี, สถาบันอาชีวศึกษา'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร / รุจิรา ฟูเจริญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Leaderships of Successful Female Executives in Public Vocational Education Institutions under Commission on Vocational in Bangkok Material Type: printed text Authors: รุจิรา ฟูเจริญ, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 109 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้นำ
[LCSH]สตรี
[LCSH]อาชีวศึกษาKeywords: ความสำเร็จภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขององค์ประกอบคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรด้านการศึกษาที่ทำงานในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่าผู้บริหารสตรีมีภาวะผู้นำด้านมุ่งเกณฑ์ (separated) ในระดับสูงสุด รองลงมาคือภาวะผู้นำด้านมุ่งงาน (task oriented) ในระดับสูงภาวะผู้นำด้านมุ่งประสาน (integrated) ในระดับสูง และภาวะผู้นำด้านมุ่งสัมพันธ์ (related) ในระดับสูง ตามลำดับ สำหรับด้านทัศนคติของผู้ร่วมงานเกี่ยวกับการยอมรับผู้บริหารสตรีพบว่าอยู่ในระดับดี ความพึงพอใจของผู้ตามในภาพรวมอยู่ในระดับมากผู้ตามมีแรงจูงใจอยู่ในระดับสูงและเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้ทำงานบรรลุเป้าหมายได้ดี นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าคุณลักษณะของผู้ตามที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาแตกต่างกันผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันของผู้ตามมีผลต่อการรับรู้ลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีแตกต่างกันและผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู้นำแบบพื้นฐาน 4 แบบกับความสำเร็จของผู้บริหารสตรีในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27293 SIU THE-T. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร = Leaderships of Successful Female Executives in Public Vocational Education Institutions under Commission on Vocational in Bangkok [printed text] / รุจิรา ฟูเจริญ, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 109 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้นำ
[LCSH]สตรี
[LCSH]อาชีวศึกษาKeywords: ความสำเร็จภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขององค์ประกอบคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรด้านการศึกษาที่ทำงานในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่าผู้บริหารสตรีมีภาวะผู้นำด้านมุ่งเกณฑ์ (separated) ในระดับสูงสุด รองลงมาคือภาวะผู้นำด้านมุ่งงาน (task oriented) ในระดับสูงภาวะผู้นำด้านมุ่งประสาน (integrated) ในระดับสูง และภาวะผู้นำด้านมุ่งสัมพันธ์ (related) ในระดับสูง ตามลำดับ สำหรับด้านทัศนคติของผู้ร่วมงานเกี่ยวกับการยอมรับผู้บริหารสตรีพบว่าอยู่ในระดับดี ความพึงพอใจของผู้ตามในภาพรวมอยู่ในระดับมากผู้ตามมีแรงจูงใจอยู่ในระดับสูงและเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้ทำงานบรรลุเป้าหมายได้ดี นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าคุณลักษณะของผู้ตามที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาแตกต่างกันผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันของผู้ตามมีผลต่อการรับรู้ลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีแตกต่างกันและผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู้นำแบบพื้นฐาน 4 แบบกับความสำเร็จของผู้บริหารสตรีในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27293 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595098 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595106 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย / พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย Original title : Positive Behavior Developing of Members in Institute of Technological College: Case Study of Pathumwan Institute of Technology and Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Uthenthawai Campus Material Type: printed text Authors: พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 162 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักเรียนอาชีวศึกษา
[LCSH]พฤติกรรมKeywords: พฤติกรรมเชิงบวก,
มหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย,
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกนักเรียนอาชีวศึกษาทั้งชาย และหญิง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย ที่เป็นตัวแทนที่ดีของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อศึกษาความสำคัญถึงเหตุจำเป็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การกำหนดนโยบายสาธารณะสำหรับใช้แก้ไขปัญหานักเรียนอาชีวศึกษา งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นศิษย์เก่า อาจารย์ประจำ และผู้ปกครองของนักศึกษาของทั้ง 2 สถาบัน รวมผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 76 คน เครื่องมือ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่าสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจนนำไปสู่สาเหตุของการทะเลาะวิวาทกันของทั้ง 2 สถาบัน ได้แก่ 1) ค่านิยมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการรับน้องของรุ่นพี่ 2) ความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น และค่านิยมที่ผิด ๆ ที่ได้รับจากรุ่นพี่ 3) เกิดจากการยั่วยุจากฝ่ายตรงข้าม 4) เกิดจากการใช้สารเสพติดทำให้ขาดการยั้งคิด 5) เพราะคุณภาพการเรียน การสอนของสถาบันไม่มีคุณภาพพอ 6 ) เพราะความรักสถาบันของตัวเองไม่ยอมให้ใครมาลบลู่ 7) เพราะสีเสื้อ และเครื่องหมายของสถาบันที่ต่างกัน การวิจัยยังค้นพบว่าควรขอเสนอให้รวมทั้งสองสถาบันอาชีวศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อหลอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับระบบการบริหารงานใหม่ที่รวมตัวเป็นหนึ่งCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27236 SIU THE-T. การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย = Positive Behavior Developing of Members in Institute of Technological College: Case Study of Pathumwan Institute of Technology and Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Uthenthawai Campus [printed text] / พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 162 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักเรียนอาชีวศึกษา
[LCSH]พฤติกรรมKeywords: พฤติกรรมเชิงบวก,
มหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย,
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกนักเรียนอาชีวศึกษาทั้งชาย และหญิง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย ที่เป็นตัวแทนที่ดีของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อศึกษาความสำคัญถึงเหตุจำเป็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การกำหนดนโยบายสาธารณะสำหรับใช้แก้ไขปัญหานักเรียนอาชีวศึกษา งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นศิษย์เก่า อาจารย์ประจำ และผู้ปกครองของนักศึกษาของทั้ง 2 สถาบัน รวมผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 76 คน เครื่องมือ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่าสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจนนำไปสู่สาเหตุของการทะเลาะวิวาทกันของทั้ง 2 สถาบัน ได้แก่ 1) ค่านิยมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการรับน้องของรุ่นพี่ 2) ความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น และค่านิยมที่ผิด ๆ ที่ได้รับจากรุ่นพี่ 3) เกิดจากการยั่วยุจากฝ่ายตรงข้าม 4) เกิดจากการใช้สารเสพติดทำให้ขาดการยั้งคิด 5) เพราะคุณภาพการเรียน การสอนของสถาบันไม่มีคุณภาพพอ 6 ) เพราะความรักสถาบันของตัวเองไม่ยอมให้ใครมาลบลู่ 7) เพราะสีเสื้อ และเครื่องหมายของสถาบันที่ต่างกัน การวิจัยยังค้นพบว่าควรขอเสนอให้รวมทั้งสองสถาบันอาชีวศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อหลอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับระบบการบริหารงานใหม่ที่รวมตัวเป็นหนึ่งCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27236 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594794 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594802 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. โอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรีในสถาบันการเงินภาครัฐ / กนกวรรณ ก่อเกิด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : โอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรีในสถาบันการเงินภาครัฐ Original title : Opportunities and Obstacles in Women’s Advancement in Specialized Financial institutions Material Type: printed text Authors: กนกวรรณ ก่อเกิด, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 113 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2019-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี
[LCSH]สถาบันการเงินของรัฐKeywords: ความสำเร็จ,
สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ,
ผู้บริหารสตรี,
โอกาสและอุปสรรคAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาโอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรี ที่ทำงานในสถาบันการเงินเฉพาะกิจของภาครัฐ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ที่ทำงานในสถาบันการเงินเฉพาะกิจของภาครัฐ 4 แห่ง โดยใช้แบบสอบถาม แบบกึ่งโครงสร้าง และใช้สถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ตัวแปร และทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานะภาพสมรสและอยู่ด้วยกัน งานที่ทำไม่ได้เป็นงานแรก มีประสบการทำงานทั้งหมด 15 ปีผู้ ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับความสมดุลระหว่างงานกับครอบครัวเป็นอันดับแรก และรองลงมาคือ การรับรู้เกี่ยวกับการสนับสนุนจากองค์การ ผลจากการวิจัยพบว่าสถานภาพ ระดับการศึกษา และแผนกงานที่ทำในปัจจุบันมีผลต่อความพึงพอใจในอาชีพ นอกจากนี้พบว่ารายได้ไม่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การ พนักงานสามารถรับรู้ได้ถึงความมั่นคงในการทำงาน และรู้สึกถึงความผูกพันในองค์โดยไม่คิดเปลี่ยนงานแม้จะมีโอกาสก็ตาม ผลการวิจัยยังพบว่าจำนวนครั้งของการอบรมมีผลต่อความรู้สึกองค์กรสนับสนุนให้มีความก้าวหน้า ส่วนผลการทดสอบความสัมพันธ์ด้านทัศนคติที่มีต่อสตรีพบว่าเป็นอุปสรรคต่อการก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27931 SIU THE-T. โอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรีในสถาบันการเงินภาครัฐ = Opportunities and Obstacles in Women’s Advancement in Specialized Financial institutions [printed text] / กนกวรรณ ก่อเกิด, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 113 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2019-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี
[LCSH]สถาบันการเงินของรัฐKeywords: ความสำเร็จ,
สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ,
ผู้บริหารสตรี,
โอกาสและอุปสรรคAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาโอกาสและอุปสรรคในความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรี ที่ทำงานในสถาบันการเงินเฉพาะกิจของภาครัฐ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ที่ทำงานในสถาบันการเงินเฉพาะกิจของภาครัฐ 4 แห่ง โดยใช้แบบสอบถาม แบบกึ่งโครงสร้าง และใช้สถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ตัวแปร และทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานะภาพสมรสและอยู่ด้วยกัน งานที่ทำไม่ได้เป็นงานแรก มีประสบการทำงานทั้งหมด 15 ปีผู้ ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับความสมดุลระหว่างงานกับครอบครัวเป็นอันดับแรก และรองลงมาคือ การรับรู้เกี่ยวกับการสนับสนุนจากองค์การ ผลจากการวิจัยพบว่าสถานภาพ ระดับการศึกษา และแผนกงานที่ทำในปัจจุบันมีผลต่อความพึงพอใจในอาชีพ นอกจากนี้พบว่ารายได้ไม่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การ พนักงานสามารถรับรู้ได้ถึงความมั่นคงในการทำงาน และรู้สึกถึงความผูกพันในองค์โดยไม่คิดเปลี่ยนงานแม้จะมีโอกาสก็ตาม ผลการวิจัยยังพบว่าจำนวนครั้งของการอบรมมีผลต่อความรู้สึกองค์กรสนับสนุนให้มีความก้าวหน้า ส่วนผลการทดสอบความสัมพันธ์ด้านทัศนคติที่มีต่อสตรีพบว่าเป็นอุปสรรคต่อการก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27931 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607982 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607981 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU Thesis. ภาวะผู้นำที่นำไปสู่การยอมรับผู้บริหารสตรีของผู้ร่วมงานในหน่วยงานปราบปรามภาครัฐ กรณีศึกษากระทรวงการคลัง / สุพัชรา บุญเกิดรัมย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU Thesis Title : ภาวะผู้นำที่นำไปสู่การยอมรับผู้บริหารสตรีของผู้ร่วมงานในหน่วยงานปราบปรามภาครัฐ กรณีศึกษากระทรวงการคลัง Original title : Leadership Leading to the Acceptance of Female Executives of Colleagues in Public Suppression Agencies: A Case of Ministry of Finance Material Type: printed text Authors: สุพัชรา บุญเกิดรัมย์, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; หทัยรัตน์ เลิศจรรยากิจ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 131 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สตรีKeywords: การยอมรับ,
ภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
ปราบปรามAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงานในสายงานปราบปราม โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเจ้าพนักงานที่ทำงานในกรมสรรพสามิตและกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Multiple Regression) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษา พบว่าผู้บริหารสตรีในหน่วยงานปราบปรามมีภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมอยู่ในลำดับสูงสุด รองลงมาคือ ภาวะผู้นำแบบแบบชี้นำ แบบสนับสนุน แบบมุ่งความสำเร็จ ตามลำดับ ส่วนการรับรู้คุณลักษณะของผู้บริหารสตรีพบว่าด้านการนำ คะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาเป็นการจัดองค์กร การติดต่อสื่อสาร มนุษย์สัมพันธ์ การตัดสินใจที่เป็นระบบ การควบคุม การเป็นผู้กำกับดูแลที่ดีภายใต้กรอบจริยธรรม นอกจากนี้ผลจากการวิจัยยังพบว่าผู้ร่วมงานมีทัศนคติต่อผู้บริหารสตรีในระดับที่ดีมาก ทำให้เพื่อนร่วมงานมีความพึงพอใจในการทำงานร่วมกับผู้บริหารสตรี โดยผู้ร่วมงานเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้งานบรรลุเป้าหมาย และผู้ร่วมงานยอมรับผู้บริหารสตรีในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าผู้บริหารสตรีมีความสามารถในการเจรจาเพื่อลดปัญหามากกว่าผู้บริหารบุรุษ ส่วนผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่าคุณลักษณะของผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์กับการยอมรับผู้บริหารสตรี คุณลักษณะของผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี และภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ การยอมรับ และความสำเร็จของงาน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27316 SIU Thesis. ภาวะผู้นำที่นำไปสู่การยอมรับผู้บริหารสตรีของผู้ร่วมงานในหน่วยงานปราบปรามภาครัฐ กรณีศึกษากระทรวงการคลัง = Leadership Leading to the Acceptance of Female Executives of Colleagues in Public Suppression Agencies: A Case of Ministry of Finance [printed text] / สุพัชรา บุญเกิดรัมย์, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; หทัยรัตน์ เลิศจรรยากิจ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 131 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สตรีKeywords: การยอมรับ,
ภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
ปราบปรามAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงานในสายงานปราบปราม โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเจ้าพนักงานที่ทำงานในกรมสรรพสามิตและกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Multiple Regression) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษา พบว่าผู้บริหารสตรีในหน่วยงานปราบปรามมีภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมอยู่ในลำดับสูงสุด รองลงมาคือ ภาวะผู้นำแบบแบบชี้นำ แบบสนับสนุน แบบมุ่งความสำเร็จ ตามลำดับ ส่วนการรับรู้คุณลักษณะของผู้บริหารสตรีพบว่าด้านการนำ คะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาเป็นการจัดองค์กร การติดต่อสื่อสาร มนุษย์สัมพันธ์ การตัดสินใจที่เป็นระบบ การควบคุม การเป็นผู้กำกับดูแลที่ดีภายใต้กรอบจริยธรรม นอกจากนี้ผลจากการวิจัยยังพบว่าผู้ร่วมงานมีทัศนคติต่อผู้บริหารสตรีในระดับที่ดีมาก ทำให้เพื่อนร่วมงานมีความพึงพอใจในการทำงานร่วมกับผู้บริหารสตรี โดยผู้ร่วมงานเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้งานบรรลุเป้าหมาย และผู้ร่วมงานยอมรับผู้บริหารสตรีในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าผู้บริหารสตรีมีความสามารถในการเจรจาเพื่อลดปัญหามากกว่าผู้บริหารบุรุษ ส่วนผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่าคุณลักษณะของผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์กับการยอมรับผู้บริหารสตรี คุณลักษณะของผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี และภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ การยอมรับ และความสำเร็จของงาน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27316 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595288 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595254 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available