From this page you can:
Home |
Search results
20 result(s) search for keyword(s) 'คุณภาพชีวิต.ภาวะหัวใจล้มเหลว.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว / สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Original title : Quality of life in heart failure patients Material Type: printed text Authors: สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.39-45 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.39-45Keywords: คุณภาพชีวิต.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง การส่งเสริมให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตที่ดัขึ้นจึงเป็นเรื่องสำคัญ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว จึงต้องมีความเข้าใจในเรื่องคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมินภาวะหัวใจล้มเหลว สามารถเลือกแนวคิดที่เกี่ยวข้องในการอธิบายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ตลอดจนเข้าใจปัจจัยที่ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น หรือลดลง และเลือกแนวทางที่เหมาะสมในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26739 [article] คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว = Quality of life in heart failure patients [printed text] / สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author . - 2017 . - p.39-45.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.39-45Keywords: คุณภาพชีวิต.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง การส่งเสริมให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตที่ดัขึ้นจึงเป็นเรื่องสำคัญ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว จึงต้องมีความเข้าใจในเรื่องคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมินภาวะหัวใจล้มเหลว สามารถเลือกแนวคิดที่เกี่ยวข้องในการอธิบายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ตลอดจนเข้าใจปัจจัยที่ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น หรือลดลง และเลือกแนวทางที่เหมาะสมในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26739 ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ / พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ Material Type: printed text Authors: พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.2-14 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.2-14Keywords: ภาวะหัวใจล้มเหลว.พฤติกรรมการดูและตนเอง.คุณภาพชีวิต.ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ที่เข้ารับบริการที่หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เลือกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ กำหนดจำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีระบบการพยาบาลของโอเร็ม โดยใช้ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง และในกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตโรคหัวใจล้มเหลว วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใชเสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีคุณภาพชีวิตดีกว่า และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบของการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิต Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24995 [article] ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ [printed text] / พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ, Author . - 2015 . - pp.2-14.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.2-14Keywords: ภาวะหัวใจล้มเหลว.พฤติกรรมการดูและตนเอง.คุณภาพชีวิต.ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ที่เข้ารับบริการที่หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เลือกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ กำหนดจำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีระบบการพยาบาลของโอเร็ม โดยใช้ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง และในกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตโรคหัวใจล้มเหลว วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใชเสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีคุณภาพชีวิตดีกว่า และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบของการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิต Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24995 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง / นริดา อินนาค
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง Original title : Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province Material Type: printed text Authors: นริดา อินนาค, Author Pagination: xi, 154 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง = Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province [printed text] / นริดา อินนาค, Author . - [s.d.] . - xi, 154 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม / ศรีสุดา มีชำนาญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม Original title : Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province Material Type: printed text Authors: ศรีสุดา มีชำนาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 153 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม = Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province [printed text] / ศรีสุดา มีชำนาญ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 153 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607966 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607963 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี / สุเทพ แม้นเมฆ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี Original title : Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province Material Type: printed text Authors: สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: vii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี = Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province [printed text] / สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - vii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593051 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000593085 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ / ณิชากร นาคทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ = Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police [printed text] / ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591576 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / อนุพงษ์ สภูยศ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Working Life of Police Officers in Counter Terrorism Sub-Division Material Type: printed text Authors: อนุพงษ์ สภูยศ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายKeywords: คุณภาพชีวิต,
ข้าราชการตำรวจ,
กำกับการต่อต้านการก่อการร้ายAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ตำรวจในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายจำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยรวมในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบ พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านได้รับความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์กับสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน ความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิต และด้านค่าตอบแทน ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน ระดับยศ มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26900 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Quality of Working Life of Police Officers in Counter Terrorism Sub-Division [printed text] / อนุพงษ์ สภูยศ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายKeywords: คุณภาพชีวิต,
ข้าราชการตำรวจ,
กำกับการต่อต้านการก่อการร้ายAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ตำรวจในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายจำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยรวมในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบ พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านได้รับความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์กับสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน ความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิต และด้านค่าตอบแทน ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน ระดับยศ มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26900 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593838 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593861 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา / วัชระ คำอำพันธ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา Original title : Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima Material Type: printed text Authors: วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 87 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา = Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima [printed text] / วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 87 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592533 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592541 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available การปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพชีวิตการทำงานสูง และมีความสามารถในการทำงาน / แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : การปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพชีวิตการทำงานสูง และมีความสามารถในการทำงาน : ระดับดีเลิศของอาจารย์ที่ปฏิบัติงานภายหลังเกษียณอายุในสถาบันอุดมศึกษาไทย Original title : Work life abilities and quality for retired Thai professors of education Material Type: printed text Authors: แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ, Author ; วันเพ็ญ แก้วปาน, Author ; พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-15 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.1-15Keywords: ความสามารถในการทำงาน.คุณภาพชีวิต.อาจารย์ที่ปฏิบัจิงานภายหลังเกษียณอายุ. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26759 [article] การปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพชีวิตการทำงานสูง และมีความสามารถในการทำงาน = Work life abilities and quality for retired Thai professors of education : ระดับดีเลิศของอาจารย์ที่ปฏิบัติงานภายหลังเกษียณอายุในสถาบันอุดมศึกษาไทย [printed text] / แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ, Author ; วันเพ็ญ แก้วปาน, Author ; พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล, Author . - 2017 . - p.1-15.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง / จุฑามาศ เทียนสอาด in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง : ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Original title : Perception of symptom burden financial burden and quality of life in patients with stage renal disease undergoing hemodialysis Material Type: printed text Authors: จุฑามาศ เทียนสอาด, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author ; นพวรรณ พินิจขจรเดช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.60-77 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.60-77Keywords: ภาระค่าใช้จ่าย.คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่าย และ
คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระจากอาการกับคุณภาพชีวิต และการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายจำนวน 101 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเลือกตามความสะดวกที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง สิงหาคม 2558
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกอาการ แบบสอบถามภาระค่าใช้จ่าย และแบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D และ SF-36 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Pearson’s Product-Moment Correlation
ผลการวิจัย
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตปานกลาง มีการรับรู้ว่าค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นภาระค่าใช้จ่ายในระดับปานกลาง และพบว่าการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต EQ-5D (VAS) ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนอาการที่พบบ่อยที่สุด คือ ผิวแห้ง อาการที่รุนแรงมากที่สุด คือ ปวดหลอดนำเลือด โดยพบว่า ภาระจากอาการมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต SF-36 ระดับสูงในมิติด้านร่างกายและคุณภาพชีวิตโดยรวม และระดับปานกลางในมิติด้านจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการประเมินผู้ป่วยทั้งในด้านภาระจากอาการและภาระค่าใช้จ่ายซึ่งมีความสำคัญและจำเป็นในการนำมาวางแผนการช่วยเหลือ และบรรเทาภาระจากอาการของผู้ป่วยและจัดหาแห่ล่งประโยชน์ ที่เป็นทั้งบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถจัดการได้โดยตรงและบทบาทร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยที่จะส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26994 [article] การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง = Perception of symptom burden financial burden and quality of life in patients with stage renal disease undergoing hemodialysis : ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม [printed text] / จุฑามาศ เทียนสอาด, Author ; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม, Author ; นพวรรณ พินิจขจรเดช, Author . - 2017 . - p.60-77.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.60-77Keywords: ภาระค่าใช้จ่าย.คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่าย และ
คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระจากอาการกับคุณภาพชีวิต และการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายจำนวน 101 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเลือกตามความสะดวกที่เข้ารับการรักษาที่หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง สิงหาคม 2558
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกอาการ แบบสอบถามภาระค่าใช้จ่าย และแบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D และ SF-36 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Pearson’s Product-Moment Correlation
ผลการวิจัย
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตปานกลาง มีการรับรู้ว่าค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นภาระค่าใช้จ่ายในระดับปานกลาง และพบว่าการรับรู้ภาระค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต EQ-5D (VAS) ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนอาการที่พบบ่อยที่สุด คือ ผิวแห้ง อาการที่รุนแรงมากที่สุด คือ ปวดหลอดนำเลือด โดยพบว่า ภาระจากอาการมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต SF-36 ระดับสูงในมิติด้านร่างกายและคุณภาพชีวิตโดยรวม และระดับปานกลางในมิติด้านจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการประเมินผู้ป่วยทั้งในด้านภาระจากอาการและภาระค่าใช้จ่ายซึ่งมีความสำคัญและจำเป็นในการนำมาวางแผนการช่วยเหลือ และบรรเทาภาระจากอาการของผู้ป่วยและจัดหาแห่ล่งประโยชน์ ที่เป็นทั้งบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถจัดการได้โดยตรงและบทบาทร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยที่จะส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26994 การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบบูรณาการพหุปัญญา หลังการปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบบูรณาการพหุปัญญา หลังการปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธ Original title : The Comparison of Quality of Life for the Elderly under Multiple Intelligence Integration after Practice Based on Eastern Philosophy in the Thai Buddhist Style Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.28-41 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.28-41Keywords: คุณภาพชีวิต.ปรัชญาตะวันออก.วิถ๊ไทยพุทธ.ผู้สูงอายุ.บูรณาการพหุปัญญา. Abstract: บทคัดย่อการวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมเชิงปริมาณและคุณภาพ เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบบูรณาการพหุปัญญา หลังการปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุจำนวน 457 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีการปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธ จำนวน 212 คน และกลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติ จำนวน 245 คน กระจายทั่วประเทศในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ ใช้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างมากสุดที่คำนวณได้ด้วยสูตรยามาเน่ เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ข้อมูลคุณลักษณะพหุปัญญาของผู้สูงอายุ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ความมั่นคงทางอารมณ์ และข้อมูลการปฏิบัติตามแนววิถีไทยพุทธที่ผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงได้ .70 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์เนื้อหา การทดสอบค่าทีไคสแควร์ และวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า ผู้สูงอายุที่ปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธมีคุณลักษณะพหุปัญญาสูงกว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่ได้ปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27056 [article] การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบบูรณาการพหุปัญญา หลังการปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธ = The Comparison of Quality of Life for the Elderly under Multiple Intelligence Integration after Practice Based on Eastern Philosophy in the Thai Buddhist Style [printed text] . - 2017 . - p.28-41.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.28-41Keywords: คุณภาพชีวิต.ปรัชญาตะวันออก.วิถ๊ไทยพุทธ.ผู้สูงอายุ.บูรณาการพหุปัญญา. Abstract: บทคัดย่อการวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมเชิงปริมาณและคุณภาพ เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุแบบบูรณาการพหุปัญญา หลังการปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุจำนวน 457 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีการปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธ จำนวน 212 คน และกลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติ จำนวน 245 คน กระจายทั่วประเทศในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ ใช้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างมากสุดที่คำนวณได้ด้วยสูตรยามาเน่ เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ข้อมูลคุณลักษณะพหุปัญญาของผู้สูงอายุ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ความมั่นคงทางอารมณ์ และข้อมูลการปฏิบัติตามแนววิถีไทยพุทธที่ผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงได้ .70 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์เนื้อหา การทดสอบค่าทีไคสแควร์ และวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า ผู้สูงอายุที่ปฏิบัติตามแนวคิดปรัชญาตะวันออกด้วยวิถีไทยพุทธมีคุณลักษณะพหุปัญญาสูงกว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่ได้ปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27056 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต / นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2555
Title : การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต : เอกสารการสอนชุดวิชา 25303 Original title : Guidance and the Quality of Life Material Type: printed text Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 9. Publisher: นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2555 Pagination: 2 เล่ม Layout: ภาพประกอบ Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-613-434-7 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การแนะแนว
[LCSH]คุณภาพชีวิตKeywords: คุณภาพชีวิต Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24329 การแนะแนวกับคุณภาพชีวิต = Guidance and the Quality of Life : เอกสารการสอนชุดวิชา 25303 [printed text] . - พิมพ์ครั้งที่ 9. . - นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 . - 2 เล่ม : ภาพประกอบ ; 29 ซม.
ISBN : 978-974-613-434-7
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การแนะแนว
[LCSH]คุณภาพชีวิตKeywords: คุณภาพชีวิต Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24329 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000385052 BF637.C6 ส747ก 2555 v.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000385177 BF637.C6 ส747ก 2555 v.2 Book Main Library General Shelf Available ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล / นพวรรณ ดวงจันทร์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล : รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ โรคหลอดเลือดสมอง Original title : Correlation between the Quality of Life of Stroke Patients’ Caregivers and Basic Factors, Mutuality and Rewards of Caregiving Material Type: printed text Authors: นพวรรณ ดวงจันทร์, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.65-78 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.65-78Keywords: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล. รางวัลสำหรับการดูแล. คุณภาพชีวิตญาติผู้ดูแล ผู้สูงอายุ. โรคหลอดเลือดสมอง. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานบางประการ
ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมอง
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบศึกษาความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: ใช้กรอบแนวคิด The Family Care Model ของ Archbold และ
Stewart กลุ่มตัวอย่างคือญาติผู้ดูแลหลักของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 100 ราย
ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์สถิติ Fisher, s Exact Test สถิติ Eta และ Spearman’s
correlation coeffcient
ผลการวิจัย: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของญาติ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 (r = .287, p<.01) ส่วน
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการดูแล และรางวัลสำหรับการดูแลไม่มีความสัมพันธ์กับ
คุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลในการวางแผนการพยาบาล
การดูแลญาติเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองให้ดีLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27297 [article] ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล = Correlation between the Quality of Life of Stroke Patients’ Caregivers and Basic Factors, Mutuality and Rewards of Caregiving : รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ โรคหลอดเลือดสมอง [printed text] / นพวรรณ ดวงจันทร์, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author . - 2017 . - p.65-78.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.65-78Keywords: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล. รางวัลสำหรับการดูแล. คุณภาพชีวิตญาติผู้ดูแล ผู้สูงอายุ. โรคหลอดเลือดสมอง. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานบางประการ
ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมอง
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบศึกษาความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: ใช้กรอบแนวคิด The Family Care Model ของ Archbold และ
Stewart กลุ่มตัวอย่างคือญาติผู้ดูแลหลักของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 100 ราย
ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์สถิติ Fisher, s Exact Test สถิติ Eta และ Spearman’s
correlation coeffcient
ผลการวิจัย: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของญาติ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 (r = .287, p<.01) ส่วน
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการดูแล และรางวัลสำหรับการดูแลไม่มีความสัมพันธ์กับ
คุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลในการวางแผนการพยาบาล
การดูแลญาติเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองให้ดีLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27297 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration Material Type: printed text Authors: ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 131 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-515-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร = Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration [printed text] / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 131 แผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-515-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354439 WY125 ข158 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ / ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ : ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังออกจากโรงพยาบาล Original title : Fatigue and fatigue management of family caregivers caring for older adults with heart failure post discharge Material Type: printed text Authors: ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์, Author ; วรรณภา ประไพพานิช, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.17-30 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.17-30Keywords: ญาติผู้ดูแล.ความเหน่อยล้า.การจัดการกับความเหนื่อยล้า.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเหนื่อยล้าและการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยใช้ทฤษฎี The Theory of Unpleasant Symptoms และ Model for symptom management เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลไปแล้วอย่างน้อย1เดือน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 100 คน เครื่องมือเก็บข้อมูล 4 ส่วน ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของญาติ 3) แบบสอบถามความเหนื่อยล้า และ 4) แบบสอบถามการจัดการกับอาการเหนื่อยล้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย
ผลการวิจัยพบว่าญาติผู้ดูแลทั้งหมดมีความเหนื่อยล้าหลายระดับ โดยส่วนใหญ่มีความเหนื่อยล้าระดับปานกลาง มีการจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยา และการใช้ยาร่วมกับการไม่ใช้ยา สำหรับการจัดการความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยามีหลายกิจกรรมร่วมกัน ซึ่ง 5 กิจกรรมที่ใช้มาก ได้แก่ การพูดคุยกับคนรู้ใจ การนอนหลับ/พักผ่อน การทำสมาธิ การฟังดนตรีและการออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีต่างๆในการจัดการกับความเหนื่อยล้าให้เหมาะสมตามสถานการณ์และอาการที่เกิดขึ้น แหล่งข้อมูลของการจัดการโดยไม่ใช้ยาขึ้นอยู่กับวิธีจัดการด้วยตนเองตามอาการและวิธีการของตนเอง โดยได้ความรู้จากแผ่นพับหรือหนังสือ ญาติผู้ดูแลจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการใช้ยาร่วมด้วยนั้นใช้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากแพทย์และพยาบาลโดยคำนึงถึงการใช้ยาในขนาดที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคิดว่าการจัดการกับตนเองช่วยให้ความเหนื่อยล้าลดลงและช่วยให้รู้สึกสบายใจมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดปฏิบัติกิจกรรมการจัดการกับความเหนื่อยล้าที่บ้าน
ผลการศึกษาแสดงว่าญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมีความเหนื่อยล้า พยาบาลควรวางแผนการพยาบาลเพื่อป้องกัน ช่วยเหลือและแก้ไขการเกิดความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27486 [article] ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ = Fatigue and fatigue management of family caregivers caring for older adults with heart failure post discharge : ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังออกจากโรงพยาบาล [printed text] / ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์, Author ; วรรณภา ประไพพานิช, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author . - 2017 . - p.17-30.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.17-30Keywords: ญาติผู้ดูแล.ความเหน่อยล้า.การจัดการกับความเหนื่อยล้า.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเหนื่อยล้าและการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยใช้ทฤษฎี The Theory of Unpleasant Symptoms และ Model for symptom management เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลไปแล้วอย่างน้อย1เดือน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 100 คน เครื่องมือเก็บข้อมูล 4 ส่วน ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของญาติ 3) แบบสอบถามความเหนื่อยล้า และ 4) แบบสอบถามการจัดการกับอาการเหนื่อยล้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย
ผลการวิจัยพบว่าญาติผู้ดูแลทั้งหมดมีความเหนื่อยล้าหลายระดับ โดยส่วนใหญ่มีความเหนื่อยล้าระดับปานกลาง มีการจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยา และการใช้ยาร่วมกับการไม่ใช้ยา สำหรับการจัดการความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยามีหลายกิจกรรมร่วมกัน ซึ่ง 5 กิจกรรมที่ใช้มาก ได้แก่ การพูดคุยกับคนรู้ใจ การนอนหลับ/พักผ่อน การทำสมาธิ การฟังดนตรีและการออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีต่างๆในการจัดการกับความเหนื่อยล้าให้เหมาะสมตามสถานการณ์และอาการที่เกิดขึ้น แหล่งข้อมูลของการจัดการโดยไม่ใช้ยาขึ้นอยู่กับวิธีจัดการด้วยตนเองตามอาการและวิธีการของตนเอง โดยได้ความรู้จากแผ่นพับหรือหนังสือ ญาติผู้ดูแลจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการใช้ยาร่วมด้วยนั้นใช้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากแพทย์และพยาบาลโดยคำนึงถึงการใช้ยาในขนาดที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคิดว่าการจัดการกับตนเองช่วยให้ความเหนื่อยล้าลดลงและช่วยให้รู้สึกสบายใจมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดปฏิบัติกิจกรรมการจัดการกับความเหนื่อยล้าที่บ้าน
ผลการศึกษาแสดงว่าญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมีความเหนื่อยล้า พยาบาลควรวางแผนการพยาบาลเพื่อป้องกัน ช่วยเหลือและแก้ไขการเกิดความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27486