From this page you can:
Home |
Search results
5 result(s) search for keyword(s) 'การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ, คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม / ศรีสุดา มีชำนาญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม Original title : Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province Material Type: printed text Authors: ศรีสุดา มีชำนาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 153 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม = Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province [printed text] / ศรีสุดา มีชำนาญ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 153 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607966 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607963 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง / ณัฐชัย อินทราย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง Original title : Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province Material Type: printed text Authors: ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: vii, 122 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง = Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province [printed text] / ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - vii, 122 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607970 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607968 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น / ณัฐชนน เหลืองสมานกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น Original title : Good Governance of Local Governments in Thailand : Local Officials’ Perspectives Case Study; Local Officials Training at Local Personnel Development Institution Material Type: printed text Authors: ณัฐชนน เหลืองสมานกุล, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยKeywords: หลักธรรมาภิบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไทย และเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่เข้ารับการอบรมกับสถาบันพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น จำนวน 200 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26544 SIU IS-T. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น = Good Governance of Local Governments in Thailand : Local Officials’ Perspectives Case Study; Local Officials Training at Local Personnel Development Institution [printed text] / ณัฐชนน เหลืองสมานกุล, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยKeywords: หลักธรรมาภิบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไทย และเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่เข้ารับการอบรมกับสถาบันพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น จำนวน 200 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26544 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591840 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591816 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา / ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา Original title : Assessing the Success of the Newborn Child care subsidy Program of the Local Government Organization in Chachoengsao Province Material Type: printed text Authors: ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xii, 193 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ฉะเชิงเทรา
[LCSH]เงินอุดหนุนKeywords: การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ, เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Abstract: การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2) เพื่อศึกษาความสำเร็จของสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการ ที่ส่งผลต่อโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบผสานวิธี (Mixed-methods Research) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการสุ่มจากผู้ปฏิบัติงาน คือพนักงานท้องถิ่น และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ได้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 400 คน สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และ ระดับความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 2 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก จากการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ด้านนโยบายของรัฐ (x1), ด้านการบริหาร(x4), ด้านกฎหมาย(x2), ด้านวิถีชีวิต(x3),สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 78 (R = 0.78) และด้านการนำระเบียบไปปฏิบัติ(x8) ด้านการบูรณาการการทำงาน(x10) ด้านการให้ความรู้ความเข้าใจ(x7) ด้านการตรวจสอบโครงการ(x9) และด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (x6) สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 52 (R = 0.52) ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมมติฐาน ยอมรับได้
ความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1) ด้านความพึงพอใจของประชาชน คือขั้นตอนเป็นไปตามที่ระเบียบกำหนด ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการแต่ละขั้นตอน ความเป็นธรรมของการบริการ เช่น เรียงตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน แบบฟอร์มมีความชัดเจน และมีตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์มหรือคำร้อง เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ ช่วยแก้ปัญหาได้ และเอาใจใส่ กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการ มีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นต่อการให้บริการ เช่น ตู้รับฟังความคิดเห็น เว็บไซต์มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการ เช่น แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ มีสื่อประชาสัมพันธ์/คู่มือและเอกสารให้ความรู้ โดยจัดให้มีสายด่วน ในการสอบถามข้อมูล มีการการแจ้งแผนผังขั้นตอนและผู้ให้บริการ การจัดทำป้ายข้อความ ป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้บริการมีความชัดเจน เข้าใจง่าย มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์สำหรับการให้บริการมีความทันสมัย การให้บริการเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ให้บริการต่อผู้รับบริการเหมือนกันทุกราย โดยไม่เลือกปฏิบัติ 2) ด้านการสร้างทุนมนุษย์ที่ยั่งยืน นั้นเป็นการลงทุนในทุนมนุษย์ที่จะช่วยบำรุงรักษาคุณค่าและเพิ่มค่าทุนมนุษย์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากร และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ นโยบายนี้เป็นการสร้างทุนมนุษย์และมีความสำคัญต่อกำลังคนมาก โครงการเกิดผลดีต่อสังคมในด้านการช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับทุนมนุษย์ และสามารถประเมินค่าทางเศรษฐกิจด้านต้นทุนได้ในอนาคต ทำให้โครงการนี้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนอย่างมากโดยวัดค่าเป็นตัวเงินไม่ได้เพราะเกิดประโยชน์กับระบบเศรษฐกิจ สังคม ที่มีคุณภาพCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27957 SIU THE-T. การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา = Assessing the Success of the Newborn Child care subsidy Program of the Local Government Organization in Chachoengsao Province [printed text] / ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xii, 193 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ฉะเชิงเทรา
[LCSH]เงินอุดหนุนKeywords: การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ, เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Abstract: การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2) เพื่อศึกษาความสำเร็จของสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการ ที่ส่งผลต่อโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบผสานวิธี (Mixed-methods Research) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการสุ่มจากผู้ปฏิบัติงาน คือพนักงานท้องถิ่น และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ได้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 400 คน สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และ ระดับความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 2 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก จากการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ด้านนโยบายของรัฐ (x1), ด้านการบริหาร(x4), ด้านกฎหมาย(x2), ด้านวิถีชีวิต(x3),สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 78 (R = 0.78) และด้านการนำระเบียบไปปฏิบัติ(x8) ด้านการบูรณาการการทำงาน(x10) ด้านการให้ความรู้ความเข้าใจ(x7) ด้านการตรวจสอบโครงการ(x9) และด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (x6) สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 52 (R = 0.52) ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมมติฐาน ยอมรับได้
ความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1) ด้านความพึงพอใจของประชาชน คือขั้นตอนเป็นไปตามที่ระเบียบกำหนด ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการแต่ละขั้นตอน ความเป็นธรรมของการบริการ เช่น เรียงตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน แบบฟอร์มมีความชัดเจน และมีตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์มหรือคำร้อง เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ ช่วยแก้ปัญหาได้ และเอาใจใส่ กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการ มีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นต่อการให้บริการ เช่น ตู้รับฟังความคิดเห็น เว็บไซต์มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการ เช่น แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ มีสื่อประชาสัมพันธ์/คู่มือและเอกสารให้ความรู้ โดยจัดให้มีสายด่วน ในการสอบถามข้อมูล มีการการแจ้งแผนผังขั้นตอนและผู้ให้บริการ การจัดทำป้ายข้อความ ป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้บริการมีความชัดเจน เข้าใจง่าย มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์สำหรับการให้บริการมีความทันสมัย การให้บริการเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ให้บริการต่อผู้รับบริการเหมือนกันทุกราย โดยไม่เลือกปฏิบัติ 2) ด้านการสร้างทุนมนุษย์ที่ยั่งยืน นั้นเป็นการลงทุนในทุนมนุษย์ที่จะช่วยบำรุงรักษาคุณค่าและเพิ่มค่าทุนมนุษย์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากร และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ นโยบายนี้เป็นการสร้างทุนมนุษย์และมีความสำคัญต่อกำลังคนมาก โครงการเกิดผลดีต่อสังคมในด้านการช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับทุนมนุษย์ และสามารถประเมินค่าทางเศรษฐกิจด้านต้นทุนได้ในอนาคต ทำให้โครงการนี้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนอย่างมากโดยวัดค่าเป็นตัวเงินไม่ได้เพราะเกิดประโยชน์กับระบบเศรษฐกิจ สังคม ที่มีคุณภาพCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27957 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607967 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607965 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง / สุรชัย ปิตุเตชะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง Original title : People’s Satisfaction with Public Service Administration of Local Governments in Rayong Province Material Type: printed text Authors: สุรชัย ปิตุเตชะ, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 161 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพึงพอใจ
[LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,
การบริหารจัดการการให้บริการ,
ความพึงพอใจในการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการคัดเลือกเทศบาลในจังหวัดระยอง 3 แห่ง แบบกำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นตัวแทนในการศึกษา (purposive sampling) เพื่อสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) รวม 39 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามเชิงลึกกึ่งโครงสร้าง (semi-structured in-depth interview) ในการศึกษาข้อมูลที่เป็นปัจจัยเชิงลึก เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) โดยการนัดหมายเข้าสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล รวมทั้งจัดสัมมนากลุ่มย่อย (focus group) นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตีความและสรุป
ผลการวิจัย พบว่า การจัดเก็บภาษียังไม่สามารถจัดเก็บได้ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากฐานข้อมูลผู้เสียภาษีไม่เป็นปัจจุบัน เพราะบุคลากรมีจำกัด ประชาชนไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรม จึงไม่เต็มใจที่จะเสียภาษี เพราะการประเมินภาษีไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นเรื่องของดุลพินิจเฉพาะบุคคล ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับตำแหน่งจากการลงคะแนนของชาวบ้าน กังวลกับการเสียคะแนนนิยม
การออกใบอนุญาตก่อสร้างล่าช้า ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ขาดอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย
การให้บริการด้านงานทะเบียนราษฎร์และบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความต่อเนื่องของการให้บริการ เพราะให้บริการได้จำกัด เนื่องจากต้องเชื่อมต่อฐานข้อมูลกับศูนย์ข้อมูลของกรมการปกครองซึ่งกระทำได้เฉพาะในเวลาราชการ
จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ เทศบาลควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถพร้อมเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมาะสมและเพียงพอกับการให้บริการแต่ละภารกิจ และจะต้องให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีความเสมอภาค เป็นธรรมและโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบริการสาธารณะสนองตอบความต้องการของประชาชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27942 SIU THE-T. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง = People’s Satisfaction with Public Service Administration of Local Governments in Rayong Province [printed text] / สุรชัย ปิตุเตชะ, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพึงพอใจ
[LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,
การบริหารจัดการการให้บริการ,
ความพึงพอใจในการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการคัดเลือกเทศบาลในจังหวัดระยอง 3 แห่ง แบบกำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นตัวแทนในการศึกษา (purposive sampling) เพื่อสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) รวม 39 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามเชิงลึกกึ่งโครงสร้าง (semi-structured in-depth interview) ในการศึกษาข้อมูลที่เป็นปัจจัยเชิงลึก เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) โดยการนัดหมายเข้าสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล รวมทั้งจัดสัมมนากลุ่มย่อย (focus group) นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตีความและสรุป
ผลการวิจัย พบว่า การจัดเก็บภาษียังไม่สามารถจัดเก็บได้ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากฐานข้อมูลผู้เสียภาษีไม่เป็นปัจจุบัน เพราะบุคลากรมีจำกัด ประชาชนไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรม จึงไม่เต็มใจที่จะเสียภาษี เพราะการประเมินภาษีไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นเรื่องของดุลพินิจเฉพาะบุคคล ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับตำแหน่งจากการลงคะแนนของชาวบ้าน กังวลกับการเสียคะแนนนิยม
การออกใบอนุญาตก่อสร้างล่าช้า ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ขาดอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย
การให้บริการด้านงานทะเบียนราษฎร์และบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความต่อเนื่องของการให้บริการ เพราะให้บริการได้จำกัด เนื่องจากต้องเชื่อมต่อฐานข้อมูลกับศูนย์ข้อมูลของกรมการปกครองซึ่งกระทำได้เฉพาะในเวลาราชการ
จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ เทศบาลควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถพร้อมเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมาะสมและเพียงพอกับการให้บริการแต่ละภารกิจ และจะต้องให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีความเสมอภาค เป็นธรรมและโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบริการสาธารณะสนองตอบความต้องการของประชาชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27942 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607996 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607993 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available