From this page you can:
Home |
Search results
69 result(s) search for keyword(s) 'การพัฒนา, ตำรวจ, สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. ความต้องการในการพัฒนาของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด / จามรี หนูสิงห์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความต้องการในการพัฒนาของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด Original title : Demand for Self-Development of Polices at Narcotics Suppression Bureau Material Type: printed text Authors: จามรี หนูสิงห์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-36
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การพัฒนา,
ตำรวจ,
สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระ เรื่อง ความต้องการในการพัฒนาข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการพัฒนาของข้าราชการตำรวจใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 310 คน ที่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 31 ถึง 40 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระยะเวลาที่รับราชการตำรวจ ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดเป็นเวลา 11 ถึง 15 ปี ระดับชั้นประทวน อัตราเงินเดือน 15,001 ถึง 20,000 บาท โดยข้าราชการตำรวจที่ตอบแบบสอบถามมีระดับความต้องการการพัฒนาโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความต้องการในการพัฒนาในด้านการฝึกอบรม ด้านการเป็นพี่เลี้ยง ด้านการศึกษาดูงาน ด้านการศึกษาด้วยตนเอง จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ การสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่รับราชการ ระดับชั้นยศ และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกันมีระดับความต้องการในการพัฒนาไม่ต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27274 SIU IS-T. ความต้องการในการพัฒนาของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด = Demand for Self-Development of Polices at Narcotics Suppression Bureau [printed text] / จามรี หนูสิงห์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-36
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การพัฒนา,
ตำรวจ,
สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระ เรื่อง ความต้องการในการพัฒนาข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการพัฒนาของข้าราชการตำรวจใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 310 คน ที่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 31 ถึง 40 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระยะเวลาที่รับราชการตำรวจ ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดเป็นเวลา 11 ถึง 15 ปี ระดับชั้นประทวน อัตราเงินเดือน 15,001 ถึง 20,000 บาท โดยข้าราชการตำรวจที่ตอบแบบสอบถามมีระดับความต้องการการพัฒนาโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความต้องการในการพัฒนาในด้านการฝึกอบรม ด้านการเป็นพี่เลี้ยง ด้านการศึกษาดูงาน ด้านการศึกษาด้วยตนเอง จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ การสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่รับราชการ ระดับชั้นยศ และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกันมีระดับความต้องการในการพัฒนาไม่ต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27274 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595015 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-36 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595023 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-36 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม / 2557
Collection Title: Old book collection Title : สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author Publication Date: 2557 Pagination: 120 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279457-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก [printed text] / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author . - 2557 . - 120 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.
ISBN : 978-6-16-279457-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000399061 WA100 ส743 2557 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000399053 WA100 ส743 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม Original title : Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police Material Type: printed text Authors: ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 67 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม = Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police [printed text] / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 67 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595049 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595031 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง / สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง Original title : Creative Economic Marketing and Participatory Development Paradigm: The Model Community of the Royal Project Material Type: printed text Authors: สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xix, 375 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การพัฒนาอาชีพ
[LCSH]เศรษฐกิจสร้างสรรค์Keywords: การพัฒนากลุ่มอาชีพ,
เศรษฐกิจสร้างสรรค์,
ชุมชนแม่จันใต้Abstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และรูปแบบเส้นทางผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพทางการตลาดที่สามารถสนองตอบต่อความต้องการตามสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมทางการตลาดยุคปัจจุบัน รวมถึงศึกษาบริบทชุมชนบ้านแม่จันใต้ ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซึ่งกำหนดเป็นชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง และตลอดจนศึกษาคุณลักษณะ กระบวนการและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพ ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพของเกษตรกรในชุมชนต้นแบบ จากกลุ่มตัวอย่างที่ 1 เกษตรกรชุมชนต้นแบบ จำนวน 36 ครัวเรือน และกลุ่มตัวอย่างที่ 2 คือ ประชากร เพศชายและเพศหญิง อายุ 20 ปีขึ้นไปและเป็นผู้ที่มีประสบการณ์บริโภคผลิตภัณฑ์โครงการหลวง จำนวน 300 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างในกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานการวิจัยโดยการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรในชุมชนต้นแบบมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งกลุ่มอาชีพอยู่ในระดับมากที่สุด มีความต้องการจัดตั้งกลุ่มอาชีพและมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ (POSDCoRB) อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการวิจัยด้านการตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พบว่าผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุด มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการตลาด 4.0 เส้นทางผู้บริโภคอยู่ในระดับมาก ทั้งยังพบว่ารูปแบบของเส้นทางผู้บริโภคเป็น “รูปแบบทรัมเป็ต (Trumpet)” ผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย พบว่า
1. ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้านสถานะภาพและด้านประสบการณ์ทำงาน มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่แตกต่างกันในทุกปัจจัย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
2. ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) (1) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการรับรู้ปัญหา (Aware) (2) ด้านการสร้างสรรค์งาน การสร้างสรรค์ และด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการประเมินทางเลือก (Appeal) (3) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา และ ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการค้นหาข้อมูล (Ask) และ (4) ด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการตัดสินใจซื้อ (Act)
การนำผลจากการศึกษาวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์ในด้านการพัฒนารูปแบบกลุ่มอาชีพและเครือข่ายชุมชนโดยรอบ และเครือข่ายภายนอก ควรการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างปัจจัยอันจะเอื้อและก่อให้เกิดคุณลักษณะของธุรกิจชุมชนที่มีกรอบชัดเจน และมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ซึ่งควรเป็นไปในลักษณะของการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการร่วมกับการจัดการความรู้ในชุมชน (Knowledge Management) ควบคู่ไปกับการจัดให้มีระบบพี่เลี้ยงในระหว่างกระบวนการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องให้แก่ชุมชนด้วยอีกประการCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28046 SIU THE-T. การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง = Creative Economic Marketing and Participatory Development Paradigm: The Model Community of the Royal Project [printed text] / สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xix, 375 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การพัฒนาอาชีพ
[LCSH]เศรษฐกิจสร้างสรรค์Keywords: การพัฒนากลุ่มอาชีพ,
เศรษฐกิจสร้างสรรค์,
ชุมชนแม่จันใต้Abstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และรูปแบบเส้นทางผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพทางการตลาดที่สามารถสนองตอบต่อความต้องการตามสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมทางการตลาดยุคปัจจุบัน รวมถึงศึกษาบริบทชุมชนบ้านแม่จันใต้ ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซึ่งกำหนดเป็นชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง และตลอดจนศึกษาคุณลักษณะ กระบวนการและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพ ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพของเกษตรกรในชุมชนต้นแบบ จากกลุ่มตัวอย่างที่ 1 เกษตรกรชุมชนต้นแบบ จำนวน 36 ครัวเรือน และกลุ่มตัวอย่างที่ 2 คือ ประชากร เพศชายและเพศหญิง อายุ 20 ปีขึ้นไปและเป็นผู้ที่มีประสบการณ์บริโภคผลิตภัณฑ์โครงการหลวง จำนวน 300 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างในกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานการวิจัยโดยการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรในชุมชนต้นแบบมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งกลุ่มอาชีพอยู่ในระดับมากที่สุด มีความต้องการจัดตั้งกลุ่มอาชีพและมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ (POSDCoRB) อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการวิจัยด้านการตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พบว่าผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุด มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการตลาด 4.0 เส้นทางผู้บริโภคอยู่ในระดับมาก ทั้งยังพบว่ารูปแบบของเส้นทางผู้บริโภคเป็น “รูปแบบทรัมเป็ต (Trumpet)” ผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย พบว่า
1. ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้านสถานะภาพและด้านประสบการณ์ทำงาน มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่แตกต่างกันในทุกปัจจัย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
2. ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) (1) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการรับรู้ปัญหา (Aware) (2) ด้านการสร้างสรรค์งาน การสร้างสรรค์ และด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการประเมินทางเลือก (Appeal) (3) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา และ ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการค้นหาข้อมูล (Ask) และ (4) ด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการตัดสินใจซื้อ (Act)
การนำผลจากการศึกษาวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์ในด้านการพัฒนารูปแบบกลุ่มอาชีพและเครือข่ายชุมชนโดยรอบ และเครือข่ายภายนอก ควรการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างปัจจัยอันจะเอื้อและก่อให้เกิดคุณลักษณะของธุรกิจชุมชนที่มีกรอบชัดเจน และมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ซึ่งควรเป็นไปในลักษณะของการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการร่วมกับการจัดการความรู้ในชุมชน (Knowledge Management) ควบคู่ไปกับการจัดให้มีระบบพี่เลี้ยงในระหว่างกระบวนการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องให้แก่ชุมชนด้วยอีกประการCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28046 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607381 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607384 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ / ดารัณ จุนสมุทร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ Original title : Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: ix, 183 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ = Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - ix, 183 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607834 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607886 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 / ระวี หนูสี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 Original title : Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 Material Type: printed text Authors: ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 182 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 = Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 [printed text] / ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 182 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607962 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607964 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 / พลภัทร พรหมท้าว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 Original title : Developing English Communication at Work for Police Officers of Patrol Division 191 Material Type: printed text Authors: พลภัทร พรหมท้าว, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสารKeywords: การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ191Abstract: ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสำนักงานตำรวจแห่งชาติพัฒนาทักษะความเป็นสากลให้แก่ข้าราชการเพื่อส่งเสริมบทบาทของสำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนให้แก่บุคลากรข้าราชการตำรวจเพื่อก้าวย่างเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนและรองรับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจถึงการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาแนวทางในการนำไปพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26081 SIU IS-T. การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 = Developing English Communication at Work for Police Officers of Patrol Division 191 [printed text] / พลภัทร พรหมท้าว, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสารKeywords: การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ191Abstract: ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสำนักงานตำรวจแห่งชาติพัฒนาทักษะความเป็นสากลให้แก่ข้าราชการเพื่อส่งเสริมบทบาทของสำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนให้แก่บุคลากรข้าราชการตำรวจเพื่อก้าวย่างเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนและรองรับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจถึงการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาแนวทางในการนำไปพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26081 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506814 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506897 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร / กุลิสรา บริณตพงษ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร Original title : The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok Material Type: printed text Authors: กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 108 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร = The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok [printed text] / กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 108 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593267 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง / นริดา อินนาค
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง Original title : Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province Material Type: printed text Authors: นริดา อินนาค, Author Pagination: xi, 154 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง = Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province [printed text] / นริดา อินนาค, Author . - [s.d.] . - xi, 154 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) / เกศสุดา อินทร์สาหร่าย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) Original title : The Development of the Quality of Life of the Disabled in the Social Network Project of the Redemptorist Foundation for People with Disabilities (Father Raymond A. Brennan) Material Type: printed text Authors: เกศสุดา อินทร์สาหร่าย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 216 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- คนพิการ
[LCSH]บริการสังคมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ,
เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)Abstract: การวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่าย พระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) เป็นงานวิจัยที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเอง และเป็นแนวทางในการช่วยให้คนพิการที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างอิสระ เสมอภาค เท่าเทียมกับบุคคลทั่ว ๆ เพื่อเป็นแนวทางสามารถในการนำชุดความรู้นี้ไปใช้กับหน่วยงานอื่นต่อไป
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และการวิชัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 2. เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 3. เพื่อศึกษาและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 4. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวง เรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)
ผลการวิจัย ปัจจัยด้านพฤติกรรมของครอบครัว พบว่าครอบครัวต้องเข้าใจความรู้สึกทางด้านสภาพจิตใจของคนพิการ ยอมรับสภาพความพิการ และสร้างความเข็มแข็งโดยการให้คนพิการเห็นคุณค่าในตนเองพร้อมที่จะเรียนรู้การอยู่ด้วยตนเอง ปัจจัยด้านความร่วมมือขององค์กรในเครือข่าย พบว่าการสนับสนุนของภาครัฐไม่เพียงพอและไม่ตรงตามเป้าหมายความต้องการของคนพิการ ดังนั้นสิ่งที่สำคัญต่อการสนับสนุนให้องค์กรคนพิการหรือตัวคนพิการต้องยึดหลักการส่งเสริมโดยเน้นความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของคนพิการเป็นสำคัญ ปัจจัยด้านการจัดการศึกษา การอบรม พบว่าหลักสูตรการเรียนการสอนไม่ตรงกับความต้องการตลาดแรงงาน ส่งผลให้การนำความรู้ในห้องเรียนมาปฏิบัติจริงยังไม่สามารถตอบโจทย์องค์กรที่จ้างแรงงานคนพิการในตลาดแรงงานในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการพัฒนาคนพิการสู่นักกีฬาอาชีพยังไม่มีหลักประกัน มาตรฐานค่าตอบแทนและขาดนักวิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเข้ามาช่วยเหลือคนพิการ ดังนั้นควรกระตุ้นระบบการศึกษาไทยจะก่อให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้เป็นคนที่มีศักยภาพทางการศึกษาพร้อมต่อการออกสู่สังคมในวัยทำงาน สุดท้ายปัจจัยด้านพัฒนาทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกับสังคม พบว่าคนพิการมีความรู้สึกว่ามีความเลื่อมล้ำ ขาดความเสมอภาค การให้บริการระหว่างคนพิการกับคนปกติ ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคมที่ทำให้คนพิการรู้สึกมีคุณค่าต้องตระหนักตั้งแต่ระดับชุมชนเพราะเป็นกลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกับคนพิการลำดับแรกเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมระหว่างคนปกติและคนพิการCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28108 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) = The Development of the Quality of Life of the Disabled in the Social Network Project of the Redemptorist Foundation for People with Disabilities (Father Raymond A. Brennan) [printed text] / เกศสุดา อินทร์สาหร่าย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 216 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- คนพิการ
[LCSH]บริการสังคมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ,
เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)Abstract: การวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่าย พระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) เป็นงานวิจัยที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเอง และเป็นแนวทางในการช่วยให้คนพิการที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างอิสระ เสมอภาค เท่าเทียมกับบุคคลทั่ว ๆ เพื่อเป็นแนวทางสามารถในการนำชุดความรู้นี้ไปใช้กับหน่วยงานอื่นต่อไป
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และการวิชัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 2. เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 3. เพื่อศึกษาและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 4. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวง เรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)
ผลการวิจัย ปัจจัยด้านพฤติกรรมของครอบครัว พบว่าครอบครัวต้องเข้าใจความรู้สึกทางด้านสภาพจิตใจของคนพิการ ยอมรับสภาพความพิการ และสร้างความเข็มแข็งโดยการให้คนพิการเห็นคุณค่าในตนเองพร้อมที่จะเรียนรู้การอยู่ด้วยตนเอง ปัจจัยด้านความร่วมมือขององค์กรในเครือข่าย พบว่าการสนับสนุนของภาครัฐไม่เพียงพอและไม่ตรงตามเป้าหมายความต้องการของคนพิการ ดังนั้นสิ่งที่สำคัญต่อการสนับสนุนให้องค์กรคนพิการหรือตัวคนพิการต้องยึดหลักการส่งเสริมโดยเน้นความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของคนพิการเป็นสำคัญ ปัจจัยด้านการจัดการศึกษา การอบรม พบว่าหลักสูตรการเรียนการสอนไม่ตรงกับความต้องการตลาดแรงงาน ส่งผลให้การนำความรู้ในห้องเรียนมาปฏิบัติจริงยังไม่สามารถตอบโจทย์องค์กรที่จ้างแรงงานคนพิการในตลาดแรงงานในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการพัฒนาคนพิการสู่นักกีฬาอาชีพยังไม่มีหลักประกัน มาตรฐานค่าตอบแทนและขาดนักวิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเข้ามาช่วยเหลือคนพิการ ดังนั้นควรกระตุ้นระบบการศึกษาไทยจะก่อให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้เป็นคนที่มีศักยภาพทางการศึกษาพร้อมต่อการออกสู่สังคมในวัยทำงาน สุดท้ายปัจจัยด้านพัฒนาทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกับสังคม พบว่าคนพิการมีความรู้สึกว่ามีความเลื่อมล้ำ ขาดความเสมอภาค การให้บริการระหว่างคนพิการกับคนปกติ ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคมที่ทำให้คนพิการรู้สึกมีคุณค่าต้องตระหนักตั้งแต่ระดับชุมชนเพราะเป็นกลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกับคนพิการลำดับแรกเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมระหว่างคนปกติและคนพิการCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28108 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607328 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607326 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม / ศรีสุดา มีชำนาญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม Original title : Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province Material Type: printed text Authors: ศรีสุดา มีชำนาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 153 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม = Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province [printed text] / ศรีสุดา มีชำนาญ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 153 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607966 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607963 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย / สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย Original title : Human Resource Development to Support Arrival of Technology of Thai Commercial Banks Material Type: printed text Authors: สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xiii, 161 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย
[LCSH]นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์,
ธนาคารพาณิชย์ไทย,
การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย (2) ศึกษาการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก (4) เปรียบเทียบความแตกต่างของการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และ (5) ศึกษาปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีที่สัมพันธ์และมีผลต่อการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานของธนาคารพาณิชย์ไทย กลุ่มที่ 1 จำนวน 14 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกนที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (4) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (5) ปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย และร่วมกันพยากรณ์การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ได้ร้อยละ 95.7 ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01Curricular : BBA/BSCS/GE/MBA/MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27835 SIU THE-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย = Human Resource Development to Support Arrival of Technology of Thai Commercial Banks [printed text] / สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xiii, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย
[LCSH]นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์,
ธนาคารพาณิชย์ไทย,
การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย (2) ศึกษาการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก (4) เปรียบเทียบความแตกต่างของการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และ (5) ศึกษาปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีที่สัมพันธ์และมีผลต่อการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานของธนาคารพาณิชย์ไทย กลุ่มที่ 1 จำนวน 14 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกนที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (4) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (5) ปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย และร่วมกันพยากรณ์การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ได้ร้อยละ 95.7 ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01Curricular : BBA/BSCS/GE/MBA/MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27835 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598167 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598134 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย / กรฎา บุตรชน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย Original title : Development of the Model for Teaching and Learning Thai Chess through www.playok.com Case Study: Board Game Clubs in Thai Universities Material Type: printed text Authors: กรฎา บุตรชน, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xv, 91 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]หมากรุกไทยKeywords: การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย,
ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทยAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของผู้เล่นหมากรุกไทย
ที่มีความต้องการูปแบบการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 2) เพื่อกระตุ้นอาจารย์ นักศึกษา เกิดความสนใจในการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้รูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย และ 3) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหมากรุกไทยของผู้สอน โดยรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เรียนชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 5 สถาบัน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t- test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way analysis of variance--ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
ด้านลักษณะประชากร พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ช่วงอายุ 20-24 ปี เรียนปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา นับถือศาสนาพุทธ
ด้านพฤติกรรม ส่วนใหญ่เล่นหมากรุกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่เล่นผ่านเว็บ www.playok.com นาน ๆ ครั้ง ในแต่ละครั้ง 1-2 ชั่วโมง ช่วงเวลา 18.01-20.00 น. บุคคลที่เล่นด้วยมากสุด คือ เพื่อน/รุ่นพี่/รุ่นน้อง
ด้านความสนใจนิยมเล่นเพราะสนุกสนาน ประสบการณ์เล่นหมากรุกไทย 1-2 ปี มีพัฒนาการในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าช่วยให้พัฒนาฝีมือขึ้น ถ้าฝึกซ้อมผ่านเว็บ www.playok.com และส่วนใหญ่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาลัย ผลการแข่งขันอยู่ในระดับดีมาก
ด้านเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอน พบว่า ส่วนใหญ่ควรเสริมความรู้ และเพิ่มหัวข้อ ด้านการเปิดหมาก ในแต่ละครั้งควรฝึกซ้อม นานมากกว่า 6 ชั่วโมง และควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ด้านการบันทึกหมากและวิเคราะห์เกมของท่านหลังฝึกซ้อมเสร็จ และนำบันทึกหมากที่เหมาะกับสไตล์ของท่านมาฝึกฝน
ด้านการจัดกิจกรรการเรียนการสอน ผู้เรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับฝีมือ เริ่มต้น-ปานกลาง รองลงมา ดี-ดีมาก
ระดับฝีมือเริ่มต้น-ปานกลาง ข้อที่มากที่สุดคือ การทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ การฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ การนำเสนอภาพประกอบการเล่น เช่น
รูปหมากต่าง ๆ เป็นต้น
ระดับฝีมือดี-ดีมาก ข้อที่มากที่สุดคือ ปัจจัยด้านการทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ ปัจจัยด้านเว็บไซด์มีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนออนไลน์จะได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ก็ไม่สามารถทดแทนการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวได้หรือการฝึกในรูปแบบชมรมที่มีการพบปะกันอย่างสม่ำเสมอ แต่สามารถควบคู่ไปในทิศทางเดียวกันได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27447 SIU IS-T. การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย = Development of the Model for Teaching and Learning Thai Chess through www.playok.com Case Study: Board Game Clubs in Thai Universities [printed text] / กรฎา บุตรชน, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xv, 91 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]หมากรุกไทยKeywords: การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย,
ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทยAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของผู้เล่นหมากรุกไทย
ที่มีความต้องการูปแบบการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 2) เพื่อกระตุ้นอาจารย์ นักศึกษา เกิดความสนใจในการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้รูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย และ 3) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหมากรุกไทยของผู้สอน โดยรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เรียนชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 5 สถาบัน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t- test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way analysis of variance--ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
ด้านลักษณะประชากร พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ช่วงอายุ 20-24 ปี เรียนปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา นับถือศาสนาพุทธ
ด้านพฤติกรรม ส่วนใหญ่เล่นหมากรุกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่เล่นผ่านเว็บ www.playok.com นาน ๆ ครั้ง ในแต่ละครั้ง 1-2 ชั่วโมง ช่วงเวลา 18.01-20.00 น. บุคคลที่เล่นด้วยมากสุด คือ เพื่อน/รุ่นพี่/รุ่นน้อง
ด้านความสนใจนิยมเล่นเพราะสนุกสนาน ประสบการณ์เล่นหมากรุกไทย 1-2 ปี มีพัฒนาการในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าช่วยให้พัฒนาฝีมือขึ้น ถ้าฝึกซ้อมผ่านเว็บ www.playok.com และส่วนใหญ่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาลัย ผลการแข่งขันอยู่ในระดับดีมาก
ด้านเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอน พบว่า ส่วนใหญ่ควรเสริมความรู้ และเพิ่มหัวข้อ ด้านการเปิดหมาก ในแต่ละครั้งควรฝึกซ้อม นานมากกว่า 6 ชั่วโมง และควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ด้านการบันทึกหมากและวิเคราะห์เกมของท่านหลังฝึกซ้อมเสร็จ และนำบันทึกหมากที่เหมาะกับสไตล์ของท่านมาฝึกฝน
ด้านการจัดกิจกรรการเรียนการสอน ผู้เรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับฝีมือ เริ่มต้น-ปานกลาง รองลงมา ดี-ดีมาก
ระดับฝีมือเริ่มต้น-ปานกลาง ข้อที่มากที่สุดคือ การทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ การฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ การนำเสนอภาพประกอบการเล่น เช่น
รูปหมากต่าง ๆ เป็นต้น
ระดับฝีมือดี-ดีมาก ข้อที่มากที่สุดคือ ปัจจัยด้านการทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ ปัจจัยด้านเว็บไซด์มีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนออนไลน์จะได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ก็ไม่สามารถทดแทนการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวได้หรือการฝึกในรูปแบบชมรมที่มีการพบปะกันอย่างสม่ำเสมอ แต่สามารถควบคู่ไปในทิศทางเดียวกันได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27447 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595775 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595783 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย / อานนท์ เหมือนทัพ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย Original title : The Development of Thai Female Professional Golfers Material Type: printed text Authors: อานนท์ เหมือนทัพ, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 195 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]นักกอล์ฟKeywords: นักกอล์ฟอาชีพสตรี, การพัฒนา, ความสำเร็จ, ประชารัฐ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาลักษณะของการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย และ 3) ศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย ซึ่งผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยจากวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักนักกอล์ฟสตรีอาชีพ จำนวน 5 คน และผู้ให้ข้อมูลรอง จำนวน 30 คน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยมีเครื่องมือวิจัย ได้แก่ ผู้วิจัย และแบบสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก กล้องถ่ายรูป ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยได้แก่ การฝึกซ้อม พรสวรรค์ การสื่อสาร สุขภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ที่ปรึกษาทางจิตวิทยา โค้ช/พี่เลี้ยง วิทยาศาสตร์การกีฬา การสนับสนุนจากภาคเอกชน การสนับสนุนจากครอบครัว งานวิจัยนี้ได้ค้นพบอีกว่า ความสำเร็จของนักกอล์ฟอาชีพไม่ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนจากภาครัฐ และหน่วยงานภาครัฐไม่มีนโยบายที่สนับสนุนการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยอย่างเป็นรูปธรรม แต่ความสำเร็จมาจากการสนับสนุนของครอบครัว ซึ่งเป็นความสำเร็จที่ทำประโยชน์ในการสร้างรายได้และการสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ กล่าวคือ รัฐ/ประเทศชาติได้ประโยชน์จาก ประชารัฐ ข้อเสนอแนะหน่วยงานภาครัฐควรให้ความสำคัญในการสร้างและพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟอาชีพไทย Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27651 SIU THE-T. การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย = The Development of Thai Female Professional Golfers [printed text] / อานนท์ เหมือนทัพ, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 195 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]นักกอล์ฟKeywords: นักกอล์ฟอาชีพสตรี, การพัฒนา, ความสำเร็จ, ประชารัฐ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาลักษณะของการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย และ 3) ศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย ซึ่งผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยจากวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักนักกอล์ฟสตรีอาชีพ จำนวน 5 คน และผู้ให้ข้อมูลรอง จำนวน 30 คน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยมีเครื่องมือวิจัย ได้แก่ ผู้วิจัย และแบบสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก กล้องถ่ายรูป ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยได้แก่ การฝึกซ้อม พรสวรรค์ การสื่อสาร สุขภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ที่ปรึกษาทางจิตวิทยา โค้ช/พี่เลี้ยง วิทยาศาสตร์การกีฬา การสนับสนุนจากภาคเอกชน การสนับสนุนจากครอบครัว งานวิจัยนี้ได้ค้นพบอีกว่า ความสำเร็จของนักกอล์ฟอาชีพไม่ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนจากภาครัฐ และหน่วยงานภาครัฐไม่มีนโยบายที่สนับสนุนการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยอย่างเป็นรูปธรรม แต่ความสำเร็จมาจากการสนับสนุนของครอบครัว ซึ่งเป็นความสำเร็จที่ทำประโยชน์ในการสร้างรายได้และการสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ กล่าวคือ รัฐ/ประเทศชาติได้ประโยชน์จาก ประชารัฐ ข้อเสนอแนะหน่วยงานภาครัฐควรให้ความสำคัญในการสร้างและพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟอาชีพไทย Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27651 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597128 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597789 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ / ปัณณภัสร์ ปัญญา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ Original title : Career Advancement of Polices: A Case of 3rd Marine Police Station, Subdivision 10, Marine Police Division Material Type: printed text Authors: ปัณณภัสร์ ปัญญา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 54 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ตำรวจน้ำ -- ไทยKeywords: ความก้าวหน้า,
ตำรวจน้ำ,
อาชีพAbstract: การศึกษาเรื่อง การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบุคลากรของเพื่อศึกษาความก้าวหน้าและการพัฒนาบุคลากร และเพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม โดยใช้การสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า ควรปรับทัศนคติของบุคลากรในหน่วยงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อหลอมบุคลากรทุกระดับ ให้มีทัศนคติ ค่านิยม ความคิด วิธีการทำงาน และเป้าหมายทิศทางเดียวกันเพื่อมุ่งเป้าหมายความสำเร็จเดียวกัน ควรให้ความสำคัญกับบุคลากรในหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับผู้ใต้บังคับบัญชาในทุกตำแหน่งอย่างเท่าเทียมกัน อย่าให้ความสำคัญกับตำแหน่งหนึ่งตำแหน่งใด เพราะอาจจะทำให้เกิดความแบ่งแยกกันระหว่างบุคลากร และควรสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม การเข้าร่วมประชุมสัมมนา หรือดูงานนอกสถานที่ เพื่อว่าจะเป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคลากร และสามารถนำความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับหน่วยงานต่อไป Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27314 SIU IS-T. การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ = Career Advancement of Polices: A Case of 3rd Marine Police Station, Subdivision 10, Marine Police Division [printed text] / ปัณณภัสร์ ปัญญา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 54 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ตำรวจน้ำ -- ไทยKeywords: ความก้าวหน้า,
ตำรวจน้ำ,
อาชีพAbstract: การศึกษาเรื่อง การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบุคลากรของเพื่อศึกษาความก้าวหน้าและการพัฒนาบุคลากร และเพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม โดยใช้การสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า ควรปรับทัศนคติของบุคลากรในหน่วยงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อหลอมบุคลากรทุกระดับ ให้มีทัศนคติ ค่านิยม ความคิด วิธีการทำงาน และเป้าหมายทิศทางเดียวกันเพื่อมุ่งเป้าหมายความสำเร็จเดียวกัน ควรให้ความสำคัญกับบุคลากรในหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับผู้ใต้บังคับบัญชาในทุกตำแหน่งอย่างเท่าเทียมกัน อย่าให้ความสำคัญกับตำแหน่งหนึ่งตำแหน่งใด เพราะอาจจะทำให้เกิดความแบ่งแยกกันระหว่างบุคลากร และควรสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม การเข้าร่วมประชุมสัมมนา หรือดูงานนอกสถานที่ เพื่อว่าจะเป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคลากร และสามารถนำความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับหน่วยงานต่อไป Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27314 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595247 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000595213 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available