From this page you can:
Home |
Search results
13 result(s) search for keyword(s) 'การบริหารจัดการ.วิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน.ทักษะการทำงาน.ความชำนาญ.ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การพัฒนาการบริหารจัดการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน / ภานุมาศ จินารัตน์ in วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการ, Vol. 11 No. 1 (ม.ค-มิ.ย) 2557 ([09/30/2014])
[article]
Title : การพัฒนาการบริหารจัดการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน : เพื่อเตรียมทักษะพร้อมทำงานสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Original title : Development of vacational college management to enhance employ ability skills for the ASEAN economic community Material Type: printed text Authors: ภานุมาศ จินารัตน์, Author ; อุทัย ภิรมย์รื่น, Author Publication Date: 2014 Article on page: 58-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการ > Vol. 11 No. 1 (ม.ค-มิ.ย) 2557 [09/30/2014] . - 58-68Keywords: การบริหารจัดการ.วิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน.ทักษะการทำงาน.ความชำนาญ.ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ. Link for e-copy: www.umt.ac.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23990 [article] การพัฒนาการบริหารจัดการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน = Development of vacational college management to enhance employ ability skills for the ASEAN economic community : เพื่อเตรียมทักษะพร้อมทำงานสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน [printed text] / ภานุมาศ จินารัตน์, Author ; อุทัย ภิรมย์รื่น, Author . - 2014 . - 58-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province [printed text] / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590099 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590073 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590610 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล Original title : Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level Material Type: printed text Authors: สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล = Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level [printed text] / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593812 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593846 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม Original title : Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department Material Type: printed text Authors: ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 248 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม = Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department [printed text] / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 248 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592152 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592160 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง / สุรชัย ปิตุเตชะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง Original title : People’s Satisfaction with Public Service Administration of Local Governments in Rayong Province Material Type: printed text Authors: สุรชัย ปิตุเตชะ, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 161 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพึงพอใจ
[LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,
การบริหารจัดการการให้บริการ,
ความพึงพอใจในการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการคัดเลือกเทศบาลในจังหวัดระยอง 3 แห่ง แบบกำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นตัวแทนในการศึกษา (purposive sampling) เพื่อสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) รวม 39 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามเชิงลึกกึ่งโครงสร้าง (semi-structured in-depth interview) ในการศึกษาข้อมูลที่เป็นปัจจัยเชิงลึก เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) โดยการนัดหมายเข้าสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล รวมทั้งจัดสัมมนากลุ่มย่อย (focus group) นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตีความและสรุป
ผลการวิจัย พบว่า การจัดเก็บภาษียังไม่สามารถจัดเก็บได้ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากฐานข้อมูลผู้เสียภาษีไม่เป็นปัจจุบัน เพราะบุคลากรมีจำกัด ประชาชนไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรม จึงไม่เต็มใจที่จะเสียภาษี เพราะการประเมินภาษีไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นเรื่องของดุลพินิจเฉพาะบุคคล ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับตำแหน่งจากการลงคะแนนของชาวบ้าน กังวลกับการเสียคะแนนนิยม
การออกใบอนุญาตก่อสร้างล่าช้า ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ขาดอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย
การให้บริการด้านงานทะเบียนราษฎร์และบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความต่อเนื่องของการให้บริการ เพราะให้บริการได้จำกัด เนื่องจากต้องเชื่อมต่อฐานข้อมูลกับศูนย์ข้อมูลของกรมการปกครองซึ่งกระทำได้เฉพาะในเวลาราชการ
จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ เทศบาลควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถพร้อมเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมาะสมและเพียงพอกับการให้บริการแต่ละภารกิจ และจะต้องให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีความเสมอภาค เป็นธรรมและโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบริการสาธารณะสนองตอบความต้องการของประชาชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27942 SIU THE-T. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง = People’s Satisfaction with Public Service Administration of Local Governments in Rayong Province [printed text] / สุรชัย ปิตุเตชะ, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพึงพอใจ
[LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,
การบริหารจัดการการให้บริการ,
ความพึงพอใจในการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการคัดเลือกเทศบาลในจังหวัดระยอง 3 แห่ง แบบกำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นตัวแทนในการศึกษา (purposive sampling) เพื่อสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) รวม 39 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามเชิงลึกกึ่งโครงสร้าง (semi-structured in-depth interview) ในการศึกษาข้อมูลที่เป็นปัจจัยเชิงลึก เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) โดยการนัดหมายเข้าสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล รวมทั้งจัดสัมมนากลุ่มย่อย (focus group) นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตีความและสรุป
ผลการวิจัย พบว่า การจัดเก็บภาษียังไม่สามารถจัดเก็บได้ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากฐานข้อมูลผู้เสียภาษีไม่เป็นปัจจุบัน เพราะบุคลากรมีจำกัด ประชาชนไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรม จึงไม่เต็มใจที่จะเสียภาษี เพราะการประเมินภาษีไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นเรื่องของดุลพินิจเฉพาะบุคคล ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับตำแหน่งจากการลงคะแนนของชาวบ้าน กังวลกับการเสียคะแนนนิยม
การออกใบอนุญาตก่อสร้างล่าช้า ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ขาดอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย
การให้บริการด้านงานทะเบียนราษฎร์และบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความต่อเนื่องของการให้บริการ เพราะให้บริการได้จำกัด เนื่องจากต้องเชื่อมต่อฐานข้อมูลกับศูนย์ข้อมูลของกรมการปกครองซึ่งกระทำได้เฉพาะในเวลาราชการ
จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ เทศบาลควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถพร้อมเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมาะสมและเพียงพอกับการให้บริการแต่ละภารกิจ และจะต้องให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีความเสมอภาค เป็นธรรมและโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบริการสาธารณะสนองตอบความต้องการของประชาชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27942 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607996 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607993 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล / เกษียร วรศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล Original title : Historical Tourism Innovative : Ayutthaya Model Material Type: printed text Authors: เกษียร วรศิริ, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 181 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ
[LCSH]การบริหารKeywords: การบริหารจัดการ,
อัตลักษณ์,
นวัตวิถี,
มรดกโลกที่มีชีวิตAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยใดที่ก่อให้เกิดปัญหา
ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล
ของการบริหารจัดการท่องเที่ยว 3) มีการพัฒนาอะไรที่จะทำให้การท่องเที่ยวเขตเมืองมรดกโลก
ของอุทยานประวัติศาสตร์ มีเอกลักษณ์ มีความยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชุมชน และ 4) รายรับจากการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจอย่างไร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 30 คน 2) หน่วยงานเอกชน จำนวน 10 คน 3) หน่วยงานส่วนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว จำนวน 20 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่และต่อเนื่องด้วยการอ้างอิงด้วยบุคคลและผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาหลักในการบริหารงานของอยุธยา คือ ความขัดแย้งทางกฎหมายและข้อบังคับจากหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัด ความรับผิดชอบที่ทับซ้อนเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการให้บริการ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญหลายคนแนะนำให้จังหวัดอยุธยาปฏิบัติตามเส้นทางเดียวกันเพื่อให้เป็นเขตเทศบาลพิเศษ เหมือนเขตพัทยา และกรุงเทพฯ และระบุกฎหมายพิเศษในการจัดการพื้นที่ดังกล่าว ผู้บริหารระดับสูงของจังหวัดมีบทบาทสำคัญในการที่จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการบูรณาการและวางนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ถูกต้องตามประเพณี วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของชุมชน ในท้ายที่สุดเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมุ่งเป้าไปที่
การรักษาประเพณีท้องถิ่นและประวัติของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในจังหวัด และสุดท้ายนี้ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ สามารถสัมผัสกับมรดกโลกที่แท้จริงซึ่งสามารถมองเห็นวิถีชีวิตของชุมชน
ในท้องถิ่นได้ รวมทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศมากขึ้น การลดความเสี่ยงและผลกระทบในทางลบต่อชีวิตของชุมชนท้องถิ่น
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืนของมรดกโลกที่มีลักษณะเป็น "นวัตกรรมทางประวัติศาสตร์อยุธยา" ดังที่ได้กล่าวมาแล้วCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27884 SIU THE-T. นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล = Historical Tourism Innovative : Ayutthaya Model [printed text] / เกษียร วรศิริ, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 181 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ
[LCSH]การบริหารKeywords: การบริหารจัดการ,
อัตลักษณ์,
นวัตวิถี,
มรดกโลกที่มีชีวิตAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยใดที่ก่อให้เกิดปัญหา
ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล
ของการบริหารจัดการท่องเที่ยว 3) มีการพัฒนาอะไรที่จะทำให้การท่องเที่ยวเขตเมืองมรดกโลก
ของอุทยานประวัติศาสตร์ มีเอกลักษณ์ มีความยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชุมชน และ 4) รายรับจากการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจอย่างไร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 30 คน 2) หน่วยงานเอกชน จำนวน 10 คน 3) หน่วยงานส่วนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว จำนวน 20 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่และต่อเนื่องด้วยการอ้างอิงด้วยบุคคลและผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาหลักในการบริหารงานของอยุธยา คือ ความขัดแย้งทางกฎหมายและข้อบังคับจากหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัด ความรับผิดชอบที่ทับซ้อนเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการให้บริการ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญหลายคนแนะนำให้จังหวัดอยุธยาปฏิบัติตามเส้นทางเดียวกันเพื่อให้เป็นเขตเทศบาลพิเศษ เหมือนเขตพัทยา และกรุงเทพฯ และระบุกฎหมายพิเศษในการจัดการพื้นที่ดังกล่าว ผู้บริหารระดับสูงของจังหวัดมีบทบาทสำคัญในการที่จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการบูรณาการและวางนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ถูกต้องตามประเพณี วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของชุมชน ในท้ายที่สุดเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมุ่งเป้าไปที่
การรักษาประเพณีท้องถิ่นและประวัติของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในจังหวัด และสุดท้ายนี้ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ สามารถสัมผัสกับมรดกโลกที่แท้จริงซึ่งสามารถมองเห็นวิถีชีวิตของชุมชน
ในท้องถิ่นได้ รวมทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศมากขึ้น การลดความเสี่ยงและผลกระทบในทางลบต่อชีวิตของชุมชนท้องถิ่น
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืนของมรดกโลกที่มีลักษณะเป็น "นวัตกรรมทางประวัติศาสตร์อยุธยา" ดังที่ได้กล่าวมาแล้วCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27884 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000599017 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598993 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ / รัฐชาติ ทัศนัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ Original title : The Role of Buriram United Football Club in the Development of Buriram Province Material Type: printed text Authors: รัฐชาติ ทัศนัย, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ฐ, 243 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมือง -- ไทย -- บุรีรัมย์
[LCSH]ฟุตบอล -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด -- การบริหารKeywords: การบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล
การพัฒนาจังหวัดAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทฤษฏีว่ามีปัจจัยภายใต้ทฤษฏีใดที่อธิบายการพัฒนาจังหวัดผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 390 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายจากประชาชนที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามนิวไอโมบายสเตเดียม จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ สำหรับวิชัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าผ่านเอกสาร สื่อออนไลน์ การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 11 คน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26550 SIU THE-T. บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ = The Role of Buriram United Football Club in the Development of Buriram Province [printed text] / รัฐชาติ ทัศนัย, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ฐ, 243 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมือง -- ไทย -- บุรีรัมย์
[LCSH]ฟุตบอล -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด -- การบริหารKeywords: การบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล
การพัฒนาจังหวัดAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทฤษฏีว่ามีปัจจัยภายใต้ทฤษฏีใดที่อธิบายการพัฒนาจังหวัดผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 390 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายจากประชาชนที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามนิวไอโมบายสเตเดียม จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ สำหรับวิชัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าผ่านเอกสาร สื่อออนไลน์ การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 11 คน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26550 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590461 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591956 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย : กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทย / ณรงค์ รุ่งธนวงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย : กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทย Original title : The Achievement of Thai Political Parties Administration: A Case of Pheu Thai Party Material Type: printed text Authors: ณรงค์ รุ่งธนวงศ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: viii, 196 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-19
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]พรรคการเมือง -- ไทย
[LCSH]พรรคเพื่อไทยKeywords: ผลสัมฤทธิ์ การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทย, พรรคเพื่อไทย Abstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทย: กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของพรรคการเมืองกับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของพรรคการเมืองต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยและ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารจัดการพรรคการเมืองไทยที่เหมาะสม การวิจัยใช้แนวทางการผสมผสานด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ผู้บริหารพรรคและกรรมการบริหารพรรคเพื่อไทย จำนวน 8 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอกของพรรคการเมืองในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมืองและ ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ส่วนปัจจัยภายในโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ ด้านบุคลากร ด้านกฎข้อบังคับ ด้านงบประมาณ และด้านสถานที่ตามลำดับ ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทยในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ การพัฒนาความเป็นสถาบันทางการเมือง การพัฒนาโครงสร้างทางการเมือง การพัฒนาคุณลักษณะที่เหมาะสมของผู้นำและสมาชิกพรรค การพัฒนาบทบาทและความสำคัญของพรรคการเมือง และ การพัฒนาเสถียรภาพทางการเมืองตามลำดับ การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอก ด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของพรรคเพื่อไทยมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยในระดับสูงและ ปัจจัยภายในด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านสถานที่และด้านกฎข้อบังคับของพรรคเพื่อไทยมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยในระดับสูงและโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Regression) พบว่า ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยร้อยละ 71.20 (r2=.712)Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28026 SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย : กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทย = The Achievement of Thai Political Parties Administration: A Case of Pheu Thai Party [printed text] / ณรงค์ รุ่งธนวงศ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - viii, 196 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-19
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]พรรคการเมือง -- ไทย
[LCSH]พรรคเพื่อไทยKeywords: ผลสัมฤทธิ์ การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทย, พรรคเพื่อไทย Abstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทย: กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของพรรคการเมืองกับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของพรรคการเมืองต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยและ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารจัดการพรรคการเมืองไทยที่เหมาะสม การวิจัยใช้แนวทางการผสมผสานด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ผู้บริหารพรรคและกรรมการบริหารพรรคเพื่อไทย จำนวน 8 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอกของพรรคการเมืองในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมืองและ ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ส่วนปัจจัยภายในโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ ด้านบุคลากร ด้านกฎข้อบังคับ ด้านงบประมาณ และด้านสถานที่ตามลำดับ ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทยในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ การพัฒนาความเป็นสถาบันทางการเมือง การพัฒนาโครงสร้างทางการเมือง การพัฒนาคุณลักษณะที่เหมาะสมของผู้นำและสมาชิกพรรค การพัฒนาบทบาทและความสำคัญของพรรคการเมือง และ การพัฒนาเสถียรภาพทางการเมืองตามลำดับ การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอก ด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของพรรคเพื่อไทยมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยในระดับสูงและ ปัจจัยภายในด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านสถานที่และด้านกฎข้อบังคับของพรรคเพื่อไทยมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยในระดับสูงและโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Regression) พบว่า ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยร้อยละ 71.20 (r2=.712)Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28026 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607430 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-19 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607432 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-19 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการขยะอย่างยั่งยืนของเทศบาลในจังหวัดลำปาง / เสาวรีย์ บุญสา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2022
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการบริหารจัดการขยะอย่างยั่งยืนของเทศบาลในจังหวัดลำปาง Original title : Sustainable Waste Management Pattern of Municipalities in Lampang Province Material Type: printed text Authors: เสาวรีย์ บุญสา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2022 Pagination: 124 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2022-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2022Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะ -- การกำจัดขยะ -- ไทย -- ลำปาง Keywords: รูปแบบ, การบูรณาการ, การบริหารจัดการขยะ Curricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28406 SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการขยะอย่างยั่งยืนของเทศบาลในจังหวัดลำปาง = Sustainable Waste Management Pattern of Municipalities in Lampang Province [printed text] / เสาวรีย์ บุญสา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2022 . - 124 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2022-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2022
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะ -- การกำจัดขยะ -- ไทย -- ลำปาง Keywords: รูปแบบ, การบูรณาการ, การบริหารจัดการขยะ Curricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28406 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607876 SIU THE-T: IPAG-DPA-2022-01 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Due for return by 06/22/2024 32002000607880 SIU THE-T: IPAG-DPA-2022-01 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล / รุ่งนภา กุลภักดี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล Original title : Management Model Affecting the Success in Nursing Education Institutions Material Type: printed text Authors: รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xii, 255 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ผู้นำ -- คุณลักษณะKeywords: ความสำเร็จของสถาบัน,
การบริหารจัดการ,
คุณลักษณะผู้นำ,
สถาบันการศึกษาพยาบาลAbstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำและการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล และกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี/ผู้อำนวยการและอาจารย์พยาบาลปฏิบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling : SEM) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=-.52, IE=1.67) ส่วนการบริหารจัดการมีอิทธิพลทางตรงกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=5.909, df=6, P=.433, CMIN/df=.985, GFI=.996, AGFI=.976, RMSEA=.000) ซึ่งสามารถอธิบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27547 SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล = Management Model Affecting the Success in Nursing Education Institutions [printed text] / รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xii, 255 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ผู้นำ -- คุณลักษณะKeywords: ความสำเร็จของสถาบัน,
การบริหารจัดการ,
คุณลักษณะผู้นำ,
สถาบันการศึกษาพยาบาลAbstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำและการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล และกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี/ผู้อำนวยการและอาจารย์พยาบาลปฏิบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling : SEM) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=-.52, IE=1.67) ส่วนการบริหารจัดการมีอิทธิพลทางตรงกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=5.909, df=6, P=.433, CMIN/df=.985, GFI=.996, AGFI=.976, RMSEA=.000) ซึ่งสามารถอธิบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27547 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596674 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596682 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 1st Shinawatra University International Conference, In Honoring His Majesty the King's Honorary Governance Virtues, an Exceptional example for world governance, 2013 / Walsh, John Christopher / Bangkok : Shinawatra University - c2013
Title : 1st Shinawatra University International Conference, In Honoring His Majesty the King's Honorary Governance Virtues, an Exceptional example for world governance, 2013 : Public and Private sector Governance Development and Innovation, 30-31 January, 2013 at Shinawatra University Pathum Thani, Thailand. Material Type: printed text Authors: Walsh, John Christopher, Author ; Voradej Chandarasorn, Author Publisher: Bangkok : Shinawatra University Publication Date: c2013 Pagination: ii, 331 p. Size: 29 cm. ISBN (or other code): 978-6-16-916873-7 Price: 300.00 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Corporate governance
[LCSH]Governance
[LCSH]Public Administration -- congress
[LCSH]การบริหาร
[LCSH]การบริหารจัดการที่ดีKeywords: การบริหาร
การบริหารจัดการที่ดี
Gevernance.
Coporate governance.Class number: HD2741 S556 2013 Curricular : BALA/BBA/BSCS/BSMT/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23970 1st Shinawatra University International Conference, In Honoring His Majesty the King's Honorary Governance Virtues, an Exceptional example for world governance, 2013 : Public and Private sector Governance Development and Innovation, 30-31 January, 2013 at Shinawatra University Pathum Thani, Thailand. [printed text] / Walsh, John Christopher, Author ; Voradej Chandarasorn, Author . - Bangkok : Shinawatra University, c2013 . - ii, 331 p. ; 29 cm.
ISBN : 978-6-16-916873-7 : 300.00
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Corporate governance
[LCSH]Governance
[LCSH]Public Administration -- congress
[LCSH]การบริหาร
[LCSH]การบริหารจัดการที่ดีKeywords: การบริหาร
การบริหารจัดการที่ดี
Gevernance.
Coporate governance.Class number: HD2741 S556 2013 Curricular : BALA/BBA/BSCS/BSMT/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23970 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000398691 HD2741 S556 2013 c.1 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000398709 HD2741 S556 2013 c.2 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000398717 HD2741 S556 2013 c.3 Book Main Library General Shelf Available การบริหารปกครองสาธารณะ / อัมพร ธำรงลักษณ์ / 2556
Title : การบริหารปกครองสาธารณะ : การบริหารรัฐกิจในศตวรรษที่ 21 Original title : Public governance Material Type: printed text Authors: อัมพร ธำรงลักษณ์, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publication Date: 2556 Pagination: (12), 255 หน้า Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-466-461-7 Price: 350.00 General note: บทที่ 1 การบริหารปกครองสาธารณะ: การบริหารรัฐกิจในศตวรรษที่ 21.-- บทที่ 2 นโยบายสาธารณะในบริบทการบริหารปกครอง.-- บทที่ 3 การบริหารปกครองกับความสัมพันธฺระหว่างหน่วยงานของรัฐ.-- บทที่ 3 การบริหารปกครองกับความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐ.-- บทที่ 4 การมีส่วนร่วมของประชาชน ความท้าทายของนักบริหารรัฐกิจ.-- บทที่ 5 นโยบายสิ่งแวดล้อม.-- บทที่ 6 การปฎิรูประบบราชการไทน มิติการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ.-- การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์.-- Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Good governance
[LCSH]การควบคุมบริหารองค์กร
[LCSH]การบริหารรัฐกิจ
[LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การปกครองสาธารณะKeywords: การบริหารรัฐกิจ.
การปกครองสาธารณะ.
การมีส่วนร่วมของประชาชน.
การบริหารจัดการที่ดีClass number: JF1358 .T5 ก460 2556 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24979 การบริหารปกครองสาธารณะ = Public governance : การบริหารรัฐกิจในศตวรรษที่ 21 [printed text] / อัมพร ธำรงลักษณ์, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - 2556 . - (12), 255 หน้า : ตาราง, แผนภูมิ ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-466-461-7 : 350.00
บทที่ 1 การบริหารปกครองสาธารณะ: การบริหารรัฐกิจในศตวรรษที่ 21.-- บทที่ 2 นโยบายสาธารณะในบริบทการบริหารปกครอง.-- บทที่ 3 การบริหารปกครองกับความสัมพันธฺระหว่างหน่วยงานของรัฐ.-- บทที่ 3 การบริหารปกครองกับความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐ.-- บทที่ 4 การมีส่วนร่วมของประชาชน ความท้าทายของนักบริหารรัฐกิจ.-- บทที่ 5 นโยบายสิ่งแวดล้อม.-- บทที่ 6 การปฎิรูประบบราชการไทน มิติการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ.-- การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์.--
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Good governance
[LCSH]การควบคุมบริหารองค์กร
[LCSH]การบริหารรัฐกิจ
[LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การปกครองสาธารณะKeywords: การบริหารรัฐกิจ.
การปกครองสาธารณะ.
การมีส่วนร่วมของประชาชน.
การบริหารจัดการที่ดีClass number: JF1358 .T5 ก460 2556 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24979 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000546018 JF1358 .T5 ก460 2556 c.2 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000545994 JF1358 .T5 ก460 2556 c.3 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000546026 JF1358 .T5 ก460 2556 c.1 Book Main Library General Shelf Available ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม / อารีย์วรรณ อ่วมตานี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม : ของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต Original title : Effect of using student team achievement division (STAD) in applied statistics course on learning achievement and team work skill of Master's degree students in nursing science Material Type: printed text Authors: อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.176-185 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.176-185Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทำงานเป็นทีมในรายวิชาสถิติประยุกต์ ใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (STAD) กลุ่ม ตย. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม
ผลการวิจัย พบว่า
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียนดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ.
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม ดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน) และทักษะการทำงานเป็นทีมได้ดีกว่าการเรียนแบบปกติ จึงควรนำรูปแบบการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26753 [article] ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม = Effect of using student team achievement division (STAD) in applied statistics course on learning achievement and team work skill of Master's degree students in nursing science : ของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต [printed text] / อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2017 . - p.176-185.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.176-185Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทำงานเป็นทีมในรายวิชาสถิติประยุกต์ ใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (STAD) กลุ่ม ตย. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม
ผลการวิจัย พบว่า
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียนดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ.
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม ดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน) และทักษะการทำงานเป็นทีมได้ดีกว่าการเรียนแบบปกติ จึงควรนำรูปแบบการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26753