From this page you can:
Home |
Search results
2 result(s) search for keyword(s) 'ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม / อารีย์วรรณ อ่วมตานี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม : ของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต Original title : Effect of using student team achievement division (STAD) in applied statistics course on learning achievement and team work skill of Master's degree students in nursing science Material Type: printed text Authors: อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.176-185 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.176-185Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทำงานเป็นทีมในรายวิชาสถิติประยุกต์ ใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (STAD) กลุ่ม ตย. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม
ผลการวิจัย พบว่า
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียนดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ.
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม ดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน) และทักษะการทำงานเป็นทีมได้ดีกว่าการเรียนแบบปกติ จึงควรนำรูปแบบการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26753 [article] ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม = Effect of using student team achievement division (STAD) in applied statistics course on learning achievement and team work skill of Master's degree students in nursing science : ของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต [printed text] / อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2017 . - p.176-185.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.176-185Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทำงานเป็นทีมในรายวิชาสถิติประยุกต์ ใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (STAD) กลุ่ม ตย. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม
ผลการวิจัย พบว่า
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียนดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ.
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม ดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน) และทักษะการทำงานเป็นทีมได้ดีกว่าการเรียนแบบปกติ จึงควรนำรูปแบบการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26753 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ / กมลรัตน์ ทองสว่าง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ Original title : The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.91-110 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ = The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author . - 2017 . - p.91-110.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217