From this page you can:
Home |
Search results
145 result(s) search for keyword(s) 'Nurses. Leadership. พยาบาล. ภาวะผู้นำ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึ่งประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 / ศุภรา อภิญญานนท์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึ่งประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 Original title : Desirable leader characteristics of head nurses by B.E. 2559 (A.D. 2016) Material Type: printed text Authors: ศุภรา อภิญญานนท์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฌ, 170 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: Nurses.
Leadership.
พยาบาล.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 ศ846 2549 Abstract: ศึกษาคุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึงประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 24 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการบริหารโรงพยาบาล และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในองค์กรวิชาชีพทางการพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 64 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึงประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยคุณลักษณะย่อย 70 ข้อ เป็นคุณลักษณะที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 66 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 4 ข้อ จำแนกได้เป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านความเป็นวิชาชีพ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 2. ด้านพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 3. ด้านการบริหารจัดการ ประกอยด้วยคุณลักษณะ 15 ข้อ 4. ด้านการเป็นผู้นำ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 5. ด้านการพัฒนาตนเอง ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 6. ด้านบุคลิกภาพ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 15 ข้อ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23155 คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึ่งประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 = Desirable leader characteristics of head nurses by B.E. 2559 (A.D. 2016) [printed text] / ศุภรา อภิญญานนท์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฌ, 170 แผ่น. : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: Nurses.
Leadership.
พยาบาล.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 ศ846 2549 Abstract: ศึกษาคุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึงประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 24 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการบริหารโรงพยาบาล และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในองค์กรวิชาชีพทางการพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 64 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึงประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยคุณลักษณะย่อย 70 ข้อ เป็นคุณลักษณะที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 66 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 4 ข้อ จำแนกได้เป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านความเป็นวิชาชีพ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 2. ด้านพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 3. ด้านการบริหารจัดการ ประกอยด้วยคุณลักษณะ 15 ข้อ 4. ด้านการเป็นผู้นำ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 5. ด้านการพัฒนาตนเอง ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 6. ด้านบุคลิกภาพ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 15 ข้อ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23155 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354413 WY18 ศ846 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน / วริยา จันทร์ขำ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน : บทบาทพยาบาลจิตเวช Original title : The development of psychiatric and mental health care systme in the community roles of psychaitric nurses Material Type: printed text Authors: วริยา จันทร์ขำ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-9 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.1-9Keywords: Psychiatric and mental health care syste. Community. Psychiatric nurses. ระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวช. ชุมชน. พยาบาลจิตเวช. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอแนวคิด หลักการ และหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตในชุมชน เนื้อหาประกอบด้วยพื้นฐานความรู้ความเชี่ยวชาญทางสุขภาพจิตและจิตเวช การประเมินคัดกรองการเจ็บป่วยทางจิต การส่งเสริมสุขภาพ การบำบัดฟื้นฟูสุขภาพจิต ความเข้าใจในนโยบายกรมสุขภาพจิตด้านการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการจัดการสุขภาพตามลักษณะเฉพาะของพื้นที่ โดยใช้สมรรถนะที่มีของพยาบาลจิตเวชในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน ในการจัดการข้อมูล สร้างทีม พัฒนาคน สร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชนและดำเนินการประเมินผลเพื่อให้ชุมชนสามารถดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนได้ มีกระบวนการให้ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพ สามารถให้การดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้ตามศักยภาพ ครอบครัวและผู้ป่วยจิตเวชสามารถดูแลตนเองได้ นอกจากนี้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรและงบประมาณในการพัฒนาระบบการพยาบาลสุขภาพจิตชุมชน
สรุป: ผู้ป่วยจิตเวชสามารถอยู่ในชุมชนได้ยาวนานขึ้น ลดการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยจิตเวช ลดภาระการดูแลของครอบครัว รวมทั้งผู้ป่วยครอบครัวและชุมชน จะมีความผาสุกมากขึ้น
Abstract
Objectives: To present the concepts, principles, and evidence based nursing practice
in developing psychiatric and mental health care system. Content included basic knowledge of psychiatric nursing, mental health assessment, health promotion, mental health rehabilitation, understanding the system of health policies of Department of Mental Health and health management in the specific characteristics of the area by using the performance of psychiatric nurses to manage the data, team works, develop social network in community, and evaluation so that the community can take care of people with mental health problems in the community. The networking systems for the relevant personnel and health care personnel are in place to facilitate the provision of mental health care in order that families and psychiatric patients can take care of themselves. Moreover, the local administrative organizations and stakeholders provide relevant resources and budget for the development of community mental health nursing system.
Conclusion: The psychiatric patients can stay longer in their community.The relapse rate and the burden of family care can be reduced, and well-being of individuals, families and
communities also will be increased.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27365 [article] การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน = The development of psychiatric and mental health care systme in the community roles of psychaitric nurses : บทบาทพยาบาลจิตเวช [printed text] / วริยา จันทร์ขำ, Author . - 2017 . - p.1-9.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.1-9Keywords: Psychiatric and mental health care syste. Community. Psychiatric nurses. ระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวช. ชุมชน. พยาบาลจิตเวช. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อนำเสนอแนวคิด หลักการ และหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตในชุมชน เนื้อหาประกอบด้วยพื้นฐานความรู้ความเชี่ยวชาญทางสุขภาพจิตและจิตเวช การประเมินคัดกรองการเจ็บป่วยทางจิต การส่งเสริมสุขภาพ การบำบัดฟื้นฟูสุขภาพจิต ความเข้าใจในนโยบายกรมสุขภาพจิตด้านการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการจัดการสุขภาพตามลักษณะเฉพาะของพื้นที่ โดยใช้สมรรถนะที่มีของพยาบาลจิตเวชในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน ในการจัดการข้อมูล สร้างทีม พัฒนาคน สร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชนและดำเนินการประเมินผลเพื่อให้ชุมชนสามารถดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในชุมชนได้ มีกระบวนการให้ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพ สามารถให้การดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้ตามศักยภาพ ครอบครัวและผู้ป่วยจิตเวชสามารถดูแลตนเองได้ นอกจากนี้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรและงบประมาณในการพัฒนาระบบการพยาบาลสุขภาพจิตชุมชน
สรุป: ผู้ป่วยจิตเวชสามารถอยู่ในชุมชนได้ยาวนานขึ้น ลดการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยจิตเวช ลดภาระการดูแลของครอบครัว รวมทั้งผู้ป่วยครอบครัวและชุมชน จะมีความผาสุกมากขึ้น
Abstract
Objectives: To present the concepts, principles, and evidence based nursing practice
in developing psychiatric and mental health care system. Content included basic knowledge of psychiatric nursing, mental health assessment, health promotion, mental health rehabilitation, understanding the system of health policies of Department of Mental Health and health management in the specific characteristics of the area by using the performance of psychiatric nurses to manage the data, team works, develop social network in community, and evaluation so that the community can take care of people with mental health problems in the community. The networking systems for the relevant personnel and health care personnel are in place to facilitate the provision of mental health care in order that families and psychiatric patients can take care of themselves. Moreover, the local administrative organizations and stakeholders provide relevant resources and budget for the development of community mental health nursing system.
Conclusion: The psychiatric patients can stay longer in their community.The relapse rate and the burden of family care can be reduced, and well-being of individuals, families and
communities also will be increased.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27365 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals Material Type: printed text Authors: ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 164 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals [printed text] / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 164 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย / ปราณี มีหาญพงษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital Material Type: printed text Authors: ปราณี มีหาญพงษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ฎ, 126 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-935-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / ปราณี มีหาญพงษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ฎ, 126 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-935-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354470 WY18 ป572 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร / พรจันทร์ เทพพิทักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-023-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร = Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-023-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354397 WY18 พ672 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย / สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย : การบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาลกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between strategic leadership of head nurses, performance management of nurse division, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 149 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]].-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาล.Class number: WY18 ส845 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยการบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้่ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการ จำนวน 352 คน ซึ่งได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .97 .96 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สาวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัีมประสิทธิสหสัมพนธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัิติงานของกลุ่มการพยาบาล และประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป ต่างก็อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.85 3.62 และ 3.90 ตามลำดับ)
2. 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการบริหารผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มงานการพยาบาล ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .67 และ .64 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23170 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between strategic leadership of head nurses, performance management of nurse division, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, general hospitals : การบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาลกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 149 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]].-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาล.Class number: WY18 ส845 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยการบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้่ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการ จำนวน 352 คน ซึ่งได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .97 .96 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สาวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัีมประสิทธิสหสัมพนธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัิติงานของกลุ่มการพยาบาล และประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป ต่างก็อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.85 3.62 และ 3.90 ตามลำดับ)
2. 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการบริหารผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มงานการพยาบาล ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .67 และ .64 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23170 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383800 WY18 ส845 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ / ปาริชาติ รัตนราช in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี Original title : Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province Material Type: printed text Authors: ปาริชาติ รัตนราช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.74-81 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ = Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี [printed text] / ปาริชาติ รัตนราช, Author . - 2017 . - p.74-81.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล / สิวลี ศิริไล / [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2556
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000389294 WY85 ส733 2556 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000389302 WY85 ส733 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000389328 WY85 ส733 2556 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000389278 WY85 ส733 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000389252 WY85 ส733 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000493229 WY85 ส733 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000493245 WY85 ส733 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000493260 WY85 ส733 2556 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000493237 WY85 ส733 2556 c.9 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ / กรรณจริยา สุขรุ่ง / งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, - 2555
Collection Title: Old book collection Title : บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ Material Type: printed text Authors: กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, Publication Date: 2555 Pagination: 57 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ [printed text] / กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล,, 2555 . - 57 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355972 WY5 บ268 2555 Book Main Library Library Counter Available SIU IS. Impact of Leadership Style on Employees' Job Satisfaction in 'A' Class Commercial Banks of Nepal / Narayan Bhandari / Bangkok: Shinawatra University - 2017
Collection Title: SIU IS Title : Impact of Leadership Style on Employees' Job Satisfaction in 'A' Class Commercial Banks of Nepal Material Type: printed text Authors: Narayan Bhandari, Author ; Hatairat Lertjanyakit, Associated Name ; Neeran Dhaubhadel, Associated Name Publisher: Bangkok: Shinawatra University Publication Date: 2017 Pagination: ix, 75 p. Layout: ill, Tables Size: 30 cm. Price: 500.00 General note: SIU IS: SOM-MBA-2017-N48
Independent Study [SO [Management]] -- Shinawatra University, 2017Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Banks and banking -- Nepal
[LCSH]Employees
[LCSH]LeadershipKeywords: Leadership,
Transformational Leadership,
Transactional Leadership,
Job SatisfactionAbstract: The present study was conducted to meet the requirement of Master in Business Administration (MBA) program of Sinawatra University. The main intention of conducting the present research was to know the relationship between Leadership Style and Employees Job Satisfaction. Along with that the present research was also conducted to gain the knowledge regarding the impact of Leadership style provided by the banking company on the employee job satisfaction.
The present research was conducted by using quantitative method followed by exploratory and descriptive research designs. A sample size of 106 employees’ out of undefined population inside the Kathmandu Valley was taken to conduct the present research survey. Samples were chosen by using convenience sampling method as the employee’s were large in number. Questionnaire tool was used to conduct the survey whereby the collected data were analyzed, presented and used to produce key findings about perceived level of employee’s satisfaction and loyalty. After the analysis of the data, the key findings of the present study revealed that the relation between Leadership Style and Employees Job Satisfaction and loyalty depends upon the style and services provided by the Leaders of companies. The Leadership Style- - Transformational Leadership style and Transactional Leadership Style are the major element that affects the relationship between Leadership style and job satisfaction and loyalty.
Among these elements, employees are willing to switch because of working environment, affordable communication, quality of work life and better service provided by banks. So, to achieve the exemplary level of impact on employee’s job satisfaction the leadership styles should developed and modify according to the expectation and requirements of the employees’.Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27522 SIU IS. Impact of Leadership Style on Employees' Job Satisfaction in 'A' Class Commercial Banks of Nepal [printed text] / Narayan Bhandari, Author ; Hatairat Lertjanyakit, Associated Name ; Neeran Dhaubhadel, Associated Name . - [S.l.] : Bangkok: Shinawatra University, 2017 . - ix, 75 p. : ill, Tables ; 30 cm.
500.00
SIU IS: SOM-MBA-2017-N48
Independent Study [SO [Management]] -- Shinawatra University, 2017
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Banks and banking -- Nepal
[LCSH]Employees
[LCSH]LeadershipKeywords: Leadership,
Transformational Leadership,
Transactional Leadership,
Job SatisfactionAbstract: The present study was conducted to meet the requirement of Master in Business Administration (MBA) program of Sinawatra University. The main intention of conducting the present research was to know the relationship between Leadership Style and Employees Job Satisfaction. Along with that the present research was also conducted to gain the knowledge regarding the impact of Leadership style provided by the banking company on the employee job satisfaction.
The present research was conducted by using quantitative method followed by exploratory and descriptive research designs. A sample size of 106 employees’ out of undefined population inside the Kathmandu Valley was taken to conduct the present research survey. Samples were chosen by using convenience sampling method as the employee’s were large in number. Questionnaire tool was used to conduct the survey whereby the collected data were analyzed, presented and used to produce key findings about perceived level of employee’s satisfaction and loyalty. After the analysis of the data, the key findings of the present study revealed that the relation between Leadership Style and Employees Job Satisfaction and loyalty depends upon the style and services provided by the Leaders of companies. The Leadership Style- - Transformational Leadership style and Transactional Leadership Style are the major element that affects the relationship between Leadership style and job satisfaction and loyalty.
Among these elements, employees are willing to switch because of working environment, affordable communication, quality of work life and better service provided by banks. So, to achieve the exemplary level of impact on employee’s job satisfaction the leadership styles should developed and modify according to the expectation and requirements of the employees’.Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27522 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596179 SIU IS: SOM-MBA-2017-N48 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596187 SIU IS: SOM-MBA-2017-N48 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS. Roles of Female Leadership in Non-Profit Organizations in Nepal / Aasika Shan / Bangkok: Shinawatra University - 2018
Collection Title: SIU IS Title : Roles of Female Leadership in Non-Profit Organizations in Nepal Material Type: printed text Authors: Aasika Shan, Author ; Chanchai Bunchapattanasakda, Associated Name ; Ousanee Sawagvudcharee, Associated Name Publisher: Bangkok: Shinawatra University Publication Date: 2018 Pagination: vii, 52 p. Layout: Tables, ill. Size: 30 cm. Price: 500.00 Baht. General note: SIU IS: SOM-MBA-2018-N34
IS [MS. [MBA]] -- Shinawatra University, 2018Languages : English (eng) Keywords: Female Leadership, Career development, Leadership position, Influential factors Leadership, Women empowerment, Women rights Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27985 SIU IS. Roles of Female Leadership in Non-Profit Organizations in Nepal [printed text] / Aasika Shan, Author ; Chanchai Bunchapattanasakda, Associated Name ; Ousanee Sawagvudcharee, Associated Name . - [S.l.] : Bangkok: Shinawatra University, 2018 . - vii, 52 p. : Tables, ill. ; 30 cm.
500.00 Baht.
SIU IS: SOM-MBA-2018-N34
IS [MS. [MBA]] -- Shinawatra University, 2018
Languages : English (eng)
Keywords: Female Leadership, Career development, Leadership position, Influential factors Leadership, Women empowerment, Women rights Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27985 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607472 SIU IS: SOM-MBA-2018-N34 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607471 SIU IS: SOM-MBA-2018-N34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU SS. Effects of Leadership on Employee Morale in Higher Education / Abdulkadir Noor Jibril / Bangkok: Shinawatra University - 2017
Collection Title: SIU SS Title : Effects of Leadership on Employee Morale in Higher Education Material Type: printed text Authors: Abdulkadir Noor Jibril, Author ; Walsh, John, Associated Name ; Fuangfa Amponstira, Associated Name Publisher: Bangkok: Shinawatra University Publication Date: 2017 Pagination: vi, 34 p. Layout: Tables, ill Size: 30 cm. Price: 500.00 General note: SIU SS: SOM-PhD-M-2017-03
Special Study. [PhD. [Philosophy in Management]] -- Shinawatra University, 2017Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Leadership
[LCSH]MoraleKeywords: Leadership,
Employee Morale,
Employee PerformanceAbstract: Key factors of institutional success is included morale of employees, high morale brings organizations into success path and low morale cause to failure. increase of performance, efficiency of the employee is result of high morale if the employee is more satisfied with leader his/her morale will be positive otherwise the vice versa, performance of employee is dependent to his/her morale wither is high or low so that study explores effects of leadership on employee morale in the higher education, semi structural interview has been employed to collect data from scholars with different backgrounds and experience in Thailand. Result of the study shows that morale is a mediating variable between leadership styles or practices and staff performance, if the leadership behavior is satisfied to staff the morale will be high which leads better performance if not the situation will be different. Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27887 SIU SS. Effects of Leadership on Employee Morale in Higher Education [printed text] / Abdulkadir Noor Jibril, Author ; Walsh, John, Associated Name ; Fuangfa Amponstira, Associated Name . - [S.l.] : Bangkok: Shinawatra University, 2017 . - vi, 34 p. : Tables, ill ; 30 cm.
500.00
SIU SS: SOM-PhD-M-2017-03
Special Study. [PhD. [Philosophy in Management]] -- Shinawatra University, 2017
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Leadership
[LCSH]MoraleKeywords: Leadership,
Employee Morale,
Employee PerformanceAbstract: Key factors of institutional success is included morale of employees, high morale brings organizations into success path and low morale cause to failure. increase of performance, efficiency of the employee is result of high morale if the employee is more satisfied with leader his/her morale will be positive otherwise the vice versa, performance of employee is dependent to his/her morale wither is high or low so that study explores effects of leadership on employee morale in the higher education, semi structural interview has been employed to collect data from scholars with different backgrounds and experience in Thailand. Result of the study shows that morale is a mediating variable between leadership styles or practices and staff performance, if the leadership behavior is satisfied to staff the morale will be high which leads better performance if not the situation will be different. Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27887 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598977 SIU SS: SOM-PhD-M-2017-03 c.1 SIU Special Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม / กนกพรรณ ญาณภิรัต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม Original title : Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization Material Type: printed text Authors: กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xii, 88 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม = Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization [printed text] / กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xii, 88 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607380 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607377 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 / พระมหาสมคิด มะลัยทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 Original title : Leadership Development towards Sappurisadhamma 7 Principles of Administrative Monks Under Sangha Region 10 Material Type: printed text Authors: พระมหาสมคิด มะลัยทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 147 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พระสังฆาธิการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]สัปปุริสธรรม -- วิจัยKeywords: ภาวะผู้นำ, สัปปุริสธรรม 7, คณะสงฆ์ภาค 10 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 คือผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม 7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D. = 0.63) โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.35, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893
ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28105 SIU THE-T. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 = Leadership Development towards Sappurisadhamma 7 Principles of Administrative Monks Under Sangha Region 10 [printed text] / พระมหาสมคิด มะลัยทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 147 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พระสังฆาธิการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]สัปปุริสธรรม -- วิจัยKeywords: ภาวะผู้นำ, สัปปุริสธรรม 7, คณะสงฆ์ภาค 10 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 คือผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม 7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D. = 0.63) โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.35, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893
ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28105 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607332 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607334 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available