From this page you can:
Home |
Search results
102 result(s) search for keyword(s) 'โรงพยาบาลชุมชน. จังหวัดน่าน. การพัฒนาบุคลากร. พยาบาล. การประเมิน.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน / หนึ่งนุช คำชาย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน Original title : The development of professional nurses competency assessment scale, community hospitals, Nan Province Material Type: printed text Authors: หนึ่งนุช คำชาย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 138 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชน -- ไทย -- น่านKeywords: โรงพยาบาลชุมชน.
จังหวัดน่าน.
การพัฒนาบุคลากร.
พยาบาล.
การประเมิน.Class number: WY100 ห953 2551 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะและตรวจสอบคุณภาพแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน จำนวน 15 คน และกลุ่มหัวหน้าหอผู้ป่วย และรองหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน 13 แห่ง จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพแบบมาตรประมาณค่ายึดพฤติกรรม (Behaviorally anchored rating scale : BARS) 4 ระดับ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเที่ยงของการสังเกตระหว่างผู้ประเมิน (Interrater reliability) เท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน ประกอบด้วยสมรรถนะ 8 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมาย ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และด้านวิชาการและการวิจัย รวมเป็นสมรรถนะย่อย 22 ข้อ 2. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน มีค่าความสอดคล้องของแบบประเมินเท่ากับ .86 (r = .86) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23219 การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน = The development of professional nurses competency assessment scale, community hospitals, Nan Province [printed text] / หนึ่งนุช คำชาย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 138 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชน -- ไทย -- น่านKeywords: โรงพยาบาลชุมชน.
จังหวัดน่าน.
การพัฒนาบุคลากร.
พยาบาล.
การประเมิน.Class number: WY100 ห953 2551 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะและตรวจสอบคุณภาพแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน จำนวน 15 คน และกลุ่มหัวหน้าหอผู้ป่วย และรองหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน 13 แห่ง จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพแบบมาตรประมาณค่ายึดพฤติกรรม (Behaviorally anchored rating scale : BARS) 4 ระดับ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเที่ยงของการสังเกตระหว่างผู้ประเมิน (Interrater reliability) เท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน ประกอบด้วยสมรรถนะ 8 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมาย ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ด้านการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และด้านวิชาการและการวิจัย รวมเป็นสมรรถนะย่อย 22 ข้อ 2. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดน่าน มีค่าความสอดคล้องของแบบประเมินเท่ากับ .86 (r = .86) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23219 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354835 WY100 ห953 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ / บุญทิวา สู่วิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : An Evaluation of emergency medical service nursing course of Kuakarun Faculty of nursing Navamindradhiraj university Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สู่วิทย์, Author ; เสาวลักษณ์ ทำมาก, Author ; นิรมนต์ เหลาสุภาพ, Author ; พิสมัย พิทักษาวราการ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.41-49 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.41-49Keywords: การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณยื มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการอบรมรุ่นทีี่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยคำนวณหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า = 0.67 -1 นำมาหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Conbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.81 ส่วนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของรุ่นที่ 1 และ 2 ได้ค่า = 0.57, 0.66 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นต่อหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของผู้เข้ารับการอบรมรุ่นที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 ทุกด้าน คือ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต อยู่ในระดับมาก โดยกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ค่า (Mean 4.69, SD 0.56) และ ค่า (Mean 4.54, SD 0.50) รองลงมาคือ ด้านบริบท (Mean 4.51, SD 047 และ Mean 4.36, SD 0.41) ผลผลิต (Mean 4.28, SD 0.55 และ Mean 4.33, SD 0.45) และปัจจัยนำเข้าตามลำดับ (Mean 3.97, SD 0.37 และ Mean 3.99, SD 0.45) สำหรับความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพพบว่า หลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อย่างไรก็ตามผู้เข้ารับการอบรมได้แนะว่า ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม ความรู้ และทัักษะการพยาบาลกู้ชีพในเด็ก ซึ่งผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24940 [article] การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ = An Evaluation of emergency medical service nursing course of Kuakarun Faculty of nursing Navamindradhiraj university : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สู่วิทย์, Author ; เสาวลักษณ์ ทำมาก, Author ; นิรมนต์ เหลาสุภาพ, Author ; พิสมัย พิทักษาวราการ, Author . - 2015 . - p.41-49.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.41-49Keywords: การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณยื มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการอบรมรุ่นทีี่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยคำนวณหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า = 0.67 -1 นำมาหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Conbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.81 ส่วนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของรุ่นที่ 1 และ 2 ได้ค่า = 0.57, 0.66 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นต่อหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของผู้เข้ารับการอบรมรุ่นที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 ทุกด้าน คือ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต อยู่ในระดับมาก โดยกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ค่า (Mean 4.69, SD 0.56) และ ค่า (Mean 4.54, SD 0.50) รองลงมาคือ ด้านบริบท (Mean 4.51, SD 047 และ Mean 4.36, SD 0.41) ผลผลิต (Mean 4.28, SD 0.55 และ Mean 4.33, SD 0.45) และปัจจัยนำเข้าตามลำดับ (Mean 3.97, SD 0.37 และ Mean 3.99, SD 0.45) สำหรับความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพพบว่า หลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อย่างไรก็ตามผู้เข้ารับการอบรมได้แนะว่า ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม ความรู้ และทัักษะการพยาบาลกู้ชีพในเด็ก ซึ่งผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24940 การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน / สุภาพร เสือรอด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก Original title : Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west Material Type: printed text Authors: สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 [article] การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน = Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก [printed text] / สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2015 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว / บุตธะนา สุมามาลย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี Original title : Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province Material Type: printed text Authors: บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.104-112 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 [article] ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว = Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี [printed text] / บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author . - 2017 . - p.104-112.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง / พัชราพร แจ่มแจ้ง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน Original title : Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials Material Type: printed text Authors: พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ญ, 169 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-344-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง = Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน [printed text] / พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ญ, 169 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-344-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357259 THE WY18พ612 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล / สิวลี ศิริไล / [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2556
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000389294 WY85 ส733 2556 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000389302 WY85 ส733 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000389328 WY85 ส733 2556 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000389278 WY85 ส733 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000389252 WY85 ส733 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000493229 WY85 ส733 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000493245 WY85 ส733 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000493260 WY85 ส733 2556 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000493237 WY85 ส733 2556 c.9 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ / กรรณจริยา สุขรุ่ง / งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, - 2555
Collection Title: Old book collection Title : บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ Material Type: printed text Authors: กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, Publication Date: 2555 Pagination: 57 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ [printed text] / กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล,, 2555 . - 57 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355972 WY5 บ268 2555 Book Main Library Library Counter Available SIU RS-T. การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า / จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า Original title : The Investment Evaluation Study of Biomass Power Plant with Downdraft Gasification 850 kW from Eucalyptus Wood Chip Material Type: printed text Authors: จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 139 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เทคโนโลยีแก๊ซซิฟิเคชั่น
แก๊ซซิฟายเออร์แบบไหลลง
ชีวมวล
โปรดิวเซอร์แก๊ซ
การประเมินโครงการ
การประเมินระหว่างดำเนินโครงการ
ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP)Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26569 SIU RS-T. การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า = The Investment Evaluation Study of Biomass Power Plant with Downdraft Gasification 850 kW from Eucalyptus Wood Chip [printed text] / จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 139 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เทคโนโลยีแก๊ซซิฟิเคชั่น
แก๊ซซิฟายเออร์แบบไหลลง
ชีวมวล
โปรดิวเซอร์แก๊ซ
การประเมินโครงการ
การประเมินระหว่างดำเนินโครงการ
ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP)Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26569 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592202 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592194 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU THE-T. การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ / นันทพงศ์ อินทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ : Policy Evaluation of Copyright ACT 2573 (1994) For The Copyright Infringement in Cinematographic Works Material Type: printed text Authors: นันทพงศ์ อินทอง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; บุญทัน ดอกไธสง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 194 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การละเมิดลิขสิทธิ์
[LCSH]ลิขสิทธิ์Keywords: การประเมินนโยบาย, การละเมิดลขสิทธิ์งานภาพยนตร์, พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ 2) เพื่อประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ 3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ ผู้วิจัย และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีโครงสร้าง รวมทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 38 คน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็น 3 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์เป็นหน่วยปฏิบัติงานหลัก ได้แก่ 1) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2) กรมทรัพย์สินทางปัญญา 3) สำนักงานอัยการฝ่ายคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ส่วนที่สอง เป็นการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรก คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สอง ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สาม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สี่ ผู้จัดการโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ ในระดับมหภาพ และการดำเนินการในระดับจุลภาพเป็นเพียงดำเนินการตามผลของการกระทำผิดเท่านั้น ไม่มีการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การป้องกันปราบปรามมีความยากลำบาก และจากการประเมินผลนโยบายการนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากมีการประกาศใช้ พรบ. ลิขสิทธิ์นี้ การละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ เป็นปรากฎการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่มีวิธีการศึกษาในการหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ถึงแม้ว่ามีการจับกุม ดำเนินคดี หรือการยอมความ แต่ผู้ละเมิดยังมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ผู้นำของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการละเมิดลิขสิทธิ์เท่าที่ควรจะเป็นในเรื่องการสื่อสาร การสั่งการ ก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ คือ ทฤษฎีทางหลักนิติศาสตร์ กับ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ มีความไม่สอดคล้องกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ ด้านมหภาพ ผู้นำรัฐควรสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนให้เกิดวัฒนธรรมและค่านิยมให้เกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ รัฐควรกำหนดอัตราโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำความผิด เพื่อการแก้ไขปัญหาการใช้โทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการใช้สิทธิโดยมิชอบของเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรมีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงกฎหมายลิขสิทธิ์อย่างสม่ำเสมอ ควรจัดให้มีการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ด้านจุลภาพ ในหน่วยปฏิบัติงานควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงความผิดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ และในกระบวนการการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27771 SIU THE-T. การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ : Policy Evaluation of Copyright ACT 2573 (1994) For The Copyright Infringement in Cinematographic Works [printed text] / นันทพงศ์ อินทอง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; บุญทัน ดอกไธสง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 194 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การละเมิดลิขสิทธิ์
[LCSH]ลิขสิทธิ์Keywords: การประเมินนโยบาย, การละเมิดลขสิทธิ์งานภาพยนตร์, พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ 2) เพื่อประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ 3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ ผู้วิจัย และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีโครงสร้าง รวมทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 38 คน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็น 3 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์เป็นหน่วยปฏิบัติงานหลัก ได้แก่ 1) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2) กรมทรัพย์สินทางปัญญา 3) สำนักงานอัยการฝ่ายคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ส่วนที่สอง เป็นการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรก คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สอง ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สาม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สี่ ผู้จัดการโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ ในระดับมหภาพ และการดำเนินการในระดับจุลภาพเป็นเพียงดำเนินการตามผลของการกระทำผิดเท่านั้น ไม่มีการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การป้องกันปราบปรามมีความยากลำบาก และจากการประเมินผลนโยบายการนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากมีการประกาศใช้ พรบ. ลิขสิทธิ์นี้ การละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ เป็นปรากฎการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่มีวิธีการศึกษาในการหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ถึงแม้ว่ามีการจับกุม ดำเนินคดี หรือการยอมความ แต่ผู้ละเมิดยังมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ผู้นำของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการละเมิดลิขสิทธิ์เท่าที่ควรจะเป็นในเรื่องการสื่อสาร การสั่งการ ก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ คือ ทฤษฎีทางหลักนิติศาสตร์ กับ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ มีความไม่สอดคล้องกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ ด้านมหภาพ ผู้นำรัฐควรสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนให้เกิดวัฒนธรรมและค่านิยมให้เกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ รัฐควรกำหนดอัตราโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำความผิด เพื่อการแก้ไขปัญหาการใช้โทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการใช้สิทธิโดยมิชอบของเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรมีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงกฎหมายลิขสิทธิ์อย่างสม่ำเสมอ ควรจัดให้มีการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ด้านจุลภาพ ในหน่วยปฏิบัติงานควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงความผิดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ และในกระบวนการการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27771 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597771 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597805 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก Original title : The Evaluation of First Car Policy Material Type: printed text Authors: อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 95 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก = The Evaluation of First Car Policy [printed text] / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 95 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593739 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593747 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด / กนกวรรณ สว่างศรี in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Original title : Pain management in patients undergoing open heart surgery Material Type: printed text Authors: กนกวรรณ สว่างศรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.2-15 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.2-15Keywords: การจัดการความปวด.การประเมินความปวด.ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด. Abstract: การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เป็นการผ่าตัดที่มีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อมาก ร่วมกับภายหลังผ่าตัด ผู้ป่วยต้องคาท่อช่วยหายใจ สายระบายทรวงอก และสายสวนต่างๆ ซึ่งล้วนก่อให้เกิดความปวดมากขึ้น การจัดการความปวดควรครอบคลุมระยะก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัด ภายหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดในระยะวิกฤต ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีข้อจำกัดในการสื่อสารจากการคาท่อช่วยหายใจและการได้รับยาระงับประสาท จึงมีความเสี่ยงที่อาจจะไม่ได้รับการจัดการความปวดที่เพียงพอ การประเมินความปวดเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดการความปวด เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความปวด ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้ดี และเครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้จำกัด พยาบาลผู้ดูแลในหน่วยวิกฤตจึงควรเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดที่เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อนำไปสู่การจัดการความปวดด้วยวิธีการใช้ยาและไม่ใช้ยาอย่างเหมาะสม และเกิดผลลัพธ์ของการจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27484 [article] การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด = Pain management in patients undergoing open heart surgery [printed text] / กนกวรรณ สว่างศรี, Author . - 2017 . - p.2-15.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.2-15Keywords: การจัดการความปวด.การประเมินความปวด.ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด. Abstract: การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เป็นการผ่าตัดที่มีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อมาก ร่วมกับภายหลังผ่าตัด ผู้ป่วยต้องคาท่อช่วยหายใจ สายระบายทรวงอก และสายสวนต่างๆ ซึ่งล้วนก่อให้เกิดความปวดมากขึ้น การจัดการความปวดควรครอบคลุมระยะก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัด ภายหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดในระยะวิกฤต ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีข้อจำกัดในการสื่อสารจากการคาท่อช่วยหายใจและการได้รับยาระงับประสาท จึงมีความเสี่ยงที่อาจจะไม่ได้รับการจัดการความปวดที่เพียงพอ การประเมินความปวดเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดการความปวด เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความปวด ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้ดี และเครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้จำกัด พยาบาลผู้ดูแลในหน่วยวิกฤตจึงควรเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดที่เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อนำไปสู่การจัดการความปวดด้วยวิธีการใช้ยาและไม่ใช้ยาอย่างเหมาะสม และเกิดผลลัพธ์ของการจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27484 การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ / กัญญดา ประจุศิลป / กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2562
Title : การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ Material Type: printed text Authors: กัญญดา ประจุศิลป, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2562 Pagination: 173 น. Size: 24 ซม. Price: 290.00 บาท General note: บทที่ 1 การพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 -- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานพยาบาล -- บทที่ 3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายรุ่นอายุ -- บทที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร -- บทที่ 5 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]พยาบาล -- การบริหาร
[NLM]พยาบาล -- ภาวะผู้นำ
[NLM]ภาวะผู้นำ -- แนวคิดKeywords: ผู้นำ, พยาบาล Class number: WY105 ก417ก 2562 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28245 การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ [printed text] / กัญญดา ประจุศิลป, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 . - 173 น. ; 24 ซม.
290.00 บาท
บทที่ 1 การพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 -- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานพยาบาล -- บทที่ 3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายรุ่นอายุ -- บทที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร -- บทที่ 5 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]พยาบาล -- การบริหาร
[NLM]พยาบาล -- ภาวะผู้นำ
[NLM]ภาวะผู้นำ -- แนวคิดKeywords: ผู้นำ, พยาบาล Class number: WY105 ก417ก 2562 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28245 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607295 WY105 ก417ก 2562 c.1 Book Main Library General Shelf Due for return by 01/17/2025 32002000607298 WY105 ก417ก 2562 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000607297 WY105 ก417ก 2562 c.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000607296 WY105 ก417ก 2562 c.4 Book Main Library General Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
สู่กระบวนทัศน์ใหม่ของผู้บริหารการพยาบาล สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล ภาวะผู้นำและการจัดการทางการพยาบาล อภิรดี, นันท์ศุภวัฒน์ การบริหารการพยาบาลยุค 4G plus เสาวลักษณ์ จิรธรรมคุณ