From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'โรคไข้เลือดออก.อสม.ประจำหมู่บ้านการมีส่วนร่วม.ตำบลธรรมามูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข / จันทิมา เหล็กไหล in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข : ประจำหมู่บ้านในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก Original title : Factor influencing the role of the participation in village health volunteers for the prevention and control of dengue hemorrhagic fever Material Type: printed text Authors: จันทิมา เหล็กไหล, Author ; ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.132-144 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.132-144Keywords: โรคไข้เลือดออก.อสม.ประจำหมู่บ้านการมีส่วนร่วม.ตำบลธรรมามูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วม และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลธรรมมูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท จำนวน 142 คน กลุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นด้านความรู้ การรับรู้ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเท่ากัย .797 .782 .765 .878 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยแบบพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วใมนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.65 ค่าเลี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33)โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์มากที่สุด และคะแนนการมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาน้อยที่สุด สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม. ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญ คือ ปัจจัยการได้รับแรงสนับสนุนจากเพื่อร่วมงาน ปัจจัยการได้รับข้อมุลข่าวาสาร ปัจจัยการกำหนดบทลงโทษ ปัจจัยตำแหน่งทางสังคม ปัจจัยความพอเพียงของทรัพยากร และปัจจัยการรับรู้ ซึ่งปัจจัยทั้ง 6 ด้าน สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ร้อยละ 59.2 (R ยกกำลังสอง =0.592 F=32.65 p-value<0.01)
ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ต้องดำเนินการยกระดับการมีส่วนร่วให้มีประสิทธธิภาพ
ต้องส่งเสริมให้ผู้ที่มีตำแหน่งในชุมชนเป็นผู้นำในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากร เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ประจำหมู้บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อไป
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26875 [article] ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข = Factor influencing the role of the participation in village health volunteers for the prevention and control of dengue hemorrhagic fever : ประจำหมู่บ้านในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก [printed text] / จันทิมา เหล็กไหล, Author ; ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, Author . - 2017 . - p.132-144.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.132-144Keywords: โรคไข้เลือดออก.อสม.ประจำหมู่บ้านการมีส่วนร่วม.ตำบลธรรมามูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วม และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลธรรมมูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท จำนวน 142 คน กลุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นด้านความรู้ การรับรู้ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเท่ากัย .797 .782 .765 .878 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยแบบพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วใมนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.65 ค่าเลี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33)โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์มากที่สุด และคะแนนการมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาน้อยที่สุด สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม. ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญ คือ ปัจจัยการได้รับแรงสนับสนุนจากเพื่อร่วมงาน ปัจจัยการได้รับข้อมุลข่าวาสาร ปัจจัยการกำหนดบทลงโทษ ปัจจัยตำแหน่งทางสังคม ปัจจัยความพอเพียงของทรัพยากร และปัจจัยการรับรู้ ซึ่งปัจจัยทั้ง 6 ด้าน สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ร้อยละ 59.2 (R ยกกำลังสอง =0.592 F=32.65 p-value<0.01)
ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ต้องดำเนินการยกระดับการมีส่วนร่วให้มีประสิทธธิภาพ
ต้องส่งเสริมให้ผู้ที่มีตำแหน่งในชุมชนเป็นผู้นำในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากร เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ประจำหมู้บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อไป
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26875