From this page you can:
Home |
Search results
7 result(s) search for keyword(s) 'หลอดเลือดหัวใจ.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ.ขดลวดค้ำยัน.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ หลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ / ศันสนีย์ ดำรงค์ศิลป in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ หลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ Original title : Self–Care Behaviors among Patients with Coronary In-stent Restenosis Material Type: printed text Authors: ศันสนีย์ ดำรงค์ศิลป, Author ; พรรณวดี พุธวัฒนะ, Author ; กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.220-227 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.220-227Keywords: หลอดเลือดหัวใจ.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ.ขดลวดค้ำยัน. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองข้อมูลทางคลินิกการรับรู้สาเหตุ และแนวทางป้องกันการตีบซ้ำของผู้ป่วยที่เกิดการตีบซ้ำหลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่าง 22 รายเป็นผู้ป่วยที่มี คุณสมบัติตามที่กำหนด ในเวลา 6 เดือนที่ศึกษา เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ตามแบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองที่สร้างจากการ ทบทวนวรรณกรรมและแนวทางทางการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดแข็ง ระดับทุติยภูมิวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีหลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจตีบ 3เส้น ร้อยละ77.3 หลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจ ด้านขวาและด้านหน้าซ้ายเกิดการตีบซ้ำร้อยละ 45.5 เท่ากันเกิดการตีบซ้ำแบบช้ามาก ร้อยละ 95.5 มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง โดยรวมระดับปานกลางมีพฤติกรรมดีด้านการเลิกและไม่อยู่ในที่มีควันบุหรี่และด้านการรับประทานยามีพฤติกรรมปานกลางด้าน การบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย/การพักผ่อน การปฏิบัติตามแผนการรักษา การจัดการความเครียด มี พฤติกรรมไม่ดีด้านจิตสังคมและการแสวงหาความช่วยเหลือมีการรับรู้สาเหตุการตีบซ้ำว่าเกิดจากการปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม และ วางแผนป้องกันการตีบซ้ำโดยปรับปรุงพฤติกรรมการบริโภค Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27246 [article] พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ หลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ = Self–Care Behaviors among Patients with Coronary In-stent Restenosis [printed text] / ศันสนีย์ ดำรงค์ศิลป, Author ; พรรณวดี พุธวัฒนะ, Author ; กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.220-227.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.220-227Keywords: หลอดเลือดหัวใจ.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ.ขดลวดค้ำยัน. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองข้อมูลทางคลินิกการรับรู้สาเหตุ และแนวทางป้องกันการตีบซ้ำของผู้ป่วยที่เกิดการตีบซ้ำหลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่าง 22 รายเป็นผู้ป่วยที่มี คุณสมบัติตามที่กำหนด ในเวลา 6 เดือนที่ศึกษา เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ตามแบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองที่สร้างจากการ ทบทวนวรรณกรรมและแนวทางทางการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดแข็ง ระดับทุติยภูมิวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีหลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจตีบ 3เส้น ร้อยละ77.3 หลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจ ด้านขวาและด้านหน้าซ้ายเกิดการตีบซ้ำร้อยละ 45.5 เท่ากันเกิดการตีบซ้ำแบบช้ามาก ร้อยละ 95.5 มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง โดยรวมระดับปานกลางมีพฤติกรรมดีด้านการเลิกและไม่อยู่ในที่มีควันบุหรี่และด้านการรับประทานยามีพฤติกรรมปานกลางด้าน การบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย/การพักผ่อน การปฏิบัติตามแผนการรักษา การจัดการความเครียด มี พฤติกรรมไม่ดีด้านจิตสังคมและการแสวงหาความช่วยเหลือมีการรับรู้สาเหตุการตีบซ้ำว่าเกิดจากการปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม และ วางแผนป้องกันการตีบซ้ำโดยปรับปรุงพฤติกรรมการบริโภค Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27246 ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน : ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.79-94 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.79-94Keywords: การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง
บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง
การออกแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง
ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค
แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล
ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ
ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย
ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ
46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด
ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27357 [article] ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน : ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง [printed text] . - 2017 . - p.79-94.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.79-94Keywords: การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง
บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง
การออกแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง
ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค
แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล
ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ
ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย
ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ
46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด
ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27357 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของสามเณร โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช / ทรัพยทวี ทรัพย์มาก in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 ([03/20/2018])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของสามเณร โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช Original title : Factors Influencing Self-Care Behavior of Buddhist Novices in SatidwittayalaisongBuddchinnaraj School Material Type: printed text Authors: ทรัพยทวี ทรัพย์มาก, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author Publication Date: 2018 Article on page: p.42-53 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 [03/20/2018] . - p.42-53Keywords: พฤติกรรมการดูแลตนเอง.สามเณร.โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27571 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของสามเณร โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช = Factors Influencing Self-Care Behavior of Buddhist Novices in SatidwittayalaisongBuddchinnaraj School [printed text] / ทรัพยทวี ทรัพย์มาก, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author . - 2018 . - p.42-53.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย / เพ็ญพร ทวีบุตร in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย : โรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น Original title : The effect of a supportive educative nursing program for chronic disease patients with early stage kidney disease Material Type: printed text Authors: เพ็ญพร ทวีบุตร, Author ; พัชราพร เกิดมงคล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.129-145 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.129-145Keywords: ผู้ป่วยไตวายเรืื้อรังระยะเริ่มต้น.ผู้ป่วยโรคเรื้่อรัง.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.การพยาบาล.ระบบสนับสนุนสุขภาพ. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26766 [article] ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วย = The effect of a supportive educative nursing program for chronic disease patients with early stage kidney disease : โรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น [printed text] / เพ็ญพร ทวีบุตร, Author ; พัชราพร เกิดมงคล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author . - 2017 . - p.129-145.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ / กชกร ธรรมนำศีล in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 ([09/17/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ : โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ เขตกรุงเทพมหานคร Original title : Effects of self-care promoting program on self-care behavior among older adults with uncontrolled hypertension in Bangkok metoprolitan Material Type: printed text Authors: กชกร ธรรมนำศีล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author ; พัชราภา เกิดมงคล, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.42-55 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 [09/17/2015] . - p.42-55Keywords: การส่งเสริมการดูแลตนเอง.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ.โรคความดันโลหิตสูง.กรุงเทพมหานคร. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 60 คน เป็นผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 60-79 ปี มีระดับความดันโลหิตสูงกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างจาก 2 ชุมชน เขตเมือง กรุงเทพมหานคร เป็นกลุ่มทดลอง (n=30) และกลุ่มเปรียบเทียบ (n=30) กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประกอบด้วย การให้ความรู้และการฝึกทักษะการดูแลตนเอง ในเรื่องโรความดันโลหิตสูง การป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการจัดการตนเอง การเยี่ยมบ้าน การสนับสนุนและให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์สัปดาห์ละ 1 ครั้ง การอภิปรายกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับบริการตามปกติ เก็บข้อมูลโดยผู้วิจัยด้วยแบบสัมภาษณ์ก่อนและหลังได้รับโปรแกรม
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24965 [article] ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ = Effects of self-care promoting program on self-care behavior among older adults with uncontrolled hypertension in Bangkok metoprolitan : โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ เขตกรุงเทพมหานคร [printed text] / กชกร ธรรมนำศีล, Author ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, Author ; พัชราภา เกิดมงคล, Author . - 2015 . - p.42-55.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 [09/17/2015] . - p.42-55Keywords: การส่งเสริมการดูแลตนเอง.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้สูงอายุ.โรคความดันโลหิตสูง.กรุงเทพมหานคร. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 60 คน เป็นผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 60-79 ปี มีระดับความดันโลหิตสูงกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างจาก 2 ชุมชน เขตเมือง กรุงเทพมหานคร เป็นกลุ่มทดลอง (n=30) และกลุ่มเปรียบเทียบ (n=30) กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประกอบด้วย การให้ความรู้และการฝึกทักษะการดูแลตนเอง ในเรื่องโรความดันโลหิตสูง การป้องกันภาวะแทรกซ้อน และการจัดการตนเอง การเยี่ยมบ้าน การสนับสนุนและให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์สัปดาห์ละ 1 ครั้ง การอภิปรายกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับบริการตามปกติ เก็บข้อมูลโดยผู้วิจัยด้วยแบบสัมภาษณ์ก่อนและหลังได้รับโปรแกรม
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24965 ผลของโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลลานสกา / วชิรา สุทธิธรรม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลลานสกา Original title : Impact of a specially designed self care programme on self care behavior and the A1c haemoglobin level in type-2 diabetes patients at Lann Saka hospital Material Type: printed text Authors: วชิรา สุทธิธรรม ; ยุวดี วิทยพันธ์, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.19-31 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.19-31Keywords: ผลของโปรแกรมพัฒนาความสามารถการดูแลตนเอง.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ระดับฮีโมโกลบินเอวันซี.ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2.โรงพยาบาลลานสกา. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25646 [article] ผลของโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลลานสกา = Impact of a specially designed self care programme on self care behavior and the A1c haemoglobin level in type-2 diabetes patients at Lann Saka hospital [printed text] / วชิรา สุทธิธรรม ; ยุวดี วิทยพันธ์, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author . - 2016 . - p.19-31.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย / ิวิไล วิวัฒน์ชาญกิจ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย : ในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของบุคลากร คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Effect of the Dhatu Choa Rern Food program on knoeldge attitudes self care behavior and perceived physical health status of nursing Navamindradhiraj university Material Type: printed text Authors: ิวิไล วิวัฒน์ชาญกิจ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.120-121 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.120-121Keywords: โปรแกรมอาหารตามะาตุเจ้าเรือน.การรับรู้ภาวะสุขภาพ.บุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์.พฤติกรรมการดูแลตนเอง. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายในภาวะะรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนฯ เครื่องมีอที่ใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ความรูู้เกี่ยวกับอาหารตามธาจุเจ้าเรือน เจตคติ พฤคิกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายในการรับประทานอาหารฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน
ผลการวิจัย พบว่า
เมื่อสิ้นสุดการทดลองคะแนนเฉลี่ยความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้สุขภาพด้านร่างกายในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของกลุ่มทดลองและหลังทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ีระดับ.05Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26776 [article] ผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย = Effect of the Dhatu Choa Rern Food program on knoeldge attitudes self care behavior and perceived physical health status of nursing Navamindradhiraj university : ในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของบุคลากร คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / ิวิไล วิวัฒน์ชาญกิจ, Author . - 2017 . - p.120-121.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.120-121Keywords: โปรแกรมอาหารตามะาตุเจ้าเรือน.การรับรู้ภาวะสุขภาพ.บุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์.พฤติกรรมการดูแลตนเอง. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายในภาวะะรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนฯ เครื่องมีอที่ใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ความรูู้เกี่ยวกับอาหารตามธาจุเจ้าเรือน เจตคติ พฤคิกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายในการรับประทานอาหารฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน
ผลการวิจัย พบว่า
เมื่อสิ้นสุดการทดลองคะแนนเฉลี่ยความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้สุขภาพด้านร่างกายในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของกลุ่มทดลองและหลังทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ีระดับ.05Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26776