From this page you can:
Home |
Search results
8 result(s) search for keyword(s) 'รูปแบบบริการผู้ป่วยนอก.โรคเบาหวาน.ระยะเวลารอคอย.ความพึงพอใจของผู้ป่วย.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน / ไซนับ ศุภศิริ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน : ต่อระยะเวลารอคอย และความพึงพอใจในบริการ Original title : The effects of a service model for the diabetic out-patient department on waiting time and patients’ satisfaction Material Type: printed text Authors: ไซนับ ศุภศิริ, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.44-56 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.44-56Keywords: รูปแบบบริการผู้ป่วยนอก.โรคเบาหวาน.ระยะเวลารอคอย.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน ต่อระยะเวลารอคอยและความพึงพอใจในบริการ
กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 462 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 254 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 208 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีแถวคอยและการมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพ แบบบันทึกระยะเวลารอคอย นาฬิกาจับเวลา และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติแมนวิทนีย์ยู
ผลการวิจัยพบว่า ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองน้อยกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองสูงกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้นำรูปแบบบริการที่ประยุกต์จากทฤษฎีแถวคอยไปใช้ในแผนกผู้ป่วยนอกในสถานบริการสุขภาพอื่นๆ เพื่อลดระยะเวลารอคอยและเพิ่มความพึงพอใจLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27496 [article] ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน = The effects of a service model for the diabetic out-patient department on waiting time and patients’ satisfaction : ต่อระยะเวลารอคอย และความพึงพอใจในบริการ [printed text] / ไซนับ ศุภศิริ, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง, Author . - 2017 . - p.44-56.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.44-56Keywords: รูปแบบบริการผู้ป่วยนอก.โรคเบาหวาน.ระยะเวลารอคอย.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน ต่อระยะเวลารอคอยและความพึงพอใจในบริการ
กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 462 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 254 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 208 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีแถวคอยและการมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพ แบบบันทึกระยะเวลารอคอย นาฬิกาจับเวลา และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติแมนวิทนีย์ยู
ผลการวิจัยพบว่า ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองน้อยกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองสูงกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้นำรูปแบบบริการที่ประยุกต์จากทฤษฎีแถวคอยไปใช้ในแผนกผู้ป่วยนอกในสถานบริการสุขภาพอื่นๆ เพื่อลดระยะเวลารอคอยและเพิ่มความพึงพอใจLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27496 การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน / ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน : อำเภอเขื่อนคำแก้ว จังหวัดยโสธร Original title : The Development of a diabetic care system in Kuchan health prontiond hospital, kharm khuean Kaeo district Yasathon province Material Type: printed text Authors: ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี, Author ; ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล, Author ; อุดมศักดิ์ มหาวีรวัฒน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.69-85 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.69-85Keywords: โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ระบบการดูแลผู้ป่วย.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจังหวัดยโสธร Abstract: เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบาลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 47 คน ใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ พร้อมประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจมาดำเนินการศึกษา เก็บข้อมูลโดยใใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ วิเคราะหฺ์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาล ฯ มีขั้นตอน คือ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและบริบทของพื้ันที่ 2) ประเมินความรู้ การปฏิบัติการมีส่วนร่วม ก่อนการดำเนินงาน 3) ประชุมภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวขอ้ง 4) ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการโดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม 5) ดำเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 6) นิเทศติดตามผล โดยการสังเกต สัมภาษณ์ 7) ประเมินความรู้การปฏิบัติการมีส่วนร่วม 8) จัดเวทีถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 9)สรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จ 10) สรุปปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาซึ่งมีึความคิดรวบยอด คือ ความรู้เป็นเอกภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน สุขภาพที่ดี การให้กำลังใจ เครือข่าย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26733 [article] การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน = The Development of a diabetic care system in Kuchan health prontiond hospital, kharm khuean Kaeo district Yasathon province : อำเภอเขื่อนคำแก้ว จังหวัดยโสธร [printed text] / ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี, Author ; ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล, Author ; อุดมศักดิ์ มหาวีรวัฒน์, Author . - 2017 . - p.69-85.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.69-85Keywords: โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ระบบการดูแลผู้ป่วย.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจังหวัดยโสธร Abstract: เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบาลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 47 คน ใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ พร้อมประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจมาดำเนินการศึกษา เก็บข้อมูลโดยใใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ วิเคราะหฺ์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาล ฯ มีขั้นตอน คือ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและบริบทของพื้ันที่ 2) ประเมินความรู้ การปฏิบัติการมีส่วนร่วม ก่อนการดำเนินงาน 3) ประชุมภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวขอ้ง 4) ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการโดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม 5) ดำเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 6) นิเทศติดตามผล โดยการสังเกต สัมภาษณ์ 7) ประเมินความรู้การปฏิบัติการมีส่วนร่วม 8) จัดเวทีถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 9)สรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จ 10) สรุปปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาซึ่งมีึความคิดรวบยอด คือ ความรู้เป็นเอกภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน สุขภาพที่ดี การให้กำลังใจ เครือข่าย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26733 ความสัมพนัธ์ระหว่างโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ด้านความพึงพอใจในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน / อัญพัชญ์ อรุณโรจน์โสภิต in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ความสัมพนัธ์ระหว่างโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ด้านความพึงพอใจในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน : ที่มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล Original title : The relationships amomg structure process and satisfaction outcomes of diabetic adults in foot care at sub-district health promotion hospital Material Type: printed text Authors: อัญพัชญ์ อรุณโรจน์โสภิต, Author ; วิไลวรรณ ทองเจริญ, Author ; วิไลวรรณ สมบุญตนนท์, Author ; รัชนก คชไกร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.181-201 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.181-201Keywords: การดูแลเท้าผู้สูงอายุ.โรคเบาหวาน.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.ความพึงพอใจ.ผู้ป่วยเบาหวาน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25920 [article] ความสัมพนัธ์ระหว่างโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ด้านความพึงพอใจในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน = The relationships amomg structure process and satisfaction outcomes of diabetic adults in foot care at sub-district health promotion hospital : ที่มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล [printed text] / อัญพัชญ์ อรุณโรจน์โสภิต, Author ; วิไลวรรณ ทองเจริญ, Author ; วิไลวรรณ สมบุญตนนท์, Author ; รัชนก คชไกร, Author . - 2016 . - p.181-201.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / อัทคพล มลอา in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 : ที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า Original title : The experiences of foot care in type 2 diabetes Mellitus soldiers with foot complications Material Type: printed text Authors: อัทคพล มลอา, Author ; กนกพร นทีธนสมบัติ, Author ; ชฎาภา ประเสิรฐทรง, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.50-58 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.50-58Keywords: ประสบการณ์การดูแลเท้า.โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ภาวะแทรกซ้อนที่เท้า. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนทีี่เท้า เข้ารับการรักษาในคลิกนิกเบาหวานในโรงพยาบาบค่ายพ่อขุนผาเมือง ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 10 คน ได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนดดังนี้ เป็นทหารที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า อย่างน้อย 1 อาการ ได้แก่ ชาเท้า ปวดที่เท้าโดยอาจปวดขณะเดิน หรือขณะพัก การรับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เท้าลดลง มีแผลที่เท้า ความผิดปกติของรูปร่างเท้า สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย และยินดีเข้าร่วมการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค - 30 ก.ย 2557 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยจำแนกออกเป็น 4 ประเด็น หลัก คือ 1). การรับรู้เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นที่เท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็น ได้แก่ 1.1 อาการและอาการแสดงของความผิดปกติที่เท้า 1.2 สมรรถนะของการเป็นทหารลดลง 1.3 ขาดความมั่นใจในการดูแลเท้า และ 1.4 รู้สึกเป็นภาระของครอบครัว 2). การดูแลเท้า ประกอบด้วย 5 ประเด็นรอง ได้แก่ 2.1 การป้องกันการเกิดแผลที่เท้า 2.2 การส่งเสริมการไหลเวียนเลือดที่เท้า 2.3 การดูแลรักษาบาดแผลที่เท้า 2.4 การค้นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเท้า และ 2.5 การบรรเทาอาการปวดและชาที่เท้า 3).ปัญหาในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ 3.1 ความรับผิดชอบในหน้าที่ 3.2 รองเท้าคอมแบท 3.3 การรักษาไม่ต่อเนื่อง 3.4 ไม่สามารถตราจเท้าได้ 4. ความต้องการความช่วยเหลือในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ รองเท้าคอมแบดที่ตัดพิเศษเฉพาะทหารที่ป่วยเบาหวาน 4.2 คู่มือการดูแลเท้าสำหรับที่เป็นเบาหวาน 4.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประสบการณ์การดูแลเท้า และ 4.4 การดูแลต่อเนื่องที่บ้านจากบุคคลบุคลากรทางการแพทย์
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24941 [article] ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = The experiences of foot care in type 2 diabetes Mellitus soldiers with foot complications : ที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า [printed text] / อัทคพล มลอา, Author ; กนกพร นทีธนสมบัติ, Author ; ชฎาภา ประเสิรฐทรง, Author . - 2015 . - p.50-58.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.50-58Keywords: ประสบการณ์การดูแลเท้า.โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ภาวะแทรกซ้อนที่เท้า. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนทีี่เท้า เข้ารับการรักษาในคลิกนิกเบาหวานในโรงพยาบาบค่ายพ่อขุนผาเมือง ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 10 คน ได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนดดังนี้ เป็นทหารที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า อย่างน้อย 1 อาการ ได้แก่ ชาเท้า ปวดที่เท้าโดยอาจปวดขณะเดิน หรือขณะพัก การรับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เท้าลดลง มีแผลที่เท้า ความผิดปกติของรูปร่างเท้า สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย และยินดีเข้าร่วมการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค - 30 ก.ย 2557 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยจำแนกออกเป็น 4 ประเด็น หลัก คือ 1). การรับรู้เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นที่เท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็น ได้แก่ 1.1 อาการและอาการแสดงของความผิดปกติที่เท้า 1.2 สมรรถนะของการเป็นทหารลดลง 1.3 ขาดความมั่นใจในการดูแลเท้า และ 1.4 รู้สึกเป็นภาระของครอบครัว 2). การดูแลเท้า ประกอบด้วย 5 ประเด็นรอง ได้แก่ 2.1 การป้องกันการเกิดแผลที่เท้า 2.2 การส่งเสริมการไหลเวียนเลือดที่เท้า 2.3 การดูแลรักษาบาดแผลที่เท้า 2.4 การค้นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเท้า และ 2.5 การบรรเทาอาการปวดและชาที่เท้า 3).ปัญหาในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ 3.1 ความรับผิดชอบในหน้าที่ 3.2 รองเท้าคอมแบท 3.3 การรักษาไม่ต่อเนื่อง 3.4 ไม่สามารถตราจเท้าได้ 4. ความต้องการความช่วยเหลือในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ รองเท้าคอมแบดที่ตัดพิเศษเฉพาะทหารที่ป่วยเบาหวาน 4.2 คู่มือการดูแลเท้าสำหรับที่เป็นเบาหวาน 4.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประสบการณ์การดูแลเท้า และ 4.4 การดูแลต่อเนื่องที่บ้านจากบุคคลบุคลากรทางการแพทย์
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24941 ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต / ปภัชญา หนูสลุง in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต : ทางช่องท้องหอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช Material Type: printed text Authors: ปภัชญา หนูสลุง, Author ; ปิยธิดา ตรีเดช, Author ; วงเดือน ปั้นดี, Author ; สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.104-119 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.104-119Keywords: แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาการรับบริการ และเปรียบเทียบเรื่องเวลาและความพึงพอใจก่อนและหลังการนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พบความสูญเปล่าในระบบจากการรอผลเลือด รอยานาน ความซ้ำซ้อนในระบบทำงาน ขั้นตอนมากเกินความจำเป็น การเดินกลับไปกลับมาเพื่อแก้ไขความผิดพลาด หลังนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ประกอบด้วยคุณค่า สายธารแห่งคุณค่า การไหล การตึง และความสมบูรณ์แบบ โดยการปรับปรุงกระบวนการให้ผู้ป่วยเจาะเลือดล่วงหน้าก่อนตรวจ ตรวจสอบข้อพิดพลาดเรื่องใบสั่งยาโดยอาจารย์แพทย์ หรือแพทย์ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ ลดความซ้่ำซ้อน ลดขั้นตอนการทำงาน ผลการศึกษา พบว่า รระยะเวลาการมารับบริการเร้ซขึ้นจากเดิมใช้เวลาทั้งหมด 377.71 นาทีื ลดลงเหลือ 209.8 นาที โดยระยะเวลาที่ลดลง คือ การรอผลเลือด เดิม 92.54 เป็นเวลา 28.29 นาที รอยา เดิม 110.73 นาที เป็นเวลา 66.11 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ลดขั้นตอนจากเดิม 17 ขั้นตอน เหลือเพียง 14 ขั้นตอน ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยจากเดิม 4.04 มาเป็น 4.74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถมาเจาะเลือดล่วงหน้าได้ เพราะไม่มีญาติผู้ป่วยพามา ผู้วิจัยเสนอแนะโดยนำทฤษฎีแรงจูงใจมาเสริมแรงทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเห็นความสำคัญของประโยชน์จากการเจาะเลือดล่วงหน้าการตรวจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26734 [article] ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต : ทางช่องท้องหอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช [printed text] / ปภัชญา หนูสลุง, Author ; ปิยธิดา ตรีเดช, Author ; วงเดือน ปั้นดี, Author ; สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Author . - 2017 . - p.104-119.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.104-119Keywords: แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาการรับบริการ และเปรียบเทียบเรื่องเวลาและความพึงพอใจก่อนและหลังการนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พบความสูญเปล่าในระบบจากการรอผลเลือด รอยานาน ความซ้ำซ้อนในระบบทำงาน ขั้นตอนมากเกินความจำเป็น การเดินกลับไปกลับมาเพื่อแก้ไขความผิดพลาด หลังนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ประกอบด้วยคุณค่า สายธารแห่งคุณค่า การไหล การตึง และความสมบูรณ์แบบ โดยการปรับปรุงกระบวนการให้ผู้ป่วยเจาะเลือดล่วงหน้าก่อนตรวจ ตรวจสอบข้อพิดพลาดเรื่องใบสั่งยาโดยอาจารย์แพทย์ หรือแพทย์ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ ลดความซ้่ำซ้อน ลดขั้นตอนการทำงาน ผลการศึกษา พบว่า รระยะเวลาการมารับบริการเร้ซขึ้นจากเดิมใช้เวลาทั้งหมด 377.71 นาทีื ลดลงเหลือ 209.8 นาที โดยระยะเวลาที่ลดลง คือ การรอผลเลือด เดิม 92.54 เป็นเวลา 28.29 นาที รอยา เดิม 110.73 นาที เป็นเวลา 66.11 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ลดขั้นตอนจากเดิม 17 ขั้นตอน เหลือเพียง 14 ขั้นตอน ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยจากเดิม 4.04 มาเป็น 4.74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถมาเจาะเลือดล่วงหน้าได้ เพราะไม่มีญาติผู้ป่วยพามา ผู้วิจัยเสนอแนะโดยนำทฤษฎีแรงจูงใจมาเสริมแรงทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเห็นความสำคัญของประโยชน์จากการเจาะเลือดล่วงหน้าการตรวจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26734 ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย / วาสนา มูลฐี in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย Original title : Impact of transitional care programme and family caregivers on stroke patient's routine activity performannce complications and satisfaction Material Type: printed text Authors: วาสนา มูลฐี, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.95-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.95-110Keywords: ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วย.โรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแล.ความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน.ภาวะแทรกซ้อน.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25650 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย = Impact of transitional care programme and family caregivers on stroke patient's routine activity performannce complications and satisfaction [printed text] / วาสนา มูลฐี, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2016 . - p.95-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยงโรคเบาหวานตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน / สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย / สำนักการแพทย์ทางเลือก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก - 2554
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000332781 RC661 ส217 2554 Book Main Library General Shelf Due for return by 04/03/2024 สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด / ธีรนันท์ วรรณศิริ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด : ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ Original title : Families relationship in self-care promotipn for uncontrolling blood sugar in type 2 diabetes Material Type: printed text Authors: ธีรนันท์ วรรณศิริ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-50 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.31-50Keywords: โรคเบาหวาน.การควบคุมโรคเบาหวาน.การดูแลตนเอง.การส่งเสริมการดูแลตนเอง.สัมพันธภาพในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสัมพนธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาพการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคบคุมโรคได้โดยมีระดับ HbA1c มากกว่า 7% และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งหมด 19 ครอบครัว เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีผลค่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้ 1) ผู้ป่วยเบาหวานที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลจะสนับสนุนผู้ป่วยด้านสิ่งของเหมือนก่อนป่วย โดย ผู้ดูแลไม่ได้เข้มงวดในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. ช่วยเหลือสิ่งที่ผู้ป่วยทำไม่ได้. คู่สมรสเป็นแหล่งสนับสนุนให้กำลังใจที่สำคัญ 2) การสนับสนุนด้านอารมณ์โดยสมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่ผูกพันกันโดยมีความเป็นห่วงใยกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน 3) ผู้ป่วยเบาหวารนที่ดูแลตนเองได้น้อยยากจน จะได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวน้อย โดยบุตรจะแยกครอบครัวอยู่ต่างหาก เพราะสะดวกในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยเบาหวารทีไม่มีอำนาจการตัดสินใจ สมาชิกในครอบครัวจะต่างคนต่างอยู่
ข้อเสนอแนะ ให้บุคลากรทางสุขภาพจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวารและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมโรคเบาหวาน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติกับผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26730 [article] สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด = Families relationship in self-care promotipn for uncontrolling blood sugar in type 2 diabetes : ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ [printed text] / ธีรนันท์ วรรณศิริ, Author . - 2017 . - p.31-50.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.31-50Keywords: โรคเบาหวาน.การควบคุมโรคเบาหวาน.การดูแลตนเอง.การส่งเสริมการดูแลตนเอง.สัมพันธภาพในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสัมพนธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาพการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคบคุมโรคได้โดยมีระดับ HbA1c มากกว่า 7% และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งหมด 19 ครอบครัว เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีผลค่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้ 1) ผู้ป่วยเบาหวานที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลจะสนับสนุนผู้ป่วยด้านสิ่งของเหมือนก่อนป่วย โดย ผู้ดูแลไม่ได้เข้มงวดในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. ช่วยเหลือสิ่งที่ผู้ป่วยทำไม่ได้. คู่สมรสเป็นแหล่งสนับสนุนให้กำลังใจที่สำคัญ 2) การสนับสนุนด้านอารมณ์โดยสมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่ผูกพันกันโดยมีความเป็นห่วงใยกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน 3) ผู้ป่วยเบาหวารนที่ดูแลตนเองได้น้อยยากจน จะได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวน้อย โดยบุตรจะแยกครอบครัวอยู่ต่างหาก เพราะสะดวกในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยเบาหวารทีไม่มีอำนาจการตัดสินใจ สมาชิกในครอบครัวจะต่างคนต่างอยู่
ข้อเสนอแนะ ให้บุคลากรทางสุขภาพจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวารและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมโรคเบาหวาน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติกับผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26730