From this page you can:
Home |
Search results
94 result(s) search for keyword(s) 'ยาบ้า วัยรุ่นชาย. การเสพ. การบำบัด. พฤติกรรม.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย / สุกุมา แสงเดือนฉาย / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย Material Type: printed text Authors: สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 71 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-009-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย [printed text] / สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 71 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-009-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354819 THE HV5840 ส841 2544 Book Main Library General Shelf Available การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง / วนาลักษณ์ รอวิลาน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง : การศึกษานำร่อง Material Type: printed text Authors: วนาลักษณ์ รอวิลาน, Author ; ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.53-66 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.53-66Keywords: พฤติกรรมการดื่มสุรา. ผู้ติดสุรา. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน. การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่ม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของการบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ติดสุราโรงพยาบาล
เชียงกลาง จังหวัดน่าน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด
จำนวน 15 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจบำบัดรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจของมิลเลอร์และโรนิค และจากการทบทวนวรรณกรรม 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (AUDIT) และแบบวัดแรงจูงใจในการเลิกสุรา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดการวัดซ้ำ (One-way
repeated measure ANOVA) และสถิติค่าที (T-Test)
ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า คะแนนพฤติกรรมการดื่มสุรา
หลังการทดลองลดลงหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.01)
ข้อเสนอแนะ:โปรแกรมนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่ติดสุราลดและเลิกการดื่มสุราได้อย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดผู้ติดสุรา
และควรมีการสร้างระบบการติดตามระยะยาวโดยครอบครัว ผู้ดูแล และแกนนำชุมชนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27043 [article] การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง : การศึกษานำร่อง [printed text] / วนาลักษณ์ รอวิลาน, Author ; ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำ, Author . - 2016 . - p.53-66.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.53-66Keywords: พฤติกรรมการดื่มสุรา. ผู้ติดสุรา. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน. การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่ม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของการบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ติดสุราโรงพยาบาล
เชียงกลาง จังหวัดน่าน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด
จำนวน 15 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจบำบัดรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจของมิลเลอร์และโรนิค และจากการทบทวนวรรณกรรม 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (AUDIT) และแบบวัดแรงจูงใจในการเลิกสุรา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดการวัดซ้ำ (One-way
repeated measure ANOVA) และสถิติค่าที (T-Test)
ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า คะแนนพฤติกรรมการดื่มสุรา
หลังการทดลองลดลงหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.01)
ข้อเสนอแนะ:โปรแกรมนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่ติดสุราลดและเลิกการดื่มสุราได้อย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดผู้ติดสุรา
และควรมีการสร้างระบบการติดตามระยะยาวโดยครอบครัว ผู้ดูแล และแกนนำชุมชนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27043 ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ / พุฒิชาดา จันทะคุณ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE Material Type: printed text Authors: พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.88-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 [article] ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE [printed text] / พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.88-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 48 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-018-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 48 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-018-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355204 THE WM270 อ949 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ / จำเนียร แบ้กระโทก / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: จำเนียร แบ้กระโทก, Author ; รัชนีพร จันทร์มณี, Author ; อำพร คำตา, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 37 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-020-6 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชน
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติดKeywords: วัยรุ่นชาย.
ย้าบ้า
การเสพติด.
การบำบัด.Class number: HV5840 จ225 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสบการณ์ของผู้เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชาย โดยกลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายที่เสพติดยาบ้าซ้ำตั้งแต่ 2-4 ครั้ง อายุระหว่าง 16-21 ปี ที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาในระยะจู.ใจในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2544 จำนวน 8 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ประสบการณ์การเสพติดยาบ้าซ้ำในวัยรุ่น
ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการใช้ยาบ้าครั้งแรก คือ อยากลอง และการที่เพื่อนชวนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ส่วนสาเหตุของการเสพติดยาบ้่าซ้ำประำกอบด้วย ความรู้สึกที่ยังคงติดใจในรสชาิดของยาบ้า เมื่อเพื่อนชวนจึงไม่อาจปฎิเสธหรือห้ามใจตนเองได้ ด้านครอบครัวนั้นสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก ไม่มีเวลาให้กัน หรือคอยดุด่าเป็นประจำทำให้ขาดความเข้าใจ คอยหวาดระแวงซึ่งกันและกัน และขาดความอบอุ่น นอกจากนัี้้นแลัวสภาพแวดล้อมที่มียาเสพติดจำหน่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้ไม่สามารถที่จะหยุดยาได้ เพราะเป็นตัวกระตุ้นและแรงผลักดันให้นึกถึงยาเสพติดอีก และอยากกลับไปใช้ยาเสพติด การที่เพื่อนบ้านยังไม่ให้ความไว้วางใจหวาดระแวงที่จะชักชวนบุตรหลานไปเสพร่วมด้วยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้วัยุร่นกดดันและนำไปสู่การใช้ยาเสพติดซ้ำ ประการสำคัญคือ การคบเพื่อนกลุ่มเดิม ซึ่งส่งผลให้มีความอยากลองตามการฃักชวนและไม่กล้าที่จะปฎิเสธขัดใจเพื่อน กลัวเพื่อนไม่ยอมรับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแบบแผนการดำเนินชีวิตภายหลังการรักษายาเสพติดแล้วไม่ต่างจากเดิม คือ การอยู่ในสังคมเดิม การไม่มีงานทำ การว่างจากการเรียน หรือคบเพื่อนกลุ่มเดิม ทำให้ความตั้งใจในการเลิกเสพตติดยานั้นเปลี่ยนไป แต่ทั้งนี้วัยรุ่นเหล่านี้ต่างมีความหวังและเป้าหมายหลักงเข้ารับการรักษา เมื่ออกไปจากโรงพยาบาลคือ ต้องการเรียนต่อเพื่อทำงานที่มั่นคง และครอบครัวให้โอกาสในการปรับปรุงชีวิตใหม่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23299 รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / จำเนียร แบ้กระโทก, Author ; รัชนีพร จันทร์มณี, Author ; อำพร คำตา, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 37 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-020-6 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชน
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติดKeywords: วัยรุ่นชาย.
ย้าบ้า
การเสพติด.
การบำบัด.Class number: HV5840 จ225 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสบการณ์ของผู้เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชาย โดยกลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายที่เสพติดยาบ้าซ้ำตั้งแต่ 2-4 ครั้ง อายุระหว่าง 16-21 ปี ที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาในระยะจู.ใจในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2544 จำนวน 8 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ประสบการณ์การเสพติดยาบ้าซ้ำในวัยรุ่น
ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการใช้ยาบ้าครั้งแรก คือ อยากลอง และการที่เพื่อนชวนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ส่วนสาเหตุของการเสพติดยาบ้่าซ้ำประำกอบด้วย ความรู้สึกที่ยังคงติดใจในรสชาิดของยาบ้า เมื่อเพื่อนชวนจึงไม่อาจปฎิเสธหรือห้ามใจตนเองได้ ด้านครอบครัวนั้นสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก ไม่มีเวลาให้กัน หรือคอยดุด่าเป็นประจำทำให้ขาดความเข้าใจ คอยหวาดระแวงซึ่งกันและกัน และขาดความอบอุ่น นอกจากนัี้้นแลัวสภาพแวดล้อมที่มียาเสพติดจำหน่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้ไม่สามารถที่จะหยุดยาได้ เพราะเป็นตัวกระตุ้นและแรงผลักดันให้นึกถึงยาเสพติดอีก และอยากกลับไปใช้ยาเสพติด การที่เพื่อนบ้านยังไม่ให้ความไว้วางใจหวาดระแวงที่จะชักชวนบุตรหลานไปเสพร่วมด้วยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้วัยุร่นกดดันและนำไปสู่การใช้ยาเสพติดซ้ำ ประการสำคัญคือ การคบเพื่อนกลุ่มเดิม ซึ่งส่งผลให้มีความอยากลองตามการฃักชวนและไม่กล้าที่จะปฎิเสธขัดใจเพื่อน กลัวเพื่อนไม่ยอมรับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแบบแผนการดำเนินชีวิตภายหลังการรักษายาเสพติดแล้วไม่ต่างจากเดิม คือ การอยู่ในสังคมเดิม การไม่มีงานทำ การว่างจากการเรียน หรือคบเพื่อนกลุ่มเดิม ทำให้ความตั้งใจในการเลิกเสพตติดยานั้นเปลี่ยนไป แต่ทั้งนี้วัยรุ่นเหล่านี้ต่างมีความหวังและเป้าหมายหลักงเข้ารับการรักษา เมื่ออกไปจากโรงพยาบาลคือ ต้องการเรียนต่อเพื่อทำงานที่มั่นคง และครอบครัวให้โอกาสในการปรับปรุงชีวิตใหม่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23299 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354827 THE HV5840 จ225 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา / สุนีรัตน์ บริพันธ์ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา Material Type: printed text Authors: สุนีรัตน์ บริพันธ์, Author ; ศรีพรรณ สว่างวงศ์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 58 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-019-2 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพติด.
การบำบัด.
การรักษา.Class number: WM270 ส845 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาปัจจัย เงื่อนไขที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลิกยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แนวการสัมภาษณ์แบบกึ่งโคีรงสร้างลักษณะคำถามปลายเปิดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูลถูกคัดเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง โดยต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษาจากศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ และไม่กลับไปเสพซ้ำเป็นเวลามากกว่า 1 ปีขึ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ใน 17 จังหวัดภาคเหนือจำนวน 10 ราย
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่น่าจะเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่นำไปสู่การเลิกยาได้ในที่สุด คือ ความสมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาจากสถานบำบัด โดยพบว่าแรงบันดาลใจที่สำคัญที่ทำให้ต้องการเลิกยา ได้แก่ ความรับผิดชอบและภาระหน้าที่ที่ต้องเลี้ยงดูครอบครัว เพราตระหนักในความรัก ความห่วงใยของพ่อแม่ ไม่อยากให้พ่อแม่เสียใจและเป็นทุกข์ ต้องการเอาชนะคำสบประมาทและการดูถูกดูแคลนจากผู้อื่น ต่อมาเมื่อผู้ติดยาได้รับการจำหน่ายจากสถานบำบัด หลังจากได้รับการบำบัดครบขั้นตอนแล้ว จะมีการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงที่จะไม่กลับไปเสพซ้ำด้วยการตัดขาดจากสังคมเดิม ไม่คบเพื่อนกลุ่มเก่า การรู้จักปฏิเสธ บางรายพักงานอยู่กับบ้านเป็นปี หรือพักการเรียนระยะหนึ่ง แล้วจึงย้ายโรงเรียนใหม่ นอกจากนี้ความเชื่อมั่นว่ายาเสพติิดเป็นสิ่งที่สามารถเลิกได้ได้ใจเข็มแข็ง เป็นแรงจูงใจที่สำคัญที่ทำให้ผู้ติดยาเสพติดมีความมุ่งมั่นที่จะเลิกให้ได้ การรับรู้โทษและผลเสียของการติดยาเสพติด โดยเฉพาะการรัีบรู้ที่เป็นประสบการณ์ตรงจากการมีชีวิตเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ครอบครัวให้ความรัก ความใอลอุ่นมากขึ้น การมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น การเห็นคุณค่าของตนเองจากความรู้สึกว่าเป็นที่ต้องการของผู้อื่น และพึ่งพาได้ มีความรู้สึกนึิกคิดต่อตนเองในทางบวกตรงตามสภาพความเป็นจริง เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อ่ืื่อนและเมื่อมีปัญหาก็มีแหล่งใหคำปรึกษา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคนในครอบครัว และเพื่อน ๆ ตลอดจนการได้รับโอกาสและการยอมรับจากชุมชน ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ไม่ต้องหันกลับไปพึ่งพายาเสพติด
ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์สำหรับองค์กร และบุุคลากรทางด้านสาธารณสุข ในการนำไปกำหนดนโยบาย และประยุกต์ใช้ในด้านการปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก เพื่อให้ผู้บำบัดมีการรับรู้
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23303 รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา [printed text] / สุนีรัตน์ บริพันธ์, Author ; ศรีพรรณ สว่างวงศ์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 58 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-019-2 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพติด.
การบำบัด.
การรักษา.Class number: WM270 ส845 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาปัจจัย เงื่อนไขที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลิกยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แนวการสัมภาษณ์แบบกึ่งโคีรงสร้างลักษณะคำถามปลายเปิดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูลถูกคัดเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง โดยต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษาจากศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ และไม่กลับไปเสพซ้ำเป็นเวลามากกว่า 1 ปีขึ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ใน 17 จังหวัดภาคเหนือจำนวน 10 ราย
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่น่าจะเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่นำไปสู่การเลิกยาได้ในที่สุด คือ ความสมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาจากสถานบำบัด โดยพบว่าแรงบันดาลใจที่สำคัญที่ทำให้ต้องการเลิกยา ได้แก่ ความรับผิดชอบและภาระหน้าที่ที่ต้องเลี้ยงดูครอบครัว เพราตระหนักในความรัก ความห่วงใยของพ่อแม่ ไม่อยากให้พ่อแม่เสียใจและเป็นทุกข์ ต้องการเอาชนะคำสบประมาทและการดูถูกดูแคลนจากผู้อื่น ต่อมาเมื่อผู้ติดยาได้รับการจำหน่ายจากสถานบำบัด หลังจากได้รับการบำบัดครบขั้นตอนแล้ว จะมีการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงที่จะไม่กลับไปเสพซ้ำด้วยการตัดขาดจากสังคมเดิม ไม่คบเพื่อนกลุ่มเก่า การรู้จักปฏิเสธ บางรายพักงานอยู่กับบ้านเป็นปี หรือพักการเรียนระยะหนึ่ง แล้วจึงย้ายโรงเรียนใหม่ นอกจากนี้ความเชื่อมั่นว่ายาเสพติิดเป็นสิ่งที่สามารถเลิกได้ได้ใจเข็มแข็ง เป็นแรงจูงใจที่สำคัญที่ทำให้ผู้ติดยาเสพติดมีความมุ่งมั่นที่จะเลิกให้ได้ การรับรู้โทษและผลเสียของการติดยาเสพติด โดยเฉพาะการรัีบรู้ที่เป็นประสบการณ์ตรงจากการมีชีวิตเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ครอบครัวให้ความรัก ความใอลอุ่นมากขึ้น การมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น การเห็นคุณค่าของตนเองจากความรู้สึกว่าเป็นที่ต้องการของผู้อื่น และพึ่งพาได้ มีความรู้สึกนึิกคิดต่อตนเองในทางบวกตรงตามสภาพความเป็นจริง เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อ่ืื่อนและเมื่อมีปัญหาก็มีแหล่งใหคำปรึกษา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคนในครอบครัว และเพื่อน ๆ ตลอดจนการได้รับโอกาสและการยอมรับจากชุมชน ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ไม่ต้องหันกลับไปพึ่งพายาเสพติด
ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์สำหรับองค์กร และบุุคลากรทางด้านสาธารณสุข ในการนำไปกำหนดนโยบาย และประยุกต์ใช้ในด้านการปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก เพื่อให้ผู้บำบัดมีการรับรู้
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23303 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354884 THE WM270 ส845 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ / พีรวัฒน์ ดวงอาจ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ Original title : A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method Material Type: printed text Authors: พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ = A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method [printed text] / พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594570 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594554 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน Original title : A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas Material Type: printed text Authors: นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 31 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน = A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas [printed text] / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 31 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594620 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594638 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด / ขนิษฐา สุขสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Original title : Energy Saving Behavior of Employees for CO2 Emission Reduction: Case Study of Toshiba Consumer Product (Thailand) Co., Ltd. Material Type: printed text Authors: ขนิษฐา สุขสวัสดิ์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]พลังงาน -- การจัดการKeywords: การประหยัดพลังงานไฟฟ้า,
พฤติกรรมการประหยัดพลังงาน,
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลและศึกษาแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลกิจกรรมที่เป็นสาเหตุของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHGs emission) ในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อทำให้ทราบถึงความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้าของพนักงานในบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26226 SIU RS-T. การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด = Energy Saving Behavior of Employees for CO2 Emission Reduction: Case Study of Toshiba Consumer Product (Thailand) Co., Ltd. [printed text] / ขนิษฐา สุขสวัสดิ์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]พลังงาน -- การจัดการKeywords: การประหยัดพลังงานไฟฟ้า,
พฤติกรรมการประหยัดพลังงาน,
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลและศึกษาแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลกิจกรรมที่เป็นสาเหตุของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHGs emission) ในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อทำให้ทราบถึงความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้าของพนักงานในบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26226 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590958 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000590982 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU THE-T. การพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหาร: กรณีศึกษา ซานตาเฟ่สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร / รุ่งโรจน์ เจือสนิท / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหาร: กรณีศึกษา ซานตาเฟ่สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Service Development of Franchise Restaurant: A Case of Santa Fe’ Steak in Bangkok Material Type: printed text Authors: รุ่งโรจน์ เจือสนิท, Author ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xi, 144 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]แฟรนไชส์Keywords: พฤติกรรมผู้บริโภค,
ส่วนประสมทางการตลาด,
ร้านอาหารแฟรนไชส์Abstract: การวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ในเชิงปริมาณ ในการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ ร้านอาหาร กรณีศึกษาซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาความสัมพันธ์การพัฒนางานบริการด้านปัจจัยส่วนบุคคลของลูกค้าต่อการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ ร้านอาหาร ซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) หาความสัมพันธ์การพัฒนางานบริการด้านพฤติกรรมการใช้บริการของผู้บริโภคที่มีผลต่อการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร 3) หาความสัมพันธ์ของส่วนประสมทางการตลาด ต่อการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร 4) หาแนวทางการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร
ผลการวิจัย พบว่า 1) ข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์อาหารซานตาเฟ่สเต็ก พบว่า ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษาผู้บริโภคอาหารร้านซานตาเฟ่ สเต๊ก มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ 44.5 ด้านอาชีพ คิดเป็นร้อยละ 53.2 ตำแหน่งงาน คิดเป็นร้อยละ 64.5 ซึ้งแสดงให้เห็นว่าปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจอาหารแฟรนไชส์อยู่ที่การศึกษา อาชีพ และตำแหน่งงานเป็นประเด็นสำคัญ 2) ข้อมูลพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารซานตาเฟ่สเต็กมารับประทานอาหารในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์มากที่สุด ผู้บริโภคอาหารร้านซานตาเฟ่ สเต๊ก ร้อยละ 58.7 มาใช้บริการในช่วงเวลา 13.00 -17.00 น. มากที่สุด ผู้บริโภคอาหารร้านซานตาเฟ่ สเต๊ก ร้อยละ 48.5 มาใช้บริการ 2-3 ครั้งต่อเดือน สาขาร้านซานตาเฟ่ สเต๊กที่กลุ่มศึกษานิยม ใช้บริการบ่อยที่สุด ได้แก่ อันดับหนึ่ง ร้อยละ 28.5 สาขาเดอะมอลล์บางกะปิ ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษาร้อยละ 37.3 ชอบทานเมนูสเต็กหมูมากที่สุด กลุ่มศึกษามีค่าใช้จ่ายในการรับประทานอาหารต่อครั้ง ร้อยละ 40.7 ต่ำกว่า 500 บาท มากที่สุด ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษาไปรับประทานอาหาร ร้อยละ 49.7 ไปทาน 2 คน ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษามีบุคคลที่ไปรับประทานอาหารด้วย ร้อยละ 38.2 ไปกับเพื่อนส่วนใหญ่ กลุ่มศึกษา มีจุดประสงค์ในการไปรับประทานอาหาร ร้อยละ 47.5 รับประทานปกติ/ไม่มีโอกาสพิเศษ ส่วนใหญ่ กลุ่มศึกษามีแหล่งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับร้าน ร้อยละ 39.7 เพื่อน/บอกต่อ ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษา ร้อยละ 39.0 พอใจ ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษา ร้อยละ 51.0 ตัดสินใจกลับมาใช้บริการซ้ำอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษาร้อยละ 60.2 แนะนำอยู่ในระดับปานกลาง 3) ข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารของธุรกิจแฟรนไชส์ ปรากฏว่ากลุ่มศึกษาใช้เหตุผลในการตัดสินใจที่เลือกร้านมากที่สุดร้อยละ 37.3 เพราะรสชาติดี ถูกใจ ระดับส่วนประสมทางการตลาดที่ทำให้ธุรกิจแฟรนไชส์ของร้านอาหาร ประสบความสำเร็จอยู่ในระดับค่อนข้างมาก ( = 3.07, SD = 0.72) ระดับความสำเร็จของธุรกิจธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหาร อยู่ในระดับค่อนข้างมาก ( = 3.09, SD = 0.67) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ด้านข้อมูลส่วนบุคคล พบว่ามีตัวแปรอิสระ 3 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ด้านข้อมูลพฤติกรรมการมาใช้บริการของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีตัวแปรอิสระ 6 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม และด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหารกลุ่ม ซานตาเฟ่ สเต็ก พบว่า แปรอิสระมีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหารกลุ่ม ซานตาเฟ่ สเต็ก ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบแปรปรวนในทางเดียว (One-way-Anova) พบว่า ชุดตัวแปรอิสระด้านข้อมูลส่วนบุคคลทั้งชุดสามารถอธิบายผลความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหารกลุ่ม ซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร ตัวแปรที่ดีที่สุดที่อธิบายตัวแปรตาม ความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหารกลุ่ม ซานตาเฟ่ สเต็ก คือ การศึกษา อาชีพ และตำแหน่งงานCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27885 SIU THE-T. การพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหาร: กรณีศึกษา ซานตาเฟ่สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร = Service Development of Franchise Restaurant: A Case of Santa Fe’ Steak in Bangkok [printed text] / รุ่งโรจน์ เจือสนิท, Author ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xi, 144 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]แฟรนไชส์Keywords: พฤติกรรมผู้บริโภค,
ส่วนประสมทางการตลาด,
ร้านอาหารแฟรนไชส์Abstract: การวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ในเชิงปริมาณ ในการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ ร้านอาหาร กรณีศึกษาซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาความสัมพันธ์การพัฒนางานบริการด้านปัจจัยส่วนบุคคลของลูกค้าต่อการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ ร้านอาหาร ซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) หาความสัมพันธ์การพัฒนางานบริการด้านพฤติกรรมการใช้บริการของผู้บริโภคที่มีผลต่อการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร 3) หาความสัมพันธ์ของส่วนประสมทางการตลาด ต่อการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร 4) หาแนวทางการพัฒนางานบริการในธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารที่มีความสัมพันธ์ต่อความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร
ผลการวิจัย พบว่า 1) ข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์อาหารซานตาเฟ่สเต็ก พบว่า ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษาผู้บริโภคอาหารร้านซานตาเฟ่ สเต๊ก มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ 44.5 ด้านอาชีพ คิดเป็นร้อยละ 53.2 ตำแหน่งงาน คิดเป็นร้อยละ 64.5 ซึ้งแสดงให้เห็นว่าปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจอาหารแฟรนไชส์อยู่ที่การศึกษา อาชีพ และตำแหน่งงานเป็นประเด็นสำคัญ 2) ข้อมูลพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารซานตาเฟ่สเต็กมารับประทานอาหารในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์มากที่สุด ผู้บริโภคอาหารร้านซานตาเฟ่ สเต๊ก ร้อยละ 58.7 มาใช้บริการในช่วงเวลา 13.00 -17.00 น. มากที่สุด ผู้บริโภคอาหารร้านซานตาเฟ่ สเต๊ก ร้อยละ 48.5 มาใช้บริการ 2-3 ครั้งต่อเดือน สาขาร้านซานตาเฟ่ สเต๊กที่กลุ่มศึกษานิยม ใช้บริการบ่อยที่สุด ได้แก่ อันดับหนึ่ง ร้อยละ 28.5 สาขาเดอะมอลล์บางกะปิ ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษาร้อยละ 37.3 ชอบทานเมนูสเต็กหมูมากที่สุด กลุ่มศึกษามีค่าใช้จ่ายในการรับประทานอาหารต่อครั้ง ร้อยละ 40.7 ต่ำกว่า 500 บาท มากที่สุด ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษาไปรับประทานอาหาร ร้อยละ 49.7 ไปทาน 2 คน ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษามีบุคคลที่ไปรับประทานอาหารด้วย ร้อยละ 38.2 ไปกับเพื่อนส่วนใหญ่ กลุ่มศึกษา มีจุดประสงค์ในการไปรับประทานอาหาร ร้อยละ 47.5 รับประทานปกติ/ไม่มีโอกาสพิเศษ ส่วนใหญ่ กลุ่มศึกษามีแหล่งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับร้าน ร้อยละ 39.7 เพื่อน/บอกต่อ ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษา ร้อยละ 39.0 พอใจ ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษา ร้อยละ 51.0 ตัดสินใจกลับมาใช้บริการซ้ำอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่กลุ่มศึกษาร้อยละ 60.2 แนะนำอยู่ในระดับปานกลาง 3) ข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารของธุรกิจแฟรนไชส์ ปรากฏว่ากลุ่มศึกษาใช้เหตุผลในการตัดสินใจที่เลือกร้านมากที่สุดร้อยละ 37.3 เพราะรสชาติดี ถูกใจ ระดับส่วนประสมทางการตลาดที่ทำให้ธุรกิจแฟรนไชส์ของร้านอาหาร ประสบความสำเร็จอยู่ในระดับค่อนข้างมาก ( = 3.07, SD = 0.72) ระดับความสำเร็จของธุรกิจธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหาร อยู่ในระดับค่อนข้างมาก ( = 3.09, SD = 0.67) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ด้านข้อมูลส่วนบุคคล พบว่ามีตัวแปรอิสระ 3 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ด้านข้อมูลพฤติกรรมการมาใช้บริการของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีตัวแปรอิสระ 6 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม และด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหารกลุ่ม ซานตาเฟ่ สเต็ก พบว่า แปรอิสระมีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหารกลุ่ม ซานตาเฟ่ สเต็ก ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบแปรปรวนในทางเดียว (One-way-Anova) พบว่า ชุดตัวแปรอิสระด้านข้อมูลส่วนบุคคลทั้งชุดสามารถอธิบายผลความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหารกลุ่ม ซานตาเฟ่ สเต็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร ตัวแปรที่ดีที่สุดที่อธิบายตัวแปรตาม ความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ ของร้านอาหารกลุ่ม ซานตาเฟ่ สเต็ก คือ การศึกษา อาชีพ และตำแหน่งงานCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27885 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598837 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598860 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย / พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย Original title : Positive Behavior Developing of Members in Institute of Technological College: Case Study of Pathumwan Institute of Technology and Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Uthenthawai Campus Material Type: printed text Authors: พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 162 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักเรียนอาชีวศึกษา
[LCSH]พฤติกรรมKeywords: พฤติกรรมเชิงบวก,
มหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย,
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกนักเรียนอาชีวศึกษาทั้งชาย และหญิง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย ที่เป็นตัวแทนที่ดีของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อศึกษาความสำคัญถึงเหตุจำเป็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การกำหนดนโยบายสาธารณะสำหรับใช้แก้ไขปัญหานักเรียนอาชีวศึกษา งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นศิษย์เก่า อาจารย์ประจำ และผู้ปกครองของนักศึกษาของทั้ง 2 สถาบัน รวมผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 76 คน เครื่องมือ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่าสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจนนำไปสู่สาเหตุของการทะเลาะวิวาทกันของทั้ง 2 สถาบัน ได้แก่ 1) ค่านิยมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการรับน้องของรุ่นพี่ 2) ความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น และค่านิยมที่ผิด ๆ ที่ได้รับจากรุ่นพี่ 3) เกิดจากการยั่วยุจากฝ่ายตรงข้าม 4) เกิดจากการใช้สารเสพติดทำให้ขาดการยั้งคิด 5) เพราะคุณภาพการเรียน การสอนของสถาบันไม่มีคุณภาพพอ 6 ) เพราะความรักสถาบันของตัวเองไม่ยอมให้ใครมาลบลู่ 7) เพราะสีเสื้อ และเครื่องหมายของสถาบันที่ต่างกัน การวิจัยยังค้นพบว่าควรขอเสนอให้รวมทั้งสองสถาบันอาชีวศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อหลอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับระบบการบริหารงานใหม่ที่รวมตัวเป็นหนึ่งCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27236 SIU THE-T. การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย = Positive Behavior Developing of Members in Institute of Technological College: Case Study of Pathumwan Institute of Technology and Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Uthenthawai Campus [printed text] / พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 162 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักเรียนอาชีวศึกษา
[LCSH]พฤติกรรมKeywords: พฤติกรรมเชิงบวก,
มหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย,
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกนักเรียนอาชีวศึกษาทั้งชาย และหญิง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย ที่เป็นตัวแทนที่ดีของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อศึกษาความสำคัญถึงเหตุจำเป็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การกำหนดนโยบายสาธารณะสำหรับใช้แก้ไขปัญหานักเรียนอาชีวศึกษา งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นศิษย์เก่า อาจารย์ประจำ และผู้ปกครองของนักศึกษาของทั้ง 2 สถาบัน รวมผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 76 คน เครื่องมือ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่าสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจนนำไปสู่สาเหตุของการทะเลาะวิวาทกันของทั้ง 2 สถาบัน ได้แก่ 1) ค่านิยมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการรับน้องของรุ่นพี่ 2) ความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น และค่านิยมที่ผิด ๆ ที่ได้รับจากรุ่นพี่ 3) เกิดจากการยั่วยุจากฝ่ายตรงข้าม 4) เกิดจากการใช้สารเสพติดทำให้ขาดการยั้งคิด 5) เพราะคุณภาพการเรียน การสอนของสถาบันไม่มีคุณภาพพอ 6 ) เพราะความรักสถาบันของตัวเองไม่ยอมให้ใครมาลบลู่ 7) เพราะสีเสื้อ และเครื่องหมายของสถาบันที่ต่างกัน การวิจัยยังค้นพบว่าควรขอเสนอให้รวมทั้งสองสถาบันอาชีวศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อหลอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับระบบการบริหารงานใหม่ที่รวมตัวเป็นหนึ่งCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27236 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594794 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594802 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาพฤติกรรมที่มีผลต่อการป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 2 / อนันต์ อนุสรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาพฤติกรรมที่มีผลต่อการป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 2 Original title : A Study on Behaviors that Impact Drug Abuse Prevention at the High School Levels 1-3 for Tha Chana District, Surat Thani Primary Educational Service Area 2 Material Type: printed text Authors: อนันต์ อนุสรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 102 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Drug abuse
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน
[LCSH]โรงเรียน -- สุราษฎร์ธานี -- เขตKeywords: พฤติกรรมการป้องกันยาเสพติด Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาพฤติกรรมที่มีผลต่อการป้องกันยาเสพติดในโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ที่อำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 2 และเพื่อเปรียบเทียบการศึกษาพฤติกรรมที่ส่งผลต่อการป้องกัน ยาเสพติดในโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ในพื้นที่อำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26101 SIU IS-T. การศึกษาพฤติกรรมที่มีผลต่อการป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 อำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 2 = A Study on Behaviors that Impact Drug Abuse Prevention at the High School Levels 1-3 for Tha Chana District, Surat Thani Primary Educational Service Area 2 [printed text] / อนันต์ อนุสรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 102 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Drug abuse
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน
[LCSH]โรงเรียน -- สุราษฎร์ธานี -- เขตKeywords: พฤติกรรมการป้องกันยาเสพติด Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาพฤติกรรมที่มีผลต่อการป้องกันยาเสพติดในโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ที่อำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 2 และเพื่อเปรียบเทียบการศึกษาพฤติกรรมที่ส่งผลต่อการป้องกัน ยาเสพติดในโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ในพื้นที่อำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26101 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590172 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-19 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590156 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-19 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร / อังคณา สุระอารีย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร Original title : Understanding the Violation of Privacy Right of Working People in Bangkok Metropolis using Social Networks: The Case of Facebook Material Type: printed text Authors: อังคณา สุระอารีย์, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 57 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ละเมิด
[LCSH]สิทธิส่วนบุคคล
[LCSH]เฟซบุ๊คKeywords: การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, พฤติกรรมการใช้ Facebook, วัยทำงาน Abstract: Facebook เป็นเครือข่ายสังคม online ที่นิยมสูงสุดทั่วโลกโดยมีลักษณะการใช้เป็นการ post ข้อความ upload รูปภาพหรือ VDO ต่าง ๆ ที่เป็นของตนเองและบุคคลอื่น การถ่ายทอดสด (Live) รวมถึงการ share ข้อมูล รูปภาพหรือ VDO ของผู้ใช้ Facebook รายอื่น ๆ ด้วยลักษณะการใช้งานดังกล่าว ที่อาจจะทำให้เกิดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และส่งผลกระทบต่อผู้ละเมิดและถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรวัยทำงานของ
ผู้ใช้ Facebook ด้านความเข้าใจสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลวัยทำงานผู้ใช้ Facebook ที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลด้วยการสื่อสารผ่านทาง Facebook ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้ Facebook ของบุคคลวัยทำงานกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความเข้าใจเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลวัยทำงานต่อการใช้ Facebook ในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครผู้ใช้ Facebook จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Coefficients) เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ ANOVA เมื่อพบค่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ด้านลักษณะประชากรระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook และด้านเนื้อหาที่ใช้ เรื่องที่ post แตกต่างกัน มีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook โดยผู้วิจัยได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างวัยทำงานเฉพาะในกรุงเทพมหานครเท่านั้น จึงควรเพิ่มการวิจัยในกลุ่มประชากรกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากการใช้งาน Facebook มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในทุก ๆ วัยCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27604 SIU THE-T. ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร = Understanding the Violation of Privacy Right of Working People in Bangkok Metropolis using Social Networks: The Case of Facebook [printed text] / อังคณา สุระอารีย์, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 57 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ละเมิด
[LCSH]สิทธิส่วนบุคคล
[LCSH]เฟซบุ๊คKeywords: การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, พฤติกรรมการใช้ Facebook, วัยทำงาน Abstract: Facebook เป็นเครือข่ายสังคม online ที่นิยมสูงสุดทั่วโลกโดยมีลักษณะการใช้เป็นการ post ข้อความ upload รูปภาพหรือ VDO ต่าง ๆ ที่เป็นของตนเองและบุคคลอื่น การถ่ายทอดสด (Live) รวมถึงการ share ข้อมูล รูปภาพหรือ VDO ของผู้ใช้ Facebook รายอื่น ๆ ด้วยลักษณะการใช้งานดังกล่าว ที่อาจจะทำให้เกิดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และส่งผลกระทบต่อผู้ละเมิดและถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรวัยทำงานของ
ผู้ใช้ Facebook ด้านความเข้าใจสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลวัยทำงานผู้ใช้ Facebook ที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลด้วยการสื่อสารผ่านทาง Facebook ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้ Facebook ของบุคคลวัยทำงานกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความเข้าใจเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลวัยทำงานต่อการใช้ Facebook ในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครผู้ใช้ Facebook จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Coefficients) เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ ANOVA เมื่อพบค่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ด้านลักษณะประชากรระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook และด้านเนื้อหาที่ใช้ เรื่องที่ post แตกต่างกัน มีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook โดยผู้วิจัยได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างวัยทำงานเฉพาะในกรุงเทพมหานครเท่านั้น จึงควรเพิ่มการวิจัยในกลุ่มประชากรกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากการใช้งาน Facebook มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในทุก ๆ วัยCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27604 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596880 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596872 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 / จามร รัตนพงศ์บวร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 Original title : (Factors Leading to Drug Usage by Persons Committed for Identification Detained at the Facility for Identification of Area 13, Klong Prem Central Prison) Material Type: printed text Authors: จามร รัตนพงศ์บวร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 66 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด
[LCSH]เรือนจำกลางคลองเปรมKeywords: ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์,
สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์,
การเสพยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการ
ตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 ซึ่งจะได้นำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงนโยบาย
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยใช้วิธีการวิจัยสนาม ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะจง
ในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งใช้คำถามแบบเดียวกันกับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 เกิดจากการปัจจัยที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. ตัวผู้เสพยาเสพติด 2. สถาบันครอบครัว 3. สังคมและสิ่งแวดล้อม และ 4. ภาครัฐ
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพยาติด คือ ทุกภาคส่วนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพติด เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดและบทลงโทษของกฎหมาย การให้โอกาสผู้เสพยาเสพติดกลับตัวกลับใจเลิกเสพยาเสพติด ตลอดจนภาครัฐควรจัดให้มีหน่วยงานในการบำบัดรักษาผู้เสพ/ติดยาเสพติดเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดอย่างแท้จริงCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26892 SIU IS-T. ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 = (Factors Leading to Drug Usage by Persons Committed for Identification Detained at the Facility for Identification of Area 13, Klong Prem Central Prison) [printed text] / จามร รัตนพงศ์บวร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 66 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด
[LCSH]เรือนจำกลางคลองเปรมKeywords: ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์,
สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์,
การเสพยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการ
ตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 ซึ่งจะได้นำมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงนโยบาย
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยใช้วิธีการวิจัยสนาม ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะจง
ในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งใช้คำถามแบบเดียวกันกับผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคน ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเสพยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ซึ่งถูกควบคุมตัว ณ สถานที่เพื่อการควบคุมตัวและสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจำกลางคลองเปรม แดน 13 เกิดจากการปัจจัยที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1. ตัวผู้เสพยาเสพติด 2. สถาบันครอบครัว 3. สังคมและสิ่งแวดล้อม และ 4. ภาครัฐ
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพยาติด คือ ทุกภาคส่วนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเสพยาเสพติด เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดและบทลงโทษของกฎหมาย การให้โอกาสผู้เสพยาเสพติดกลับตัวกลับใจเลิกเสพยาเสพติด ตลอดจนภาครัฐควรจัดให้มีหน่วยงานในการบำบัดรักษาผู้เสพ/ติดยาเสพติดเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดอย่างแท้จริงCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26892 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593697 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593705 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-12 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท / อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท Original title : Factors Affecting the Selection of Mobile Networks of People in Bangkok Metropolis Case Study: Areas of Phayathai District Material Type: printed text Authors: อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 71 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พฤติกรรมผู้ใช้บริการKeywords: เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่,
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่,
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ของประชาชนที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนกับการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร เขตพญาไท จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (One-way analysis of variance – ANOVA) และเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ Scheffe ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-24 ปี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่มีจำนวนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้งาน 1 เครือข่าย เป็นระบบรายเดือน (Postpaid) เครือข่าย AIS และไม่เคยเปลี่ยนเครือข่ายการใช้งาน ปัจจัยที่ทำให้มีแนวโน้มการเปลี่ยนเครือข่าย คือ ประสิทธิภาพเครือข่ายที่ดีกว่า โดยระยะเวลาในการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ยต่อวัน มากกว่า 4 ชั่วโมง ใช้งานในช่วงเวลา 16.01 – 21.00 น. ค่าใช้บริการเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 501 – 1,000 บาท กิจกรรมที่ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้งานสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ คือตนเอง ส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถเรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิภาพสัญญาณ รองลงมา คือ ด้านความสะดวกและการให้บริการ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านภาพลักษณ์ของเครือข่ายผู้ให้บริการ ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27449 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท = Factors Affecting the Selection of Mobile Networks of People in Bangkok Metropolis Case Study: Areas of Phayathai District [printed text] / อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 71 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พฤติกรรมผู้ใช้บริการKeywords: เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่,
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่,
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ของประชาชนที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนกับการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร เขตพญาไท จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (One-way analysis of variance – ANOVA) และเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ Scheffe ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-24 ปี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่มีจำนวนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้งาน 1 เครือข่าย เป็นระบบรายเดือน (Postpaid) เครือข่าย AIS และไม่เคยเปลี่ยนเครือข่ายการใช้งาน ปัจจัยที่ทำให้มีแนวโน้มการเปลี่ยนเครือข่าย คือ ประสิทธิภาพเครือข่ายที่ดีกว่า โดยระยะเวลาในการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ยต่อวัน มากกว่า 4 ชั่วโมง ใช้งานในช่วงเวลา 16.01 – 21.00 น. ค่าใช้บริการเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 501 – 1,000 บาท กิจกรรมที่ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้งานสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ คือตนเอง ส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถเรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิภาพสัญญาณ รองลงมา คือ ด้านความสะดวกและการให้บริการ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านภาพลักษณ์ของเครือข่ายผู้ให้บริการ ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27449 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595817 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595825 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available