From this page you can:
Home |
Search results
57 result(s) search for keyword(s) 'ผู้สูงอายุ. สุขภาพอนามัย. วิจัย.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
รูปแบบการจัดกีฬาเพื่อสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ / อารยา ถาวรสวัสดิ์ / 2556
Title : รูปแบบการจัดกีฬาเพื่อสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ : รายงานการวิจัยเรื่อง Material Type: printed text Authors: อารยา ถาวรสวัสดิ์, Author ; กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, Author Publication Date: 2556 Pagination: 234 หน้า Layout: ภาพประกอบสี. Size: 26 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ไทย -- วิจัยKeywords: ผู้สูงอายุ.
สุขภาพอนามัย.
วิจัย.Class number: WT100 อ653 2556 Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. หารูปแบบและแนวทางการจัดกีฬาเพื่อสขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่เหมาะสม 2. ศึกษาบทบาทของกรมพลศึกษาในการจัดกีฬาสำหรับผู้สูงอายุไทย ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ วิธีการศึกษาใช้เทคนิคเดลฟาย วิธีนี้เป็นการคาดการณ์ผลลัพธ์จากผลการรวบรวมคำตอบแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้านกีฬา และสุขภาพของผู้สูงอายุ 25 คน ส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 รอบ รวบรวมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญโดยผู้เชี่ยวชาญไม่เผชิญหน้ากัน การตอบแบบสอบถามแต่ละรอบผู้เชี่ยวชาญสามารถปรับคำตอบได้ จนได้ผลคำตอบของกลุ่มที่สอดคล้องกัน ใช้สถิติมัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ในการประมวลผลหาความสอดคล้องกัน
ผลการศึกษา 1. การจัดกีฬาสำหรับผู้สูงอายุ กำหนดนิยามกีฬาผู้สูงอายุ คือ กิจกรรมการเคลื่อนไหวในลักษระการเล่น การออกกำลังกายภายใต้ กฎ กติกา อย่างเป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อพัฒนาสุขภาพทางกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม ที่เหมาะสมกับวัยให้ผู้สูงอายุ กำหนดเกณฑ์อายุที่ 60 ปี ขึ้นไป รูปแบบการจัดกีฬาผู้สูงอายุมี 2 รุปแบบ คือ การจัดกีฬาเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ และการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อการแข่งขัน โดยการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อการแข่งขันเป็นการประเมินสภาวะร่างกายที่มีการพัฒนาความสนุกสนาน และผ่อนคลายความเครียด หลักการการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อสุขภาพ เพื่อฟูความแข็งแรงระบบต่าง ๆ ในร่างกาย (ระบบหัวใจและไหลเวียนโลหิต ระบบความแข็งแรงกล้ามเนื้อ และระบบความยืดหยุ่น) และจัดชนิดกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายผู้สูงอายุและสามารถควบคุมความหนักเบาได้Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23941 รูปแบบการจัดกีฬาเพื่อสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ : รายงานการวิจัยเรื่อง [printed text] / อารยา ถาวรสวัสดิ์, Author ; กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, Author . - 2556 . - 234 หน้า : ภาพประกอบสี. ; 26 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ไทย -- วิจัยKeywords: ผู้สูงอายุ.
สุขภาพอนามัย.
วิจัย.Class number: WT100 อ653 2556 Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. หารูปแบบและแนวทางการจัดกีฬาเพื่อสขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่เหมาะสม 2. ศึกษาบทบาทของกรมพลศึกษาในการจัดกีฬาสำหรับผู้สูงอายุไทย ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ วิธีการศึกษาใช้เทคนิคเดลฟาย วิธีนี้เป็นการคาดการณ์ผลลัพธ์จากผลการรวบรวมคำตอบแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้านกีฬา และสุขภาพของผู้สูงอายุ 25 คน ส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 รอบ รวบรวมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญโดยผู้เชี่ยวชาญไม่เผชิญหน้ากัน การตอบแบบสอบถามแต่ละรอบผู้เชี่ยวชาญสามารถปรับคำตอบได้ จนได้ผลคำตอบของกลุ่มที่สอดคล้องกัน ใช้สถิติมัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ในการประมวลผลหาความสอดคล้องกัน
ผลการศึกษา 1. การจัดกีฬาสำหรับผู้สูงอายุ กำหนดนิยามกีฬาผู้สูงอายุ คือ กิจกรรมการเคลื่อนไหวในลักษระการเล่น การออกกำลังกายภายใต้ กฎ กติกา อย่างเป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อพัฒนาสุขภาพทางกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม ที่เหมาะสมกับวัยให้ผู้สูงอายุ กำหนดเกณฑ์อายุที่ 60 ปี ขึ้นไป รูปแบบการจัดกีฬาผู้สูงอายุมี 2 รุปแบบ คือ การจัดกีฬาเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ และการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อการแข่งขัน โดยการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อการแข่งขันเป็นการประเมินสภาวะร่างกายที่มีการพัฒนาความสนุกสนาน และผ่อนคลายความเครียด หลักการการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อสุขภาพ เพื่อฟูความแข็งแรงระบบต่าง ๆ ในร่างกาย (ระบบหัวใจและไหลเวียนโลหิต ระบบความแข็งแรงกล้ามเนื้อ และระบบความยืดหยุ่น) และจัดชนิดกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายผู้สูงอายุและสามารถควบคุมความหนักเบาได้Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000398618 WT100 อ653 2556 Book Main Library General Shelf Available การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว / สำนักส่งเสริมสุขภาพ / กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก - 2554
Title : การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว Material Type: printed text Authors: สำนักส่งเสริมสุขภาพ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก Publication Date: 2554 Pagination: 102 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-110245-6 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การดูแลสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: ผู้สูงอายุ, สุขภาพและอนามัย, การส่งเสริมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ Class number: WT100 ก451 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28092 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว [printed text] / สำนักส่งเสริมสุขภาพ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2554 . - 102 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-110245-6 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การดูแลสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: ผู้สูงอายุ, สุขภาพและอนามัย, การส่งเสริมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ Class number: WT100 ก451 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28092 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607346 WT100 ก451 2554 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000607347 WT100 ก451 2554 c.2 Book Main Library Library Counter Available คู่มือการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ: สำหรับบุคลากรสาธารณสุข / กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข / นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข - 2554
Title : คู่มือการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ: สำหรับบุคลากรสาธารณสุข Material Type: printed text Authors: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2554 Pagination: 220 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-515-663-0 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ Keywords: การส่งเสริมสุขภาพ, ผู้สูงอายุ Class number: WT100 ก451ค 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28095 คู่มือการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ: สำหรับบุคลากรสาธารณสุข [printed text] / กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข, 2554 . - 220 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-515-663-0 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ Keywords: การส่งเสริมสุขภาพ, ผู้สูงอายุ Class number: WT100 ก451ค 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28095 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607345 WT100 ก451ค 2554 Book Main Library Library Counter Available ตำราพื้นฐานวิชาชีพการแพทย์แผนไทย เล่ม 3: หลักการวิจัยเบื้องต้นพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน / ยงศักดิ์ ตันติปิฎก / นนทบุรี: กลุ่มงานวิชาการเภสัชกรรมแผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย - 2561
Title : ตำราพื้นฐานวิชาชีพการแพทย์แผนไทย เล่ม 3: หลักการวิจัยเบื้องต้นพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน Material Type: printed text Authors: ยงศักดิ์ ตันติปิฎก, Author ; รวงทิพย์ ตันติปิฎก, Author Publisher: นนทบุรี: กลุ่มงานวิชาการเภสัชกรรมแผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย Publication Date: 2561 Pagination: 128 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 29.2 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-113511-9 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การแพทย์แผนไทย -- ตำรา
[LCSH]พฤกษศาสตร์Keywords: การแพทย์แผนไทย,
วิจัยทางการแพทย์แผนไทย
พฤกษศาสตร์Class number: WB50 ย128ต 2561 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28065 ตำราพื้นฐานวิชาชีพการแพทย์แผนไทย เล่ม 3: หลักการวิจัยเบื้องต้นพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน [printed text] / ยงศักดิ์ ตันติปิฎก, Author ; รวงทิพย์ ตันติปิฎก, Author . - [S.l.] : นนทบุรี: กลุ่มงานวิชาการเภสัชกรรมแผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย, 2561 . - 128 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 29.2 ซม.
ISBN : 978-6-16-113511-9
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การแพทย์แผนไทย -- ตำรา
[LCSH]พฤกษศาสตร์Keywords: การแพทย์แผนไทย,
วิจัยทางการแพทย์แผนไทย
พฤกษศาสตร์Class number: WB50 ย128ต 2561 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28065 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607352 WB50 ย128ต 2561 v.3 Book Main Library Nursing Shelf Available เวท่ีเรียนรู้เครือข่ายอำเภอเพื่อดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 2557 : กรุงเทพมหานคร / สุพัตรา ศรีวณิชชากร / สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน - 2557
Title : เวท่ีเรียนรู้เครือข่ายอำเภอเพื่อดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 2557 : กรุงเทพมหานคร Material Type: printed text Authors: สุพัตรา ศรีวณิชชากร, Editor ; สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน Publication Date: 2557 Pagination: 152 หน้า Layout: ภาพประกอบ. Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-112116-7 Price: บริจาค. General note: ระหว่างวันที่ 20-21 มีนาคม 2557 ณ. ห้องแกรนด์บอลรูม โรงเรียนเซ็นจูรี่พาร์ค กรุงเทพมหานคร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ในวัยชรา
[LCSH]บริการทางการแพทย์
[LCSH]ผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ--การดูแลKeywords: ผู้สูงอายุ
วัยชรา.Class number: WT100 ว899 2557 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23929 เวท่ีเรียนรู้เครือข่ายอำเภอเพื่อดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 2557 : กรุงเทพมหานคร [printed text] / สุพัตรา ศรีวณิชชากร, Editor ; สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - [S.l.] : สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2557 . - 152 หน้า : ภาพประกอบ. ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-112116-7 : บริจาค.
ระหว่างวันที่ 20-21 มีนาคม 2557 ณ. ห้องแกรนด์บอลรูม โรงเรียนเซ็นจูรี่พาร์ค กรุงเทพมหานคร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ในวัยชรา
[LCSH]บริการทางการแพทย์
[LCSH]ผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ--การดูแลKeywords: ผู้สูงอายุ
วัยชรา.Class number: WT100 ว899 2557 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23929 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000398600 WT100 ว899 2557 Book Main Library Nursing Shelf Available Old book collection. การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เล่ม 3 / คณาจารย์สถาบันพระบรมราชชนก / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข - 2552
Collection Title: Old book collection Title : การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เล่ม 3 Material Type: printed text Authors: คณาจารย์สถาบันพระบรมราชชนก, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 8. (ปรับปรุงครั้งที่ 1) Publisher: นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2552 Pagination: 394 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-974-291-153-3 Price: 150.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ในวัยชรา
[LCSH]การพยาบาล -- ในวัยผู้ใหญ่
[LCSH]การพยาบาลผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ--การดูแลKeywords: ผู้สูงอายุ.
การดูแล.
การพยาบาล.Contents note: บทที่ 1: การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบผิวหนัง.-- บทที่ 2: การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางระบบสืบพันธุ์.--บทที่ 3: การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตผิดปกติของเซลล์.-- บทที่ 4: การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคติดต่อ.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23782 Old book collection. การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เล่ม 3 [printed text] / คณาจารย์สถาบันพระบรมราชชนก, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 8. (ปรับปรุงครั้งที่ 1) . - นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข, 2552 . - 394 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 26 ซม.
ISSN : 978-974-291-153-3 : 150.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ในวัยชรา
[LCSH]การพยาบาล -- ในวัยผู้ใหญ่
[LCSH]การพยาบาลผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ--การดูแลKeywords: ผู้สูงอายุ.
การดูแล.
การพยาบาล.Contents note: บทที่ 1: การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบผิวหนัง.-- บทที่ 2: การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางระบบสืบพันธุ์.--บทที่ 3: การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตผิดปกติของเซลล์.-- บทที่ 4: การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคติดต่อ.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23782 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000393874 RC954 ก492พ 2553 v.3 c.1 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000319747 RC954 ก492พ 2553 v.3 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000319796 RC954 ก492พ 2553 v.3 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000319176 RC954 ก492พ 2553 v.3 c.4 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ / รศรินทร์ เกรย์ / นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - 2556
Collection Title: Old book collection Title : ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ Original title : Happiness in Phang-nga Phuket and Baan Nam Khem after Tsunami Material Type: printed text Authors: รศรินทร์ เกรย์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2556 Pagination: 108 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี Size: 25 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279398-1 Price: บริจาค. General note: โครงการ "รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี" ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิด สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดำเนินชีวิต
[LCSH]ความสุข -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สึนามิ -- ไทย (ภาคใต้)
[LCSH]สุขภาพจิตKeywords: สุขภาพจิต.
การดำเนินชีวิต.
สึนามิ.
ภูเก็ต.
พังงา.
บ้านน้ำเค็ม.
วิจัย.Class number: WM270 ร787 2556 Contents note: บทนำ.-- Executive summary.-- ข้อมูลพื้นฐานของพัีงงาและภูเก็ต. -- ข้อค้นพบความสุขจากพื้นที่...พังงาและภูเก็ต.-- บ้านน้ำเค็มแห่งความสุข...การมีจิตอาสาภายหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23318 Old book collection. ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ = Happiness in Phang-nga Phuket and Baan Nam Khem after Tsunami [printed text] / รศรินทร์ เกรย์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556 . - 108 หน้า. : ภาพประกอบสี ; 25 ซม.
ISBN : 978-6-16-279398-1 : บริจาค.
โครงการ "รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี" ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิด สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดำเนินชีวิต
[LCSH]ความสุข -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สึนามิ -- ไทย (ภาคใต้)
[LCSH]สุขภาพจิตKeywords: สุขภาพจิต.
การดำเนินชีวิต.
สึนามิ.
ภูเก็ต.
พังงา.
บ้านน้ำเค็ม.
วิจัย.Class number: WM270 ร787 2556 Contents note: บทนำ.-- Executive summary.-- ข้อมูลพื้นฐานของพัีงงาและภูเก็ต. -- ข้อค้นพบความสุขจากพื้นที่...พังงาและภูเก็ต.-- บ้านน้ำเค็มแห่งความสุข...การมีจิตอาสาภายหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23318 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356111 WM270 ร787 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000356129 WM270 ร787 2556 c.2 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. วิจัยจากงานประจำ เรียนแบบทีละขั้น / ศิริพร จิรวัฒน์กุล / กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์ - 2555
Collection Title: Old book collection Title : วิจัยจากงานประจำ เรียนแบบทีละขั้น Original title : R to R step by step Material Type: printed text Authors: ศิริพร จิรวัฒน์กุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์ Publication Date: 2555 Pagination: 156 หน้า. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-713623-3 Price: 110.00 General note: over 10 year Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การแพทย์ -- วิจัย
[LCSH]วิจัย
[LCSH]วิจัย -- การเขียน
[LCSH]วิจัยปฎิบัติการKeywords: การเขียนรายงาน.
วิจัยปฏิบัิติการ.
วิจัย.Class number: W20.5 ศ463 2555 Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23405 Old book collection. วิจัยจากงานประจำ เรียนแบบทีละขั้น = R to R step by step [printed text] / ศิริพร จิรวัฒน์กุล, Author . - กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2555 . - 156 หน้า. ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-713623-3 : 110.00
over 10 year
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การแพทย์ -- วิจัย
[LCSH]วิจัย
[LCSH]วิจัย -- การเขียน
[LCSH]วิจัยปฎิบัติการKeywords: การเขียนรายงาน.
วิจัยปฏิบัิติการ.
วิจัย.Class number: W20.5 ศ463 2555 Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23405 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000388379 W20.5 ศ463 2555 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000388403 W20.5 ศ463 2555 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000388411 W20.5 ศ463 2555 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000388429 W20.5 ศ463 2555 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000388387 W20.5 ศ463 2555 c.5 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน / มณฑิรา ชุนลิ้ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน Original title : Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University Material Type: printed text Authors: มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 156 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน = Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University [printed text] / มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 156 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596708 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596690 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง / นริดา อินนาค
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง Original title : Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province Material Type: printed text Authors: นริดา อินนาค, Author Pagination: xi, 154 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง = Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province [printed text] / นริดา อินนาค, Author . - [s.d.] . - xi, 154 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. ความสำเร็จของกลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงอายุ / ปกรณ์เกียรติ จันทรกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสำเร็จของกลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงอายุ Original title : Successful Marketing Strategy for Senior Home Services Material Type: printed text Authors: ปกรณ์เกียรติ จันทรกุล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 136 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตลาดบริการ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัยKeywords: กลยุทธ์,
การตลาด,
ความสำเร็จ,
บริการ,
ที่พัก,
ผู้สูงอายุAbstract: การวิจัยนี้มีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การดำเนินธุรกิจของการให้บริการบ้านพักผู้สูงวัยในประเทศไทย และศึกษาความต้องการที่แท้จริงของผู้สูงวัยที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดของผู้ประกอบการบ้านพักสำหรับผู้สูงวัย เป็นวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป ที่เป็นผู้ที่ใช้บริการบ้านพักผู้สูงวัยอยู่ในปัจจุบันจำนวน 400 คน ใช้สถิติเชิงพรรณา ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและความเห็นต่าง ๆ และใช้การวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวนทางเดียว ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ระหว่าง 55 - 60 ปี มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 30,001 - 40,000 บาท ราคาค่าบริการเดือนละ 15,001 - 20,000 บาทต่อเดือนและเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง ส่วนปัจจัยที่ทำให้เลือกบ้านพักคือความสะดวกในการเดินทาง ค่าบริการเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพห้องพักที่ได้รับ บ้านพักมีช่องทางการจัดจำหน่ายหลายช่องทาง มีโครงการให้รางวัลหากท่านสามารถแนะนำลูกค้าใหม่ มีบริการร้านขายของ ศูนย์อาหาร ร้านซักรีด และอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ผู้สูงวัยยังให้ความสำคัญกับบุคลากรที่ทำงานในบ้านพัก การจัดให้มีอุปกรณ์สำหรับช่วยในการเดิน ในการนี้ผู้สูงวัยมีความประทับใจในบริการที่ได้รับด้านสถานที่ตั้งและห้องพัก และยืนยันที่จะใช้บริการที่พักอาศัยในปัจจุบันอีกต่อไป สำหรับผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่ากลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงวัยมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของการตลาดบริการของการประกอบกิจการ และพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการกับความภักดี โดยหากมีโอกาสจะแนะนำบุคคลที่รู้จักมาใช้บริการพักอาศัยผู้สูงวัยที่ใช้บริการอยู่ในปัจจุบันCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27235 SIU THE-T. ความสำเร็จของกลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงอายุ = Successful Marketing Strategy for Senior Home Services [printed text] / ปกรณ์เกียรติ จันทรกุล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 136 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตลาดบริการ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัยKeywords: กลยุทธ์,
การตลาด,
ความสำเร็จ,
บริการ,
ที่พัก,
ผู้สูงอายุAbstract: การวิจัยนี้มีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การดำเนินธุรกิจของการให้บริการบ้านพักผู้สูงวัยในประเทศไทย และศึกษาความต้องการที่แท้จริงของผู้สูงวัยที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดของผู้ประกอบการบ้านพักสำหรับผู้สูงวัย เป็นวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป ที่เป็นผู้ที่ใช้บริการบ้านพักผู้สูงวัยอยู่ในปัจจุบันจำนวน 400 คน ใช้สถิติเชิงพรรณา ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและความเห็นต่าง ๆ และใช้การวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวนทางเดียว ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ระหว่าง 55 - 60 ปี มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 30,001 - 40,000 บาท ราคาค่าบริการเดือนละ 15,001 - 20,000 บาทต่อเดือนและเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง ส่วนปัจจัยที่ทำให้เลือกบ้านพักคือความสะดวกในการเดินทาง ค่าบริการเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพห้องพักที่ได้รับ บ้านพักมีช่องทางการจัดจำหน่ายหลายช่องทาง มีโครงการให้รางวัลหากท่านสามารถแนะนำลูกค้าใหม่ มีบริการร้านขายของ ศูนย์อาหาร ร้านซักรีด และอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ผู้สูงวัยยังให้ความสำคัญกับบุคลากรที่ทำงานในบ้านพัก การจัดให้มีอุปกรณ์สำหรับช่วยในการเดิน ในการนี้ผู้สูงวัยมีความประทับใจในบริการที่ได้รับด้านสถานที่ตั้งและห้องพัก และยืนยันที่จะใช้บริการที่พักอาศัยในปัจจุบันอีกต่อไป สำหรับผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่ากลยุทธ์การตลาดบริการของสถานบริการที่พักผู้สูงวัยมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของการตลาดบริการของการประกอบกิจการ และพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการกับความภักดี โดยหากมีโอกาสจะแนะนำบุคคลที่รู้จักมาใช้บริการพักอาศัยผู้สูงวัยที่ใช้บริการอยู่ในปัจจุบันCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27235 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594513 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594547 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Aging male v philosophy of health : ชาย-หญิงวัยทอง ปรัชญาแห่งสุขภาพ / สายัหณห์ สวัสดิ์ศรี / กรุงเทพ ฯ : บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ - 2548
Title : Aging male v philosophy of health : ชาย-หญิงวัยทอง ปรัชญาแห่งสุขภาพ Material Type: printed text Authors: สายัหณห์ สวัสดิ์ศรี, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพ ฯ : บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ Publication Date: 2548 Pagination: VIII, 144 หน้า Layout: ภาพประกอบ, แผนภูมิ Size: 27 ซม ISBN (or other code): 978-974-986249--X Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Aging -- congresses
[LCSH]Male -- congresses
[LCSH]บริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ -- การประชุม
[LCSH]ผู้ชายวัยทอง -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- การประชุม
[LCSH]ผู้หญิงวัยทอง -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]เวชศาสตร์วัยชรา -- การประชุมKeywords: สุขภาพ.
ปรัชญา.
บริการสุขภาพ.
ผู้สูงอายุ.Class number: HQ1064.T5 อ886 Contents note: เซลล์ต้นกำเนิด อะไหล่คนแก่ / อานนท์ บุณยะรัตเวช -- ประสบการณ์การจัดตั้งคลินิกสร้างเสริมสุขภาพชายวัยทอง / สายัณห์ สวัสดิ์ศรี -- Pilot project รายงานผลการฝังเข็มในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิ / วิรัตน์ เตชะอาภรณ์กุล -- ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ / ดวงจันทร์ เฮงสวัสดิ์ -- การบริหารร่างกายในผู้สูงอายุ / เสก อักษรานุเคราะห์ -- การออกกำลังกายสายกลางเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุ / เสก อักษรานุเคราะห์ -- สภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในชาย-หญิงวัยทอง / บัณฑิต กาญจนพยัฆ -- ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในวัยทองและแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ / บุญเติม แสงดิษฐ -- สุขภาพเพศ / พันธ์ศักดิ์ ศุกระฤกษ์ -- สุขภาพจิตผู้สูงอายุ / พล.ต. วีระ เขื่องศิริกุล -- การส่งเสริมสุขภาพครอบครัวและกฎบัตรกรุงเทพ / พ.อ. กิฎาพล วัฒนกูล -- นโยบายการพัฒนาสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขในอนาคต / พ.อ. กิฎาพล วัฒนกูล -- Metabolic syndrome / เทพ หิมะทองคำ -- วัยทองหน้าเด้ง / กฤษฎา ดวงอุไร -- การตรวจพิเศษ การรักษา และการติดตามการรักษาของ late -onset hypogonadism ในชายวัยทอง / สายัณห์ สวัสดิ์ศรี -- ผลของเทสทอสเตอโรนต่อโรคหย่อนสมรรถภาพเพศชาย สมอง กระดูก และต่อมลูกหมาก / ถนัด ไพศาขมาศ -- ประสบการณ์และแนวทางในการดำเนินการคลินิกสุขภาพเพศชาย / สมบูรณ์ รุ่งพรชัย -- เพื่อรอยยิ้มที่สดใส ห่างไกลจากโรคปริทันต์ / พ.ต. สรนีย์ เศรษฐภักดี -- ทางเลือกใหม่ในการรักษา ED / วันชัย นัยรักษ์เสรี -- Tadalafil : advances in ED treatment / Denis John Cherry -- นโยบายผู้สูงอายุแข็งแรง / ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์
Subject Aging -- congresses
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22974 Aging male v philosophy of health : ชาย-หญิงวัยทอง ปรัชญาแห่งสุขภาพ [printed text] / สายัหณห์ สวัสดิ์ศรี, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - กรุงเทพ ฯ : บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์, 2548 . - VIII, 144 หน้า : ภาพประกอบ, แผนภูมิ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-986249--X : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Aging -- congresses
[LCSH]Male -- congresses
[LCSH]บริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ -- การประชุม
[LCSH]ผู้ชายวัยทอง -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- การประชุม
[LCSH]ผู้หญิงวัยทอง -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]เวชศาสตร์วัยชรา -- การประชุมKeywords: สุขภาพ.
ปรัชญา.
บริการสุขภาพ.
ผู้สูงอายุ.Class number: HQ1064.T5 อ886 Contents note: เซลล์ต้นกำเนิด อะไหล่คนแก่ / อานนท์ บุณยะรัตเวช -- ประสบการณ์การจัดตั้งคลินิกสร้างเสริมสุขภาพชายวัยทอง / สายัณห์ สวัสดิ์ศรี -- Pilot project รายงานผลการฝังเข็มในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิ / วิรัตน์ เตชะอาภรณ์กุล -- ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ / ดวงจันทร์ เฮงสวัสดิ์ -- การบริหารร่างกายในผู้สูงอายุ / เสก อักษรานุเคราะห์ -- การออกกำลังกายสายกลางเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุ / เสก อักษรานุเคราะห์ -- สภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในชาย-หญิงวัยทอง / บัณฑิต กาญจนพยัฆ -- ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในวัยทองและแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพ / บุญเติม แสงดิษฐ -- สุขภาพเพศ / พันธ์ศักดิ์ ศุกระฤกษ์ -- สุขภาพจิตผู้สูงอายุ / พล.ต. วีระ เขื่องศิริกุล -- การส่งเสริมสุขภาพครอบครัวและกฎบัตรกรุงเทพ / พ.อ. กิฎาพล วัฒนกูล -- นโยบายการพัฒนาสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขในอนาคต / พ.อ. กิฎาพล วัฒนกูล -- Metabolic syndrome / เทพ หิมะทองคำ -- วัยทองหน้าเด้ง / กฤษฎา ดวงอุไร -- การตรวจพิเศษ การรักษา และการติดตามการรักษาของ late -onset hypogonadism ในชายวัยทอง / สายัณห์ สวัสดิ์ศรี -- ผลของเทสทอสเตอโรนต่อโรคหย่อนสมรรถภาพเพศชาย สมอง กระดูก และต่อมลูกหมาก / ถนัด ไพศาขมาศ -- ประสบการณ์และแนวทางในการดำเนินการคลินิกสุขภาพเพศชาย / สมบูรณ์ รุ่งพรชัย -- เพื่อรอยยิ้มที่สดใส ห่างไกลจากโรคปริทันต์ / พ.ต. สรนีย์ เศรษฐภักดี -- ทางเลือกใหม่ในการรักษา ED / วันชัย นัยรักษ์เสรี -- Tadalafil : advances in ED treatment / Denis John Cherry -- นโยบายผู้สูงอายุแข็งแรง / ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์
Subject Aging -- congresses
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22974 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000352441 HQ1064.T5 อ886 2548 Book Main Library General Shelf Available กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุ / ไพลวรรณ สัทธานนท์ / กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - 2559
Title : กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุ Original title : Physical therapy for older people Material Type: printed text Authors: ไพลวรรณ สัทธานนท์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Publication Date: 2559 Pagination: 97 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-314265-8 Price: 65.00 บาท General note: บทนำ
บทที่ 1 ประชากรผู้สูงอายุ
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง และศรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
บทที่ 3 ปัญหาการล้มในผู้สูงอายุ
บทที่ 4 ปัญหาด้านระบบกระดูก และกล้ามเนื้อที่สำคัญในผู้สูงอายุ ภาวะเสื่อม
บทที่ 5 ภาวะ และโครงจากความเสื่อมทางระบบประสาทที่สำคัญในผู้สูงอายุ
บทที่ 6 ระบบสาธารณสุข สวัสดิการ และหน่อยงานที่เกียวข้องด้านผู้สูงอายุ
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]กายภาพบำบัด
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: กายภาพบำบัด, ผู้สูงอายุ, สุขภาพ, อนามัย Class number: WB460 พ993ก 2559 Abstract: กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุเล่มนี้เนื้อหาความรู้พื้นฐานด้านการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและสรีรวิทยาในผู้สูงอายุในระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับโรค ภาวะหรือความบกพร่องที่เกิดเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้เนื้อหายังครอบคลุมในเรื่องพยาธิสภาพอาการ และอาการแสดง ปัญหา และบทบาทของนักกายภาพบำบัดในด้านการตรวจประเมิน การรักษา การส่งเสริม การป้องกัน และการให้ความรู้ในโรค/ภาวะความบกพร่อง/ปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญในผู้สูงอายุ ได้แก่ กลุ่มโรค/ความบกพร่องด้านระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ กลุ่มโรค/ความบกพร่องด้านระบบประสาท รวมถึงปัญหาด้านการล้มในผู้สูงอายุ ตำราเล่มนี้เป็นประโยชน์ทั้งต่อนักศึกษากายภาพบำบัด นักกายภาพบำบัด บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และบุคคลทั่วไป โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล รักษา และส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสม นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28198 กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุ = Physical therapy for older people [printed text] / ไพลวรรณ สัทธานนท์, Author . - กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2559 . - 97 น. : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-314265-8 : 65.00 บาท
บทนำ
บทที่ 1 ประชากรผู้สูงอายุ
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง และศรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
บทที่ 3 ปัญหาการล้มในผู้สูงอายุ
บทที่ 4 ปัญหาด้านระบบกระดูก และกล้ามเนื้อที่สำคัญในผู้สูงอายุ ภาวะเสื่อม
บทที่ 5 ภาวะ และโครงจากความเสื่อมทางระบบประสาทที่สำคัญในผู้สูงอายุ
บทที่ 6 ระบบสาธารณสุข สวัสดิการ และหน่อยงานที่เกียวข้องด้านผู้สูงอายุ
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]กายภาพบำบัด
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: กายภาพบำบัด, ผู้สูงอายุ, สุขภาพ, อนามัย Class number: WB460 พ993ก 2559 Abstract: กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุเล่มนี้เนื้อหาความรู้พื้นฐานด้านการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและสรีรวิทยาในผู้สูงอายุในระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับโรค ภาวะหรือความบกพร่องที่เกิดเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้เนื้อหายังครอบคลุมในเรื่องพยาธิสภาพอาการ และอาการแสดง ปัญหา และบทบาทของนักกายภาพบำบัดในด้านการตรวจประเมิน การรักษา การส่งเสริม การป้องกัน และการให้ความรู้ในโรค/ภาวะความบกพร่อง/ปัญหาด้านสุขภาพที่สำคัญในผู้สูงอายุ ได้แก่ กลุ่มโรค/ความบกพร่องด้านระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ กลุ่มโรค/ความบกพร่องด้านระบบประสาท รวมถึงปัญหาด้านการล้มในผู้สูงอายุ ตำราเล่มนี้เป็นประโยชน์ทั้งต่อนักศึกษากายภาพบำบัด นักกายภาพบำบัด บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และบุคคลทั่วไป โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแล รักษา และส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสม นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28198 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607236 WB460 พ993ก 2559 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607216 WB460 พ993ก 2559 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607224 WB460 พ993ก 2559 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607207 WB460 พ993ก 2559 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available การดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ / สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน - 2557
Title : การดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ Material Type: printed text Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน Publication Date: 2557 Pagination: vii, 48 p. Size: 21 ซม. Price: Gift. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- โภชนาการ
[LCSH]ผู้สูงอายุ--การดูแลKeywords: ผู้สูงอายุ
การดูแล.
การบูรณาการ.Class number: WT100 ก451 2557 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23685 การดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ [printed text] . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - [S.l.] : สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2557 . - vii, 48 p. ; 21 ซม.
Gift.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- โภชนาการ
[LCSH]ผู้สูงอายุ--การดูแลKeywords: ผู้สูงอายุ
การดูแล.
การบูรณาการ.Class number: WT100 ก451 2557 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23685 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397065 WT100 ก451 2557 Book Main Library Nursing Shelf Available การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน / กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน : บทบาทพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ Original title : Fall risk assessment and management among older adults in the community the role of the public health nurse in the primary care Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.183-195 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.183-195Keywords: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.การหกล้ม. ผู้สูงอายุในชุมชน.บทบาทพยาบาลชุมชน.หน่วยบริการปฐมภูมิ Abstract: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.
การหกล้ม.
ผู้สูงอายุ.
บทบาทพยาบาลชุมชน.
หน่วยบริการปฐมภูมิ.Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26879 [article] การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน = Fall risk assessment and management among older adults in the community the role of the public health nurse in the primary care : บทบาทพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์, Author . - 2017 . - p.183-195.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.183-195Keywords: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.การหกล้ม. ผู้สูงอายุในชุมชน.บทบาทพยาบาลชุมชน.หน่วยบริการปฐมภูมิ Abstract: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.
การหกล้ม.
ผู้สูงอายุ.
บทบาทพยาบาลชุมชน.
หน่วยบริการปฐมภูมิ.Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26879