From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'ปัจจัยคัดสรร.สมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัด.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร / สุนิสา สีผม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
inวารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.94-103
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร : กับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศไทย Original title : Study of the relationship between selected factors and perioperative nurse's competencies in Thailand Material Type: printed text Authors: สุนิสา สีผม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.94-103 Languages : Thai (tha) Keywords: ปัจจัยคัดสรร.สมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัด. Abstract: เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิในประเทศไทย ตามการรับรู้ของตนเองและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร กับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลห้องผ่าตัดที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือแบบประเมินสมรรถนะของสมาคมพยาบาลผ่าตัดแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยสมรรถนะ 4 ด้าน คือ สมรรถนะการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยด้านร่างกาย การพยาบาลเพื่อตอบสนองผู้ป่วยด้านพฤติกรรม การพยาบาลด้านระบบสุขภาพ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พยาบาลห้องผ่าตัด จำนวน 818 คน เป็นพยาบาลวิชาชีพ และส่วนใหญ่จบป.ตรี มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี(ร้อยละ60) และผ่านการอบรม (ร้อยละ63.8) ส่วนใหญ่รับรู้ว่าบรรยากาศการทำงานที่ดี (ร้อยละ79.5)และมีจำนวนพยาบาลไม่เพียงพอ (ร้อยละ 76.3)การรับรู้สมรรถนะของตนเองอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ65.8) โดยมีระดับสมรรถนะผู้เชียวชาญ ผู้ชำนาญการ และผู้มีความสามรถพอ คิดเป็นร้อยละ (65.8 24.6 และ9.5) ตามลำดับ บรรยากาศองค์กรและความเพียงพอของบุคลากรมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 และ p<.01 ตามลำดับ
สรุปได้ว่า สมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูงทุกด้าน และปัจจัยคัดสรรองค์การและความเพียงพอของบุคลากรองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด ดังนั้นหน่วยงานหรือองค์การควรให้ความสำคัญต่อการจัดอัตรากำลังให้เพียงพอและการสร้างบรรยากาศองค์การ เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26745 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร = Study of the relationship between selected factors and perioperative nurse's competencies in Thailand : กับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศไทย [printed text] / สุนิสา สีผม, Author . - 2017 . - p.94-103.
Languages : Thai (tha)
inวารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.94-103
Keywords: ปัจจัยคัดสรร.สมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัด. Abstract: เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิในประเทศไทย ตามการรับรู้ของตนเองและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร กับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลห้องผ่าตัดที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือแบบประเมินสมรรถนะของสมาคมพยาบาลผ่าตัดแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยสมรรถนะ 4 ด้าน คือ สมรรถนะการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยด้านร่างกาย การพยาบาลเพื่อตอบสนองผู้ป่วยด้านพฤติกรรม การพยาบาลด้านระบบสุขภาพ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พยาบาลห้องผ่าตัด จำนวน 818 คน เป็นพยาบาลวิชาชีพ และส่วนใหญ่จบป.ตรี มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี(ร้อยละ60) และผ่านการอบรม (ร้อยละ63.8) ส่วนใหญ่รับรู้ว่าบรรยากาศการทำงานที่ดี (ร้อยละ79.5)และมีจำนวนพยาบาลไม่เพียงพอ (ร้อยละ 76.3)การรับรู้สมรรถนะของตนเองอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ65.8) โดยมีระดับสมรรถนะผู้เชียวชาญ ผู้ชำนาญการ และผู้มีความสามรถพอ คิดเป็นร้อยละ (65.8 24.6 และ9.5) ตามลำดับ บรรยากาศองค์กรและความเพียงพอของบุคลากรมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 และ p<.01 ตามลำดับ
สรุปได้ว่า สมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูงทุกด้าน และปัจจัยคัดสรรองค์การและความเพียงพอของบุคลากรองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด ดังนั้นหน่วยงานหรือองค์การควรให้ความสำคัญต่อการจัดอัตรากำลังให้เพียงพอและการสร้างบรรยากาศองค์การ เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26745 ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง / มุจรินทร์ พุทธเมตตา in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
inวารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.69-82
Title : ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง Original title : Selected factors related to depression of the elder persons with depressive disorder in the central region Material Type: printed text Authors: มุจรินทร์ พุทธเมตตา, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.69-82 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha) Keywords: ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.ผู้สุงอายุ.โรคเรื้อรัง.ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า. Abstract: ัเพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า และศึกษาึวามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก้ เพศ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความสามารถในการรู้คิด การดื้มแอลกอฮอล์ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ ความเชื่อทางศาสานากับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า
วิธีการศึกษา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าที่มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 176 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียด แบบประเมินความรู้สึกที่มีคุณค่า แบบประเมินความเข้มอข็ง แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความสามารถในหน้าที และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุุ
ผลการศึกษา มีดังนี้
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ส่วนใหญ่พบ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.7 และระดับรุนแแรง ร้อยละ 3.4
2. เพศ มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .242, p<-01)
3. การดื่มแอลกอฮอล์ และเหตุการณ์ความเครียดในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .238,<.01 และ r=.435, p,.01)
4. ความสามารถในการรู้คิด ความรู้สึิกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ และความเชื่อทางศาสนา มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb=.181,p<.05,r=.318,p< .01,r=.320,p<.01 r=331,p<.01, r=.362, p,.01 และ rpb=.179, p,.05 ตามลำดับ)
5. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26951 [article] ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง = Selected factors related to depression of the elder persons with depressive disorder in the central region [printed text] / มุจรินทร์ พุทธเมตตา, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author . - 2017 . - p.69-82.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
inวารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.69-82
Keywords: ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.ผู้สุงอายุ.โรคเรื้อรัง.ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า. Abstract: ัเพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า และศึกษาึวามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก้ เพศ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความสามารถในการรู้คิด การดื้มแอลกอฮอล์ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ ความเชื่อทางศาสานากับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า
วิธีการศึกษา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าที่มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 176 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียด แบบประเมินความรู้สึกที่มีคุณค่า แบบประเมินความเข้มอข็ง แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความสามารถในหน้าที และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุุ
ผลการศึกษา มีดังนี้
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ส่วนใหญ่พบ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.7 และระดับรุนแแรง ร้อยละ 3.4
2. เพศ มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .242, p<-01)
3. การดื่มแอลกอฮอล์ และเหตุการณ์ความเครียดในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .238,<.01 และ r=.435, p,.01)
4. ความสามารถในการรู้คิด ความรู้สึิกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ และความเชื่อทางศาสนา มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb=.181,p<.05,r=.318,p< .01,r=.320,p<.01 r=331,p<.01, r=.362, p,.01 และ rpb=.179, p,.05 ตามลำดับ)
5. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26951 ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการมารับการรักษาในโรงพยาบาล / ปราณี คำโสภา in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
inวารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.
Title : ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการมารับการรักษาในโรงพยาบาล : ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน Original title : Selected factors related to pre-hospital time in chronic obstructive pulmonary disease patients with acute exacebation Material Type: printed text Authors: ปราณี คำโสภา, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha) Keywords: โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.ระยะเวลาการมารับการรักษา.ปัจจัยคัดสรร. Abstract: การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน และปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์ ได้แก่ อาการหายใจลำบาก การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเหนื่อยล้า ความวิตกกังวลและการสนับสนุนทางสังคม กับระยะเวลาการมารับการรักษา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน จำนวน 123 คน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตากสินและโรงพยาบาลกลาง เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง แบบประเมินอาการหายใจลำบาก แบบประเมินการรับรู้ความรุนแรงของโรค แบบวัดความเหนื่อยล้า แบบประเมินความวิตกกังวล และแบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 50 - 59 ปี คิดเป็นร้อยละ 84.6 (mean = 52.9, S.D. = 5.42) มีค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการมารับการรักษา 60 นาที (S.D. = 38.70) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่า อาการหายใจลำบาก การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเหนื่อยล้า ความวิตกกังวลและการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางลบกับระยะเวลาการมารับการรักษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) (r= -.730, -.699, -.217, -.333 และ -.429 ตามลำดับ)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความรุนแรงของอาการหายใจลำบาก ความรุนแรงของโรค และเพิ่มการสนับสนุนทางสังคมให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เพื่อให้ผู้ป่วยมีระยะเวลาการมารับการรักษาอย่างเหมาะสมเมื่อเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27500 [article] ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการมารับการรักษาในโรงพยาบาล = Selected factors related to pre-hospital time in chronic obstructive pulmonary disease patients with acute exacebation : ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน [printed text] / ปราณี คำโสภา, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author . - 2017 . - p.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
inวารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.
Keywords: โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.ระยะเวลาการมารับการรักษา.ปัจจัยคัดสรร. Abstract: การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน และปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์ ได้แก่ อาการหายใจลำบาก การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเหนื่อยล้า ความวิตกกังวลและการสนับสนุนทางสังคม กับระยะเวลาการมารับการรักษา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน จำนวน 123 คน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตากสินและโรงพยาบาลกลาง เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง แบบประเมินอาการหายใจลำบาก แบบประเมินการรับรู้ความรุนแรงของโรค แบบวัดความเหนื่อยล้า แบบประเมินความวิตกกังวล และแบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 50 - 59 ปี คิดเป็นร้อยละ 84.6 (mean = 52.9, S.D. = 5.42) มีค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการมารับการรักษา 60 นาที (S.D. = 38.70) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่า อาการหายใจลำบาก การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเหนื่อยล้า ความวิตกกังวลและการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางลบกับระยะเวลาการมารับการรักษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) (r= -.730, -.699, -.217, -.333 และ -.429 ตามลำดับ)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความรุนแรงของอาการหายใจลำบาก ความรุนแรงของโรค และเพิ่มการสนับสนุนทางสังคมให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เพื่อให้ผู้ป่วยมีระยะเวลาการมารับการรักษาอย่างเหมาะสมเมื่อเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27500