From this page you can:
Home |
Search results
15 result(s) search for keyword(s) 'จริยธรรม. มารดา. เด็กที่ถูกทอดทิ้ง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร / ปริญดา ตี่ด้วง / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - 2543
Title : การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร Original title : A study of moral reasons of mothers who tend to abandon their children Material Type: printed text Authors: ปริญดา ตี่ด้วง, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2543 Pagination: ก-ฌ, 116 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-663-693-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]จริยธรรม
[LCSH]มารดาและทารก
[LCSH]เด็กที่ถูกทอดทิ้งKeywords: จริยธรรม.
มารดา.
เด็กที่ถูกทอดทิ้ง.Class number: HV873 ป573 2543 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบเ้หตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นมารดาตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่สถานสงเคราะห์บ้านพักฉุกเฉิน แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง จำนวน 18 คน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผลการศึกษาพบว่า มารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตรให้เหตุผลไว้ 5 ประการ คือ 1. เพราะสงสารและเป็นห่วงอนาคตของบุตร 2. เพราะความไม่ปลอดภัยของบุตร 3.เพราะบุตรเป็นภาระเกินเลย 4.เพราะอับอายญาติพี่น้องในครอบครัวและคนในสังคม 5. เพราะไม่รู้สึกผูกผันกับบุตร Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23287 การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร = A study of moral reasons of mothers who tend to abandon their children [printed text] / ปริญดา ตี่ด้วง, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543 . - ก-ฌ, 116 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-663-693-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]จริยธรรม
[LCSH]มารดาและทารก
[LCSH]เด็กที่ถูกทอดทิ้งKeywords: จริยธรรม.
มารดา.
เด็กที่ถูกทอดทิ้ง.Class number: HV873 ป573 2543 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบเ้หตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นมารดาตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่สถานสงเคราะห์บ้านพักฉุกเฉิน แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง จำนวน 18 คน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผลการศึกษาพบว่า มารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตรให้เหตุผลไว้ 5 ประการ คือ 1. เพราะสงสารและเป็นห่วงอนาคตของบุตร 2. เพราะความไม่ปลอดภัยของบุตร 3.เพราะบุตรเป็นภาระเกินเลย 4.เพราะอับอายญาติพี่น้องในครอบครัวและคนในสังคม 5. เพราะไม่รู้สึกผูกผันกับบุตร Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23287 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355873 THE HV873 ป573 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available ทักษะทางการพยาบาล / ดาริน โต๊ะกานิ / กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด - 2557
Title : ทักษะทางการพยาบาล : มารดาทารกและการผดุงครรภ์ Material Type: printed text Authors: ดาริน โต๊ะกานิ, Author ; ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3. Publisher: กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด Publication Date: 2557 Pagination: 217 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-713647-9 Price: 180.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Maternity nursing -- Handbooks, manuals, etc
[LCSH]Pediatric Nursing
[LCSH]การพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล -- มารดาและทารกKeywords: การพยาบาล.
มารดาและทารก.
สูติศาสตร์Class number: WY157.3 ด427 2557 Contents note: ตอนที่ 1: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะตั้งครรภ์. -- ตอนที่ 2: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะคลอด.-- ตอนที่ 3: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะหลังคลอด.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24362 ทักษะทางการพยาบาล : มารดาทารกและการผดุงครรภ์ [printed text] / ดาริน โต๊ะกานิ, Author ; ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 3. . - กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด, 2557 . - 217 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-713647-9 : 180.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Maternity nursing -- Handbooks, manuals, etc
[LCSH]Pediatric Nursing
[LCSH]การพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล -- มารดาและทารกKeywords: การพยาบาล.
มารดาและทารก.
สูติศาสตร์Class number: WY157.3 ด427 2557 Contents note: ตอนที่ 1: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะตั้งครรภ์. -- ตอนที่ 2: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะคลอด.-- ตอนที่ 3: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะหลังคลอด.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24362 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000511053 WY157.3 ด427 2557 c.14 Book Main Library General Shelf Available 32002000583441 WY157.3 ด427 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000511012 WY157.3 ด427 2557 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000511020 WY157.3 ด427 2557 c.11 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000511038 WY157.3 ด427 2557 c.12 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000511046 WY157.3 ด427 2557 c.13 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000511061 WY157.3 ด427 2557 c.15 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000583359 WY157.3 ด427 2557 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000583367 WY157.3 ด427 2557 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000583375 WY157.3 ด427 2557 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000583383 WY157.3 ด427 2557 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000583391 WY157.3 ด427 2557 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000583409 WY157.3 ด427 2557 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000583417 WY157.3 ด427 2557 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000583425 WY157.3 ด427 2557 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน Original title : Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector Material Type: printed text Authors: เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: x, 301 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน = Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector [printed text] / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - x, 301 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598845 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598811 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การพยาบาลมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง การคลอดโดยใช้คีมและเครื่องดูดสูญญากาศ / ดวงกมล ปิ่นเฉลียว / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก - 2556
Title : การพยาบาลมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง การคลอดโดยใช้คีมและเครื่องดูดสูญญากาศ Material Type: printed text Authors: ดวงกมล ปิ่นเฉลียว ; สถาบันพระบรมราชชนก Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 4 Publisher: นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก Publication Date: 2556 Pagination: 164 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26.2 ซม. ISBN (or other code): 978-974-465-559-2 Price: 150.00 บาท General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สูติศาสตร์--การพยาบาล Keywords: การพยาบาล, มารดา, การคลอด, สูติศาสตร์ Class number: RG951 ด153 2556 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28088 การพยาบาลมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง การคลอดโดยใช้คีมและเครื่องดูดสูญญากาศ [printed text] / ดวงกมล ปิ่นเฉลียว ; สถาบันพระบรมราชชนก . - พิมพ์ครั้งที่ 4 . - นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก, 2556 . - 164 หน้า : ภาพประกอบ ; 26.2 ซม.
ISBN : 978-974-465-559-2 : 150.00 บาท
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สูติศาสตร์--การพยาบาล Keywords: การพยาบาล, มารดา, การคลอด, สูติศาสตร์ Class number: RG951 ด153 2556 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28088 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000473239 RG951 ด153 2556 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000473197 RG951 ด153 2556 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000473189 RG951 ด153 2556 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000473205 RG951 ด153 2556 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000473213 RG951 ด153 2556 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available การวางแผนการพยาบาลมารดาและทารก / Luxner, Karla L. / กรุงเทพฯ : เซนเกจ เลินนิ่ง (ประเทศไทย) - 2555
Title : การวางแผนการพยาบาลมารดาและทารก : Delmar's maternal-infant nursing care plans Material Type: printed text Authors: Luxner, Karla L., Author ; คณาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี, Translator Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : เซนเกจ เลินนิ่ง (ประเทศไทย) Publication Date: 2555 Pagination: xii, 361 หน้า Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-901736-3 Price: 395.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การคลอด
[LCSH]การดูแลภายหลังคลอด
[LCSH]การพยาบาลสูติศาสตร์
[LCSH]ทารกแรกเกิด
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแล
[LCSH]มารดาหลังคลอดKeywords: มารดาหลังคลอด.
การดูแลภายหลังคลอด.
การพยาบาลสูติศาสตร์.
ทารกเกิด.
การพยาบาลสูติศาสตร์.Class number: WY157 L977 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23445 การวางแผนการพยาบาลมารดาและทารก : Delmar's maternal-infant nursing care plans [printed text] / Luxner, Karla L., Author ; คณาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี, Translator . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : เซนเกจ เลินนิ่ง (ประเทศไทย), 2555 . - xii, 361 หน้า : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-901736-3 : 395.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การคลอด
[LCSH]การดูแลภายหลังคลอด
[LCSH]การพยาบาลสูติศาสตร์
[LCSH]ทารกแรกเกิด
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแล
[LCSH]มารดาหลังคลอดKeywords: มารดาหลังคลอด.
การดูแลภายหลังคลอด.
การพยาบาลสูติศาสตร์.
ทารกเกิด.
การพยาบาลสูติศาสตร์.Class number: WY157 L977 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23445 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000387074 WY157 L977 2555 c.1 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000387082 WY157 L977 2555 c.5 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000496941 WY157 L977 2555 c.6 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000496982 WY157 L977 2555 c.12 Book Main Library General Shelf Not for loan 32002000387066 WY157 L977 2555 c.2 Book Main Library General Shelf Due for return by 04/30/2017 32002000387108 WY157 L977 2555 c.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000387090 WY157 L977 2555 c.4 Book Main Library General Shelf Available 32002000496933 WY157 L977 2555 c.7 Book Main Library General Shelf Available 32002000496966 WY157 L977 2555 c.10 Book Main Library Library Counter Available 32002000496974 WY157 L977 2555 c.11 Book Main Library Library Counter Available 32002000496925 WY157 L977 2555 c.13 Book Main Library Library Counter Available 32002000496859 WY157 L977 2555 c.14 Book Main Library Library Counter Available 32002000496917 WY157 L977 2555 c.15 Book Main Library Library Counter Available 32002000496990 WY157 L977 2555 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000496958 WY157 L977 2555 c.9 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
เพศวิถีศึกษา ชุมาภรณ์, ฝาชัยภูมิ การพยาบาลพื้นฐาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ เพศศึกษา สุมาลี สวยสอาด การพยาบาลสตรีระยะตั้งครรภ์ ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป / ญาณิศา ลิ้มรัตน์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between personal factors,ethical work climate in nursing deparments,quality of working life,and organization commitment of professional nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: ญาณิศา ลิ้มรัตน์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 121 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-17-6311-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล ]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: จริยธรรม.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความผูกพัน.Class number: WY11 ญ324 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติืการที่ปฎิบัิติงานในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 384 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 093 .88 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั้วไป อยู่ในระดับสูง
2. ปัจัจส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัีมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.22]
3. บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.60]
4. คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.67]
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานและบรรยาการจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลสามารถร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 50.7 [R2 =.507]Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23179 ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป = Relationships between personal factors,ethical work climate in nursing deparments,quality of working life,and organization commitment of professional nurses, general hospitals [printed text] / ญาณิศา ลิ้มรัตน์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 121 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-17-6311-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล ]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: จริยธรรม.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความผูกพัน.Class number: WY11 ญ324 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติืการที่ปฎิบัิติงานในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 384 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 093 .88 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั้วไป อยู่ในระดับสูง
2. ปัจัจส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัีมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.22]
3. บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.60]
4. คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.67]
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานและบรรยาการจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลสามารถร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 50.7 [R2 =.507]Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23179 คู่มือตั้งท้อง / ชัญวลี ศรีสุโข / กรุงเทพฯ : บุ๊คส์ ทู ยู - 2555
Title : คู่มือตั้งท้อง : สำหรับเตรียมกายเป็นคุณแม่มือใหม่ทันสมัย ด้วยตนเอง Material Type: printed text Authors: ชัญวลี ศรีสุโข ; โชติกานต์ เที่ยงธรรม Publisher: กรุงเทพฯ : บุ๊คส์ ทู ยู Publication Date: 2555 Pagination: 208 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 cm. ISBN (or other code): 978-974-990188--5 Price: 165.00 General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ครรภ์
[LCSH]มารดา
[LCSH]มารดาและทารก
[LCSH]สตรีมีครรภ์ -- การดูแลKeywords: มารดาและทารก Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22068 คู่มือตั้งท้อง : สำหรับเตรียมกายเป็นคุณแม่มือใหม่ทันสมัย ด้วยตนเอง [printed text] / ชัญวลี ศรีสุโข ; โชติกานต์ เที่ยงธรรม . - กรุงเทพฯ : บุ๊คส์ ทู ยู, 2555 . - 208 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 cm.
ISBN : 978-974-990188--5 : 165.00
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ครรภ์
[LCSH]มารดา
[LCSH]มารดาและทารก
[LCSH]สตรีมีครรภ์ -- การดูแลKeywords: มารดาและทารก Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22068 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000365880 RG551 ช362 2555 Book Main Library General Shelf Available ทักษะทางการพยาบาล / ดาริน โต๊ะกานิ / กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด - 2556
Title : ทักษะทางการพยาบาล : มารดาทารกและการผดุงครรภ์ Material Type: printed text Authors: ดาริน โต๊ะกานิ, Author ; ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด Publication Date: 2556 Pagination: 217 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-713647-9 Price: 180.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Maternity nursing -- Handbooks, manuals, etc
[LCSH]Pediatric Nursing
[LCSH]การพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล -- มารดาและทารกKeywords: การพยาบาล.
มารดาและทารก.
สูติศาสตร์Class number: WY157.3 ด427 2556 Contents note: ตอนที่ 1: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะตั้งครรภ์. -- ตอนที่ 2: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะคลอด.-- ตอนที่ 2: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะหลังคลอด.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23444 ทักษะทางการพยาบาล : มารดาทารกและการผดุงครรภ์ [printed text] / ดาริน โต๊ะกานิ, Author ; ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด, 2556 . - 217 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-713647-9 : 180.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Maternity nursing -- Handbooks, manuals, etc
[LCSH]Pediatric Nursing
[LCSH]การพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล -- มารดาและทารกKeywords: การพยาบาล.
มารดาและทารก.
สูติศาสตร์Class number: WY157.3 ด427 2556 Contents note: ตอนที่ 1: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะตั้งครรภ์. -- ตอนที่ 2: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะคลอด.-- ตอนที่ 2: ทักษะการพยาบาลมารดาทารกระยะหลังคลอด.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23444 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000386811 WY157.3 ด427 2556 c.2 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000386837 WY157.3 ด427 2556 c.3 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000386795 WY157.3 ด427 2556 c.5 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000386803 WY157.3 ด427 2556 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000386829 WY157.3 ด427 2556 c.4 Book Main Library General Shelf Available 32002000392587 WY157.3 ด427 2556 c.10 Book Main Library Library Counter Available 32002000392579 WY157.3 ด427 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000392595 WY157.3 ด427 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000392603 WY157.3 ด427 2556 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000392611 WY157.3 ด427 2556 c.9 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
เพศวิถีศึกษา ชุมาภรณ์, ฝาชัยภูมิ เพศศึกษา สุมาลี สวยสอาด ธรรมนูญชีวิต : พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม / พระธรรมปิฎก, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) / บริษัทพิมพ์สวย จำกัด - 2552
Title : ธรรมนูญชีวิต : พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม Original title : A constitution for living : Buddhist principles for a fruitful and harmonious life Material Type: printed text Authors: พระธรรมปิฎก, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) (2481), Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 90 (ฉบับปรับปรุง-เพิ่มเติมใหม่) Publisher: บริษัทพิมพ์สวย จำกัด Publication Date: 2552 Pagination: 86 หน้า. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-770-105-7 Price: บริจาค. General note: หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์ เพื่อเป็นธรรมทานและเพื่อเป็นที่ระลึกและแจกมอบตอบแทนน้ำใจของท่านผู้มาร่วมงานพร้อมทั้งเป็นการมอบให้ซึ่งแสงสว่างแห่งปัญญาและทรัพย์อันล้ำค่าคือ ธรรม ที่จะนำมาซึ่งประโยชน์สุขที่แท้และยั่งยืนแก่ชีวิตและสังคม
การบำเพ็ญธรรมทานอุทิศกุศลในวาระสำคัญนี้ เป็นการแสดงออกซึ่งน้ำใจที่ประกอบด้วยกตัญญูกตเวทิตาธรรมต่อท่านผู้ล่วงลับและความปราถนาประโยชน์สุขที่เป็นแก่นสารแก่ประชาชนทั่วไป
ขออำนาจแห่งธรรมทานกุศลจริยา ที่คณะเจ้าภาพได้บำเพ็ญครั้งนี้ จงอำนวยสุขสมบัติแก่คุณแม่จำปา ยินดีมาก ในสัมปรายภพสมตามนโนปณิธานของคณะเจ้าภาพ ตามควรแก่คติวิสัยทุกประการLanguages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การปฏิบัติธรรม
[LCSH]จริยธรรม
[LCSH]ธรรมะ
[LCSH]ธรรมะ -- คำสอน
[LCSH]ธรรมะกับชีวิตประจำวันKeywords: หนัีงสืออนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ.
การปฎิบัติธรรม.
จริยธรรม.
ธรรมะกับชีวิตประจำวัน.Class number: ฺBQ4570.L5 พ335 255 2 Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23319 ธรรมนูญชีวิต : พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม = A constitution for living : Buddhist principles for a fruitful and harmonious life [printed text] / พระธรรมปิฎก, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) (2481), Author . - พิมพ์ครั้งที่ 90 (ฉบับปรับปรุง-เพิ่มเติมใหม่) . - กรุงเทพ ฯ : บริษัทพิมพ์สวย จำกัด, 2552 . - 86 หน้า. ; 21 ซม.
ISSN : 978-974-770-105-7 : บริจาค.
หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์ เพื่อเป็นธรรมทานและเพื่อเป็นที่ระลึกและแจกมอบตอบแทนน้ำใจของท่านผู้มาร่วมงานพร้อมทั้งเป็นการมอบให้ซึ่งแสงสว่างแห่งปัญญาและทรัพย์อันล้ำค่าคือ ธรรม ที่จะนำมาซึ่งประโยชน์สุขที่แท้และยั่งยืนแก่ชีวิตและสังคม
การบำเพ็ญธรรมทานอุทิศกุศลในวาระสำคัญนี้ เป็นการแสดงออกซึ่งน้ำใจที่ประกอบด้วยกตัญญูกตเวทิตาธรรมต่อท่านผู้ล่วงลับและความปราถนาประโยชน์สุขที่เป็นแก่นสารแก่ประชาชนทั่วไป
ขออำนาจแห่งธรรมทานกุศลจริยา ที่คณะเจ้าภาพได้บำเพ็ญครั้งนี้ จงอำนวยสุขสมบัติแก่คุณแม่จำปา ยินดีมาก ในสัมปรายภพสมตามนโนปณิธานของคณะเจ้าภาพ ตามควรแก่คติวิสัยทุกประการ
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การปฏิบัติธรรม
[LCSH]จริยธรรม
[LCSH]ธรรมะ
[LCSH]ธรรมะ -- คำสอน
[LCSH]ธรรมะกับชีวิตประจำวันKeywords: หนัีงสืออนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ.
การปฎิบัติธรรม.
จริยธรรม.
ธรรมะกับชีวิตประจำวัน.Class number: ฺBQ4570.L5 พ335 255 2 Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23319 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357093 BQ4570.L5 พ335 2552 Book Main Library Library Counter Not for loan ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด / มายูร เรืองสุข, / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด Original title : Selected factors related to quality of health transition in premature delivery mothers Material Type: printed text Authors: มายูร เรืองสุข, (2513-), Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ญ, 150 แผ่น Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-176-248-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [พยาบาลศาสตร์]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ทารกคลอดก่อนกำหนด
[LCSH]มารดาและทารกKeywords: คลอดก่อนกำหนด.
มารดา.
ทารก.Class number: RG951 ม626 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนดและภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพของการเปลี่ยนผ่านสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างคือมารดาที่คลอดก่อนกำหนด ได้จากการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 120 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย แบบสอบถามความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด แบบสอบถามทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามการวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด และแบบสอบถามคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค มีค่าความเที่ยงระหว่าง .70 ถึง .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 71.10, S.D. = 9.87) 2. การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ทักษะในการดูแลทารกก่อนกำหนด ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .624, .590, .505, .217, p < .05 ตามลำดับ) ภาระในการดูแลบุตรเชิงงจิตวิสัย ภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย มีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.483 และ -.239, p < .05ตามลำดับ) 3. กลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด และภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 57.8 (R[superscript 2] = .578, F = 25.79, P < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Zคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพ = .339 (การสนับสนุนทางสังคม) + .264 (การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .258 (ภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย) + .119 (ทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .056 (ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .056 (ภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23135 ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด = Selected factors related to quality of health transition in premature delivery mothers [printed text] / มายูร เรืองสุข, (2513-), Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ญ, 150 แผ่น : ตาราง, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-176-248-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [พยาบาลศาสตร์]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ทารกคลอดก่อนกำหนด
[LCSH]มารดาและทารกKeywords: คลอดก่อนกำหนด.
มารดา.
ทารก.Class number: RG951 ม626 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนดและภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพของการเปลี่ยนผ่านสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างคือมารดาที่คลอดก่อนกำหนด ได้จากการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 120 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย แบบสอบถามความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด แบบสอบถามทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามการวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด และแบบสอบถามคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค มีค่าความเที่ยงระหว่าง .70 ถึง .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 71.10, S.D. = 9.87) 2. การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ทักษะในการดูแลทารกก่อนกำหนด ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .624, .590, .505, .217, p < .05 ตามลำดับ) ภาระในการดูแลบุตรเชิงงจิตวิสัย ภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย มีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.483 และ -.239, p < .05ตามลำดับ) 3. กลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด และภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 57.8 (R[superscript 2] = .578, F = 25.79, P < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Zคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพ = .339 (การสนับสนุนทางสังคม) + .264 (การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .258 (ภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย) + .119 (ทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .056 (ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .056 (ภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23135 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354629 RG951 ม626 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่มีผลต่อขั้นตอนความพร้อมในการคุมกำเนิดภายหลังคลอด / พุทธชาต เจริญศิริวิไล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีผลต่อขั้นตอนความพร้อมในการคุมกำเนิดภายหลังคลอด : ของมารดาวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผน Original title : Factors influencing stage of readiness to postpartum contraception use among unplanned adolescent pregnacy Material Type: printed text Authors: พุทธชาต เจริญศิริวิไล, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.88-96 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.88-96Keywords: การคุมกำเนิด.มารดาวัยรุ่น.การตั้วครรภ์โดยไม่ได้วางแผน. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24956 [article] ปัจจัยที่มีผลต่อขั้นตอนความพร้อมในการคุมกำเนิดภายหลังคลอด = Factors influencing stage of readiness to postpartum contraception use among unplanned adolescent pregnacy : ของมารดาวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผน [printed text] / พุทธชาต เจริญศิริวิไล, Author . - 2015 . - p.88-96.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.88-96Keywords: การคุมกำเนิด.มารดาวัยรุ่น.การตั้วครรภ์โดยไม่ได้วางแผน. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24956 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัว / จารุภา วงศ์ช่างหล่อ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัว : ของมารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรก Original title : Influencing Factors to Individual and Family Self-Management Behavior of First-time Postpartum Mother Material Type: printed text Authors: จารุภา วงศ์ช่างหล่อ, Author ; พัชรี ดวงจันทร์, Author ; อังศินันท์ อินทรกำแหง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.179-196 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.179-196Keywords: มารดาหลังคลอดครรภ์แรก.พฤติกรรมการจัดการตนเอง.พฤติกรรมการจัดการครอบครัวของมารดาหลังคลอด. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาปัจจัยในการทำนายของการกำกับตนเอง การรับรู้ ความสามารถตนเอง และการเผชิญปัญหาแบบมุ่งอารมณ์ มีต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวของมารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรก
กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรกที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กำหนด
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม จำนวน 4 ฉบับที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือได้ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.75-1.00 และค่า Cronbach’salpha อยู่ระหว่าง 0.7-0.9
ผลการวิจัย พบว่า ตัวแปรการกำกับตนเอง และการรับรู้ความสามารถตนเอง สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวของมารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรก ได้ร้อยละ 82.5 และพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวของมารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรกอยู่ในระดับดี (X=129.29, SD=13.214) ข้อเสนอแนะ ควรมีการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดโปรแกรมการส่งเสริมพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวที่เหมาะสมแก่กลุ่มมารดาหลังคลอดครรภ์แรก และมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในปัจจัยที่เกี่ยวข้องตามทฤษฎีพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวในกลุ่มมารดาหลังคลอดครรภ์แรกLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27066 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัว = Influencing Factors to Individual and Family Self-Management Behavior of First-time Postpartum Mother : ของมารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรก [printed text] / จารุภา วงศ์ช่างหล่อ, Author ; พัชรี ดวงจันทร์, Author ; อังศินันท์ อินทรกำแหง, Author . - 2017 . - p.179-196.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.179-196Keywords: มารดาหลังคลอดครรภ์แรก.พฤติกรรมการจัดการตนเอง.พฤติกรรมการจัดการครอบครัวของมารดาหลังคลอด. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาปัจจัยในการทำนายของการกำกับตนเอง การรับรู้ ความสามารถตนเอง และการเผชิญปัญหาแบบมุ่งอารมณ์ มีต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวของมารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรก
กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรกที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กำหนด
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม จำนวน 4 ฉบับที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือได้ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.75-1.00 และค่า Cronbach’salpha อยู่ระหว่าง 0.7-0.9
ผลการวิจัย พบว่า ตัวแปรการกำกับตนเอง และการรับรู้ความสามารถตนเอง สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวของมารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรก ได้ร้อยละ 82.5 และพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวของมารดาหลังคลอดบุตรครรภ์แรกอยู่ในระดับดี (X=129.29, SD=13.214) ข้อเสนอแนะ ควรมีการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดโปรแกรมการส่งเสริมพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวที่เหมาะสมแก่กลุ่มมารดาหลังคลอดครรภ์แรก และมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในปัจจัยที่เกี่ยวข้องตามทฤษฎีพฤติกรรมการจัดการตนเองและครอบครัวในกลุ่มมารดาหลังคลอดครรภ์แรกLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27066 ผลของการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม / จินตนา ทองเพชร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม : ในการปฎิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล Material Type: printed text Authors: จินตนา ทองเพชร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ญ, 102 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-172-264-3 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]จริยธรรม -- พยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาลKeywords: จริยธรรม.
นักศึกษาพยาบาล.
การพยาบาล.Class number: WY86 จ235 2545 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมกับกลุ่มที่สอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 50 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่ายและแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการจับคู่ได้กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นแผนการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบอัตนัยประยุกต์ ( Modified Essay Questions : MEQ ) วัดความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราค (Cronbach's Alpha Coefficient) ได้เท่ากับ 0.94 ดัชนีความยากง่ายเท่ากับ 0.47 และค่าอำนาจจำแนก 0.55 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที ( t-test ) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลหลังการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมสูงกว่าก่อนการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23124 ผลของการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม : ในการปฎิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / จินตนา ทองเพชร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ญ, 102 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-172-264-3 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]จริยธรรม -- พยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาลKeywords: จริยธรรม.
นักศึกษาพยาบาล.
การพยาบาล.Class number: WY86 จ235 2545 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมกับกลุ่มที่สอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 50 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่ายและแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการจับคู่ได้กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นแผนการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบอัตนัยประยุกต์ ( Modified Essay Questions : MEQ ) วัดความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราค (Cronbach's Alpha Coefficient) ได้เท่ากับ 0.94 ดัชนีความยากง่ายเท่ากับ 0.47 และค่าอำนาจจำแนก 0.55 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที ( t-test ) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลหลังการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมสูงกว่าก่อนการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23124 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354207 WY86 จ235 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ / ศิริมา ทองดี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ Original title : The effect of moral resoning skill training program on ethical decision making ability of professional nurses Material Type: printed text Authors: ศิริมา ทองดี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฌ, 146 แผ่น Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การตัดสินใจ
[LCSH]จริยธรรม -- พยาบาลKeywords: จริยธรรม.
วิชาชีพพยาบาล.Class number: WY85 ศ837 2549 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเขิงจริยธรรม และเปรียบเทียบความสามามรในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลบ้านหมี่จำนวน 40 คน เป็นกลุ่มทดลอง 20 คน กลุ่มควบคุม 20 คน สุ่มอย่างง่ายและจัดเข้ากลุ่มโดยวิธีการจับคู่กลุ่มตัวอย่างให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันที่สุดในด้านหอผู้ป่วยระยะเวลาการปฏิบัติงาน อายุและคะแนนความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมและแบบบันทึกสถานการณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบอัตนัยประยุกต์ (MEQ)
วัดความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค (Conbrach’s Alpha coefficient0 ได้เท่ากับ 0.59 ค่าดัชนีความยากง่ายเท่ากับ 0.43 และ ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.42 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23189 ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ = The effect of moral resoning skill training program on ethical decision making ability of professional nurses [printed text] / ศิริมา ทองดี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฌ, 146 แผ่น : ตาราง, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การตัดสินใจ
[LCSH]จริยธรรม -- พยาบาลKeywords: จริยธรรม.
วิชาชีพพยาบาล.Class number: WY85 ศ837 2549 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเขิงจริยธรรม และเปรียบเทียบความสามามรในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลบ้านหมี่จำนวน 40 คน เป็นกลุ่มทดลอง 20 คน กลุ่มควบคุม 20 คน สุ่มอย่างง่ายและจัดเข้ากลุ่มโดยวิธีการจับคู่กลุ่มตัวอย่างให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันที่สุดในด้านหอผู้ป่วยระยะเวลาการปฏิบัติงาน อายุและคะแนนความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมและแบบบันทึกสถานการณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบอัตนัยประยุกต์ (MEQ)
วัดความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค (Conbrach’s Alpha coefficient0 ได้เท่ากับ 0.59 ค่าดัชนีความยากง่ายเท่ากับ 0.43 และ ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.42 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23189 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355030 WY85 ศ837 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด / เยาวเรศ สมทรัพย์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด Original title : Impact of Yoga Nidra Practice on Postpartum Women’s Fatigue Material Type: printed text Authors: เยาวเรศ สมทรัพย์, Author ; ธารางรัตน์ หาญประเสริฐพงษ์, Author ; วัชรี จงไพบูลย์พัฒนะ, Author ; กุสม พฤกษ์ภัทรานนต์, Author ; วัลภา จุทอง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.38-49 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.38-49Keywords: โยคะนิทรา. ความเหนื่อยล้า. มารดาหลังคลอด 24 ชม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างก่อนและหลังปฏิบัติโยคะนิทรา และ (2) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
การออกแบบวิจัย: วิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้จำนวน 124 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 62 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558 กลุ่มทดลองจะได้รับการปฏิบัติโยคะนิทราเป็นเวลา 20 นาทีในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ (1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทำงสูติศาสตร์(2) เสียงบันทึกและคู่มือกำรปฏิบัติโยคะนิทรา ที่ผ่านการตรวจความตรงทางเนื้อหา และ (3)แบบสอบถามความเหนื่อยล้ำ มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของครอนบัค 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคว์สแควร์ ค่าทีคู่ และค่าทีอิสระ
ผลการวิจัย: พบว่ามารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรา มีความเหนื่อยล้าหลังคลอด น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติโยคะนิทราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 18.67, p < 0.001). และมารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบักติโยคะนิทรามีความเหนื่อยล้าหลังปฏิบัติน้อยกว่าก่อนปฏิบัติ
(t = 6.94, p < 0.001)ซึ่งผลวิจัยครั้งนี้สะท้อนว่าการปฏิบัติโยคะนิทราช่วง 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ช่วยลดความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอดได้
ข้อเสนอแนะ: ควรส่งเสริมมารดาหลังคลอดปกติทุกรายปฏิบัติโยคะนิทรา เพื่อช่วยลดความเหนื่อยล้ำ และฟื้นฟูสภาพ.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27048 [article] ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด = Impact of Yoga Nidra Practice on Postpartum Women’s Fatigue [printed text] / เยาวเรศ สมทรัพย์, Author ; ธารางรัตน์ หาญประเสริฐพงษ์, Author ; วัชรี จงไพบูลย์พัฒนะ, Author ; กุสม พฤกษ์ภัทรานนต์, Author ; วัลภา จุทอง, Author . - 2017 . - p.38-49.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.38-49Keywords: โยคะนิทรา. ความเหนื่อยล้า. มารดาหลังคลอด 24 ชม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างก่อนและหลังปฏิบัติโยคะนิทรา และ (2) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
การออกแบบวิจัย: วิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้จำนวน 124 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 62 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558 กลุ่มทดลองจะได้รับการปฏิบัติโยคะนิทราเป็นเวลา 20 นาทีในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ (1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทำงสูติศาสตร์(2) เสียงบันทึกและคู่มือกำรปฏิบัติโยคะนิทรา ที่ผ่านการตรวจความตรงทางเนื้อหา และ (3)แบบสอบถามความเหนื่อยล้ำ มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของครอนบัค 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคว์สแควร์ ค่าทีคู่ และค่าทีอิสระ
ผลการวิจัย: พบว่ามารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรา มีความเหนื่อยล้าหลังคลอด น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติโยคะนิทราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 18.67, p < 0.001). และมารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบักติโยคะนิทรามีความเหนื่อยล้าหลังปฏิบัติน้อยกว่าก่อนปฏิบัติ
(t = 6.94, p < 0.001)ซึ่งผลวิจัยครั้งนี้สะท้อนว่าการปฏิบัติโยคะนิทราช่วง 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ช่วยลดความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอดได้
ข้อเสนอแนะ: ควรส่งเสริมมารดาหลังคลอดปกติทุกรายปฏิบัติโยคะนิทรา เพื่อช่วยลดความเหนื่อยล้ำ และฟื้นฟูสภาพ.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27048