From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'การให้บริการ, ตรวจคนเข้าเมือง'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ / ประภารัตน์ ปิ่นประดับ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ Original title : People’s Opinion on Services of the Immigration Police’s Arrival Inspection at Suvarnabhumi Airport Material Type: printed text Authors: ประภารัตน์ ปิ่นประดับ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 83 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง Keywords: การให้บริการ,
ตรวจคนเข้าเมืองAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง และศึกษาหาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ประชาชนคนไทยที่มารับบริการจากเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-Square) สำหรับการหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามใช้วิธีหาค่าอัลฟ่าสัมประสิทธิ์ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้มารับบริการมีความคิดเห็นต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าอยู่ในระดับมาก ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งได้แก่ ด้านประสิทธิภาพของการให้บริการ (ร้อยละ 90.75) ด้านความพร้อมเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 76.25) ด้านการอำนวยความสะดวก (ร้อยละ 90.75) และด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 82.75)
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ความถี่ของการเดินทาง ช่วงเวลาในการเดินทาง และการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบการตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27536 SIU IS-T. ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ = People’s Opinion on Services of the Immigration Police’s Arrival Inspection at Suvarnabhumi Airport [printed text] / ประภารัตน์ ปิ่นประดับ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 83 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง Keywords: การให้บริการ,
ตรวจคนเข้าเมืองAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง และศึกษาหาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ประชาชนคนไทยที่มารับบริการจากเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-Square) สำหรับการหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามใช้วิธีหาค่าอัลฟ่าสัมประสิทธิ์ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้มารับบริการมีความคิดเห็นต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าอยู่ในระดับมาก ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งได้แก่ ด้านประสิทธิภาพของการให้บริการ (ร้อยละ 90.75) ด้านความพร้อมเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 76.25) ด้านการอำนวยความสะดวก (ร้อยละ 90.75) และด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 82.75)
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ความถี่ของการเดินทาง ช่วงเวลาในการเดินทาง และการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบการตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27536 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596435 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-07 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596468 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-07 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ธวัชชัย แตงอ่อน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : People’s Satisfaction Towards Services Provided by the Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ธวัชชัย แตงอ่อน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 66 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ข้าราชการ -- ไทย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความพึงพอใจ
การให้บริการ
กองกำกับการสายตรวจ
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาเรื่องความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของ กองกำกับการสายตรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26096 SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = People’s Satisfaction Towards Services Provided by the Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau [printed text] / ธวัชชัย แตงอ่อน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 66 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ข้าราชการ -- ไทย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความพึงพอใจ
การให้บริการ
กองกำกับการสายตรวจ
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาเรื่องความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของ กองกำกับการสายตรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26096 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591451 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590107 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจนครบาล บางรัก / วิภาวี วรรณสอน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจนครบาล บางรัก Original title : People’s Satisfaction towards Services from Polices at Bang Rak Metropolitan Police Station Material Type: printed text Authors: วิภาวี วรรณสอน, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การให้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจKeywords: ความพึงพอใจ,
การให้บริการ,
สถานีตำรวจAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรักและเป็นแนวทางเสริมสร้างบริการให้เป็นที่พึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากประชาชนที่เคยใช้บริการที่สถานีตำรวจนครบาลบางรัก ใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ตัวแปรทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 26 – 35 ปี มีระดับการศึกษาปริญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 -20,000 บาท ความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรัก ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยพบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดเป็นอันดับแรก คือ ด้านขั้นตอนกระบวนการในการให้บริการ รองลงมาคือ ด้านวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ อุปกรณ์เทคโนโลยี ด้านสภาพแวดล้อม ด้านบุคลากร และด้านความสามารถในการปฏิบัติงาน ด้านอาคารสถานที่ และด้านการทำงานเป็นทีม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนและอาชีพ แตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรักที่ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27267 SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจนครบาล บางรัก = People’s Satisfaction towards Services from Polices at Bang Rak Metropolitan Police Station [printed text] / วิภาวี วรรณสอน, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การให้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจKeywords: ความพึงพอใจ,
การให้บริการ,
สถานีตำรวจAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรักและเป็นแนวทางเสริมสร้างบริการให้เป็นที่พึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากประชาชนที่เคยใช้บริการที่สถานีตำรวจนครบาลบางรัก ใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ตัวแปรทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 26 – 35 ปี มีระดับการศึกษาปริญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 -20,000 บาท ความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรัก ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยพบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดเป็นอันดับแรก คือ ด้านขั้นตอนกระบวนการในการให้บริการ รองลงมาคือ ด้านวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ อุปกรณ์เทคโนโลยี ด้านสภาพแวดล้อม ด้านบุคลากร และด้านความสามารถในการปฏิบัติงาน ด้านอาคารสถานที่ และด้านการทำงานเป็นทีม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนและอาชีพ แตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรักที่ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27267 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594877 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-33 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594885 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-33 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ / วรสิทธิ์ โถงโฉม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ Original title : Satisfaction of People towards Services of Bangkok Fire and Rescue Department: Case Study of Suan Mali Fire Station Material Type: printed text Authors: วรสิทธิ์ โถงโฉม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การให้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -- กรุงเทพมหานคร -- การให้บริการKeywords: การให้บริการ,
ความพึงพอใจAbstract: การศึกษาครั้งนี้ ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ และนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาสำหรับ แนะแนวทางการแก้ไขปัญหาต่อการให้บริการ เป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา และอาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนผู้รับบริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ จำนวน 184 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบสมมติฐานใช้ค่าสถิติ t – test ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ใช้ค่าสถิติ One- way ANOVA และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ รองลงมาคือ ด้านการให้บริการอย่างเสมอภาคและด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า โดยในด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องอาคารสถานที่ที่ให้บริการมีความเหมาะสม ในด้านการใช้บริการอย่างเสมอภาค ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องเจ้าหน้าที่บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และในด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า ประชาชนมีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ พบว่าเพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษาและอาชีพ ต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26724 SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ = Satisfaction of People towards Services of Bangkok Fire and Rescue Department: Case Study of Suan Mali Fire Station [printed text] / วรสิทธิ์ โถงโฉม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การให้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -- กรุงเทพมหานคร -- การให้บริการKeywords: การให้บริการ,
ความพึงพอใจAbstract: การศึกษาครั้งนี้ ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ และนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาสำหรับ แนะแนวทางการแก้ไขปัญหาต่อการให้บริการ เป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา และอาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนผู้รับบริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ จำนวน 184 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบสมมติฐานใช้ค่าสถิติ t – test ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ใช้ค่าสถิติ One- way ANOVA และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ รองลงมาคือ ด้านการให้บริการอย่างเสมอภาคและด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า โดยในด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องอาคารสถานที่ที่ให้บริการมีความเหมาะสม ในด้านการใช้บริการอย่างเสมอภาค ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องเจ้าหน้าที่บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และในด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า ประชาชนมีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ พบว่าเพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษาและอาชีพ ต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26724 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593325 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593309 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-04 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม / พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม Original title : Guideline for Buddhist Administration of Temples in Samut Sakhon Province for Serving the People as the Center of Society Material Type: printed text Authors: พระครูสาครธรรมประสิทธิ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 124 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการ -- พุทธศาสนา
[LCSH]การให้บริการ -- วิจัย
[LCSH]วัด -- สมุทรสาครKeywords: แนวทางการบริหาร,
การจัดการเชิงพุทธ,
การให้บริการของวัด,
ศูนย์กลางของสังคมAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ การบริการประชาชน และการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของวัดในจังหวัดสมุทรสาครที่มีต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ และการบริการประชาชนของวัดในจังหวัดสมุทรสาคร ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ ระดับการบริการประชาชนของวัด ภาพรวมมีค่าในระดับมาก ดังนี้ คือ พุทธวิธีด้านการอำนวยการ และขั้นตอน กระบวนการให้บริการ ส่วนระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ภาพรวมมีค่าในระดับมาก คือ ด้านงานเผยแพร่ศาสนธรรม
2) ปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 3 ปัจจัย คือ พุทธวิธีการวางแผน พุทธวิธีการบริหารงานบุคคล และพุทธวิธีการจัดการองค์การ และปัจจัยการบริการประชาชนของวัด ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 4 ปัจจัย คือ ด้านความร่วมมือกับชุมชน ด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ด้านสถานที่ และด้านขั้นตอนกระบวนการให้บริการ
3) แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม ด้านการบริหารจัดการเชิงพุทธ ควรมีการนำพุทธวิธีด้านการวางแผนมาปรับใช้ มุ่งเน้นเรื่องการมีวิสัยทัศน์เป็นสิ่งแรกที่ต้องนำมาใช้ในการบริหารจัดการ และควรมีการปรับปรุงในเรื่องของภาวะผู้นำ โดยยึดหลักการบริหารแบบธรรมาธิปไตยในการบริหาร ด้านการบริการประชาชนของวัด ในด้านการอำนวยความสะดวก ที่ขาดการจัดระบบที่ดี รวมถึงคุณภาพของวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี และ ด้านการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มี 2 ประเด็นหลัก คือ ด้านพุทธวิธีการบริหารงานบุคคล คือ การปฏิบัติตนของพระภิกษุสงฆ์ที่มีความประพฤติที่ไม่เหมาะสม และพุทธวิธีด้านการวางแผน คือ ต้องปรับปรุงในเรื่องของการวางแผนงบประมาณ โดยเฉพาะเรื่องของโครงสร้างทางด้านการเงิน บุคลากร การมอบหมายงาน และการจัดการองค์การ รวมถึงเจ้าอาวาสต้องมีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่ของตนอย่างถ่องแท้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28103 SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม = Guideline for Buddhist Administration of Temples in Samut Sakhon Province for Serving the People as the Center of Society [printed text] / พระครูสาครธรรมประสิทธิ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 124 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการ -- พุทธศาสนา
[LCSH]การให้บริการ -- วิจัย
[LCSH]วัด -- สมุทรสาครKeywords: แนวทางการบริหาร,
การจัดการเชิงพุทธ,
การให้บริการของวัด,
ศูนย์กลางของสังคมAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ การบริการประชาชน และการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของวัดในจังหวัดสมุทรสาครที่มีต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ และการบริการประชาชนของวัดในจังหวัดสมุทรสาคร ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ ระดับการบริการประชาชนของวัด ภาพรวมมีค่าในระดับมาก ดังนี้ คือ พุทธวิธีด้านการอำนวยการ และขั้นตอน กระบวนการให้บริการ ส่วนระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ภาพรวมมีค่าในระดับมาก คือ ด้านงานเผยแพร่ศาสนธรรม
2) ปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 3 ปัจจัย คือ พุทธวิธีการวางแผน พุทธวิธีการบริหารงานบุคคล และพุทธวิธีการจัดการองค์การ และปัจจัยการบริการประชาชนของวัด ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 4 ปัจจัย คือ ด้านความร่วมมือกับชุมชน ด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ด้านสถานที่ และด้านขั้นตอนกระบวนการให้บริการ
3) แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม ด้านการบริหารจัดการเชิงพุทธ ควรมีการนำพุทธวิธีด้านการวางแผนมาปรับใช้ มุ่งเน้นเรื่องการมีวิสัยทัศน์เป็นสิ่งแรกที่ต้องนำมาใช้ในการบริหารจัดการ และควรมีการปรับปรุงในเรื่องของภาวะผู้นำ โดยยึดหลักการบริหารแบบธรรมาธิปไตยในการบริหาร ด้านการบริการประชาชนของวัด ในด้านการอำนวยความสะดวก ที่ขาดการจัดระบบที่ดี รวมถึงคุณภาพของวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี และ ด้านการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มี 2 ประเด็นหลัก คือ ด้านพุทธวิธีการบริหารงานบุคคล คือ การปฏิบัติตนของพระภิกษุสงฆ์ที่มีความประพฤติที่ไม่เหมาะสม และพุทธวิธีด้านการวางแผน คือ ต้องปรับปรุงในเรื่องของการวางแผนงบประมาณ โดยเฉพาะเรื่องของโครงสร้างทางด้านการเงิน บุคลากร การมอบหมายงาน และการจัดการองค์การ รวมถึงเจ้าอาวาสต้องมีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่ของตนอย่างถ่องแท้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28103 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607336 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607337 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available บทบาทของพยาบาลสาธารศุขในการให้บริการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง / สุภา สุรเศรณีวงศ์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : บทบาทของพยาบาลสาธารศุขในการให้บริการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง : บริเวณศรีษะและลำคอที่บ้าน Original title : The role of home health care nurse in head and neck cancer patients at home Material Type: printed text Authors: สุภา สุรเศรณีวงศ์, Author ; พัชระกรพจน์ ศรีประสาร, Author Publication Date: 2017 Article on page: 145-188 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - 145-188Keywords: ผูุ้ป่วยมะเร็งศร๊ษะและลำคอ.การให้บริการพยาบาล.พยาบาลสาธารณสุข Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26772 [article] บทบาทของพยาบาลสาธารศุขในการให้บริการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง = The role of home health care nurse in head and neck cancer patients at home : บริเวณศรีษะและลำคอที่บ้าน [printed text] / สุภา สุรเศรณีวงศ์, Author ; พัชระกรพจน์ ศรีประสาร, Author . - 2017 . - 145-188.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)