From this page you can:
Home |
Search results
39 result(s) search for keyword(s) 'การเรียนการสอน. การประเมิน. วิจัย.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การประเมินและวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ / [นนทบุรี] : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2554
Title : การประเมินและวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน : ประมวลสาระชุดวิชา (หน่วยที่ 1-7) และ (หน่วยที่ 8-15) Original title : Evaluation and research for instruction development Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 5. Publisher: [นนทบุรี] : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2554 Pagination: 2 เล่ม Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-974-7051-20-9 General note: ISBN 978-974-705-120-9 เล่ม 1.
ISBN 978-974-980-335-6 เล่ม 2.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสอน -- วิจัย
[LCSH]การเรัียนการสอน -- การประเมิน
[LCSH]การเรียน
[LCSH]วิจัย -- ไทย -- การประเมินKeywords: การเรียนการสอน.
การประเมิน.
วิจัย.Class number: LB1131 ส747 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23820 การประเมินและวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน = Evaluation and research for instruction development : ประมวลสาระชุดวิชา (หน่วยที่ 1-7) และ (หน่วยที่ 8-15) [printed text] / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 5. . - [นนทบุรี] : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 . - 2 เล่ม : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-974-7051-20-9
ISBN 978-974-705-120-9 เล่ม 1.
ISBN 978-974-980-335-6 เล่ม 2.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสอน -- วิจัย
[LCSH]การเรัียนการสอน -- การประเมิน
[LCSH]การเรียน
[LCSH]วิจัย -- ไทย -- การประเมินKeywords: การเรียนการสอน.
การประเมิน.
วิจัย.Class number: LB1131 ส747 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23820 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000386043 LB1131 ส747 2555 v.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000386035 LB1131 ส747 2555 v.2 Book Main Library General Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Klaus & Fanaroff's care of the Fanaroff,, Avroy A. The Washington manual White,, Andrew J. Midwifery Pairman, Sally การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน / สมถวิล วิจิตรวรรณา / เจริญดีมั่นคงการพิมพ์ - 2556
Title : การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน Material Type: printed text Authors: สมถวิล วิจิตรวรรณา, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์ Publication Date: 2556 Pagination: (ก-จ), หน้าไม่เรียงลำดับ Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. Price: 200.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาการศึกษา
[LCSH]การศึกษา -- วิจัย
[LCSH]การสอน -- วิจัย
[LCSH]การเรัียนการสอน -- การประเมิน
[LCSH]การเรียน
[LCSH]วิจัย -- ไทย -- การประเมินKeywords: การเรียนการสอน.
การประเมิน.
วิจัย.Class number: LB1131 ก514 2556 Contents note: บทที่ 1: แนวคิดการวิเจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.-- บทที่ 2: นวัตกรรมการศึกษา.-- บทที่ 3: การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.-- บทที่ 4: วิธีการและเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล.-- บทที่ 5: การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล.-- บทที่ 6: การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.-- บทที่ 7: การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23824 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน [printed text] / สมถวิล วิจิตรวรรณา, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - [S.l.] : เจริญดีมั่นคงการพิมพ์, 2556 . - (ก-จ), หน้าไม่เรียงลำดับ : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
200.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาการศึกษา
[LCSH]การศึกษา -- วิจัย
[LCSH]การสอน -- วิจัย
[LCSH]การเรัียนการสอน -- การประเมิน
[LCSH]การเรียน
[LCSH]วิจัย -- ไทย -- การประเมินKeywords: การเรียนการสอน.
การประเมิน.
วิจัย.Class number: LB1131 ก514 2556 Contents note: บทที่ 1: แนวคิดการวิเจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.-- บทที่ 2: นวัตกรรมการศึกษา.-- บทที่ 3: การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.-- บทที่ 4: วิธีการและเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล.-- บทที่ 5: การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล.-- บทที่ 6: การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.-- บทที่ 7: การเขียนรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23824 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000385359 LB1131 ก514 2556 Book Main Library General Shelf Available ตำราพื้นฐานวิชาชีพการแพทย์แผนไทย เล่ม 3: หลักการวิจัยเบื้องต้นพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน / ยงศักดิ์ ตันติปิฎก / นนทบุรี: กลุ่มงานวิชาการเภสัชกรรมแผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย - 2561
Title : ตำราพื้นฐานวิชาชีพการแพทย์แผนไทย เล่ม 3: หลักการวิจัยเบื้องต้นพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน Material Type: printed text Authors: ยงศักดิ์ ตันติปิฎก, Author ; รวงทิพย์ ตันติปิฎก, Author Publisher: นนทบุรี: กลุ่มงานวิชาการเภสัชกรรมแผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย Publication Date: 2561 Pagination: 128 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 29.2 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-113511-9 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การแพทย์แผนไทย -- ตำรา
[LCSH]พฤกษศาสตร์Keywords: การแพทย์แผนไทย,
วิจัยทางการแพทย์แผนไทย
พฤกษศาสตร์Class number: WB50 ย128ต 2561 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28065 ตำราพื้นฐานวิชาชีพการแพทย์แผนไทย เล่ม 3: หลักการวิจัยเบื้องต้นพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน [printed text] / ยงศักดิ์ ตันติปิฎก, Author ; รวงทิพย์ ตันติปิฎก, Author . - [S.l.] : นนทบุรี: กลุ่มงานวิชาการเภสัชกรรมแผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย, 2561 . - 128 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 29.2 ซม.
ISBN : 978-6-16-113511-9
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การแพทย์แผนไทย -- ตำรา
[LCSH]พฤกษศาสตร์Keywords: การแพทย์แผนไทย,
วิจัยทางการแพทย์แผนไทย
พฤกษศาสตร์Class number: WB50 ย128ต 2561 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28065 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607352 WB50 ย128ต 2561 v.3 Book Main Library Nursing Shelf Available Old book collection. ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ / รศรินทร์ เกรย์ / นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - 2556
Collection Title: Old book collection Title : ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ Original title : Happiness in Phang-nga Phuket and Baan Nam Khem after Tsunami Material Type: printed text Authors: รศรินทร์ เกรย์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2556 Pagination: 108 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี Size: 25 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279398-1 Price: บริจาค. General note: โครงการ "รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี" ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิด สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดำเนินชีวิต
[LCSH]ความสุข -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สึนามิ -- ไทย (ภาคใต้)
[LCSH]สุขภาพจิตKeywords: สุขภาพจิต.
การดำเนินชีวิต.
สึนามิ.
ภูเก็ต.
พังงา.
บ้านน้ำเค็ม.
วิจัย.Class number: WM270 ร787 2556 Contents note: บทนำ.-- Executive summary.-- ข้อมูลพื้นฐานของพัีงงาและภูเก็ต. -- ข้อค้นพบความสุขจากพื้นที่...พังงาและภูเก็ต.-- บ้านน้ำเค็มแห่งความสุข...การมีจิตอาสาภายหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23318 Old book collection. ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ = Happiness in Phang-nga Phuket and Baan Nam Khem after Tsunami [printed text] / รศรินทร์ เกรย์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556 . - 108 หน้า. : ภาพประกอบสี ; 25 ซม.
ISBN : 978-6-16-279398-1 : บริจาค.
โครงการ "รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี" ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิด สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดำเนินชีวิต
[LCSH]ความสุข -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สึนามิ -- ไทย (ภาคใต้)
[LCSH]สุขภาพจิตKeywords: สุขภาพจิต.
การดำเนินชีวิต.
สึนามิ.
ภูเก็ต.
พังงา.
บ้านน้ำเค็ม.
วิจัย.Class number: WM270 ร787 2556 Contents note: บทนำ.-- Executive summary.-- ข้อมูลพื้นฐานของพัีงงาและภูเก็ต. -- ข้อค้นพบความสุขจากพื้นที่...พังงาและภูเก็ต.-- บ้านน้ำเค็มแห่งความสุข...การมีจิตอาสาภายหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23318 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356111 WM270 ร787 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000356129 WM270 ร787 2556 c.2 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. วิจัยจากงานประจำ เรียนแบบทีละขั้น / ศิริพร จิรวัฒน์กุล / กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์ - 2555
Collection Title: Old book collection Title : วิจัยจากงานประจำ เรียนแบบทีละขั้น Original title : R to R step by step Material Type: printed text Authors: ศิริพร จิรวัฒน์กุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์ Publication Date: 2555 Pagination: 156 หน้า. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-713623-3 Price: 110.00 General note: over 10 year Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การแพทย์ -- วิจัย
[LCSH]วิจัย
[LCSH]วิจัย -- การเขียน
[LCSH]วิจัยปฎิบัติการKeywords: การเขียนรายงาน.
วิจัยปฏิบัิติการ.
วิจัย.Class number: W20.5 ศ463 2555 Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23405 Old book collection. วิจัยจากงานประจำ เรียนแบบทีละขั้น = R to R step by step [printed text] / ศิริพร จิรวัฒน์กุล, Author . - กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2555 . - 156 หน้า. ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-713623-3 : 110.00
over 10 year
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การแพทย์ -- วิจัย
[LCSH]วิจัย
[LCSH]วิจัย -- การเขียน
[LCSH]วิจัยปฎิบัติการKeywords: การเขียนรายงาน.
วิจัยปฏิบัิติการ.
วิจัย.Class number: W20.5 ศ463 2555 Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23405 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000388379 W20.5 ศ463 2555 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000388403 W20.5 ศ463 2555 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000388411 W20.5 ศ463 2555 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000388429 W20.5 ศ463 2555 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000388387 W20.5 ศ463 2555 c.5 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน อาภาพร เผ่าวัฒนา การพยาบาลครอบครัว ดารุณี, จงอุดมการณ์ SIU RS-T. การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า / จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า Original title : The Investment Evaluation Study of Biomass Power Plant with Downdraft Gasification 850 kW from Eucalyptus Wood Chip Material Type: printed text Authors: จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 139 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เทคโนโลยีแก๊ซซิฟิเคชั่น
แก๊ซซิฟายเออร์แบบไหลลง
ชีวมวล
โปรดิวเซอร์แก๊ซ
การประเมินโครงการ
การประเมินระหว่างดำเนินโครงการ
ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP)Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26569 SIU RS-T. การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า = The Investment Evaluation Study of Biomass Power Plant with Downdraft Gasification 850 kW from Eucalyptus Wood Chip [printed text] / จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 139 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592202 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592194 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU THE-T. การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ / นันทพงศ์ อินทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ : Policy Evaluation of Copyright ACT 2573 (1994) For The Copyright Infringement in Cinematographic Works Material Type: printed text Authors: นันทพงศ์ อินทอง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; บุญทัน ดอกไธสง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 194 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การละเมิดลิขสิทธิ์
[LCSH]ลิขสิทธิ์Keywords: การประเมินนโยบาย, การละเมิดลขสิทธิ์งานภาพยนตร์, พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ 2) เพื่อประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ 3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ ผู้วิจัย และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีโครงสร้าง รวมทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 38 คน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็น 3 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์เป็นหน่วยปฏิบัติงานหลัก ได้แก่ 1) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2) กรมทรัพย์สินทางปัญญา 3) สำนักงานอัยการฝ่ายคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ส่วนที่สอง เป็นการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรก คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สอง ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สาม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สี่ ผู้จัดการโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ ในระดับมหภาพ และการดำเนินการในระดับจุลภาพเป็นเพียงดำเนินการตามผลของการกระทำผิดเท่านั้น ไม่มีการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การป้องกันปราบปรามมีความยากลำบาก และจากการประเมินผลนโยบายการนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากมีการประกาศใช้ พรบ. ลิขสิทธิ์นี้ การละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ เป็นปรากฎการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่มีวิธีการศึกษาในการหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ถึงแม้ว่ามีการจับกุม ดำเนินคดี หรือการยอมความ แต่ผู้ละเมิดยังมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ผู้นำของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการละเมิดลิขสิทธิ์เท่าที่ควรจะเป็นในเรื่องการสื่อสาร การสั่งการ ก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ คือ ทฤษฎีทางหลักนิติศาสตร์ กับ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ มีความไม่สอดคล้องกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ ด้านมหภาพ ผู้นำรัฐควรสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนให้เกิดวัฒนธรรมและค่านิยมให้เกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ รัฐควรกำหนดอัตราโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำความผิด เพื่อการแก้ไขปัญหาการใช้โทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการใช้สิทธิโดยมิชอบของเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรมีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงกฎหมายลิขสิทธิ์อย่างสม่ำเสมอ ควรจัดให้มีการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ด้านจุลภาพ ในหน่วยปฏิบัติงานควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงความผิดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ และในกระบวนการการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27771 SIU THE-T. การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ : Policy Evaluation of Copyright ACT 2573 (1994) For The Copyright Infringement in Cinematographic Works [printed text] / นันทพงศ์ อินทอง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; บุญทัน ดอกไธสง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 194 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การละเมิดลิขสิทธิ์
[LCSH]ลิขสิทธิ์Keywords: การประเมินนโยบาย, การละเมิดลขสิทธิ์งานภาพยนตร์, พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ 2) เพื่อประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ 3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ ผู้วิจัย และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีโครงสร้าง รวมทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 38 คน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็น 3 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์เป็นหน่วยปฏิบัติงานหลัก ได้แก่ 1) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2) กรมทรัพย์สินทางปัญญา 3) สำนักงานอัยการฝ่ายคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ส่วนที่สอง เป็นการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรก คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สอง ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สาม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สี่ ผู้จัดการโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ ในระดับมหภาพ และการดำเนินการในระดับจุลภาพเป็นเพียงดำเนินการตามผลของการกระทำผิดเท่านั้น ไม่มีการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การป้องกันปราบปรามมีความยากลำบาก และจากการประเมินผลนโยบายการนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากมีการประกาศใช้ พรบ. ลิขสิทธิ์นี้ การละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ เป็นปรากฎการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่มีวิธีการศึกษาในการหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ถึงแม้ว่ามีการจับกุม ดำเนินคดี หรือการยอมความ แต่ผู้ละเมิดยังมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ผู้นำของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการละเมิดลิขสิทธิ์เท่าที่ควรจะเป็นในเรื่องการสื่อสาร การสั่งการ ก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ คือ ทฤษฎีทางหลักนิติศาสตร์ กับ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ มีความไม่สอดคล้องกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ ด้านมหภาพ ผู้นำรัฐควรสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนให้เกิดวัฒนธรรมและค่านิยมให้เกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ รัฐควรกำหนดอัตราโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำความผิด เพื่อการแก้ไขปัญหาการใช้โทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการใช้สิทธิโดยมิชอบของเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรมีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงกฎหมายลิขสิทธิ์อย่างสม่ำเสมอ ควรจัดให้มีการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ด้านจุลภาพ ในหน่วยปฏิบัติงานควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงความผิดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ และในกระบวนการการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27771 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597771 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597805 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก Original title : The Evaluation of First Car Policy Material Type: printed text Authors: อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 95 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก = The Evaluation of First Car Policy [printed text] / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 95 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593739 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593747 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน / มณฑิรา ชุนลิ้ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน Original title : Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University Material Type: printed text Authors: มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 156 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน = Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University [printed text] / มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 156 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596708 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596690 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด / กนกวรรณ สว่างศรี in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Original title : Pain management in patients undergoing open heart surgery Material Type: printed text Authors: กนกวรรณ สว่างศรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.2-15 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.2-15Keywords: การจัดการความปวด.การประเมินความปวด.ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด. Abstract: การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เป็นการผ่าตัดที่มีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อมาก ร่วมกับภายหลังผ่าตัด ผู้ป่วยต้องคาท่อช่วยหายใจ สายระบายทรวงอก และสายสวนต่างๆ ซึ่งล้วนก่อให้เกิดความปวดมากขึ้น การจัดการความปวดควรครอบคลุมระยะก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัด ภายหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดในระยะวิกฤต ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีข้อจำกัดในการสื่อสารจากการคาท่อช่วยหายใจและการได้รับยาระงับประสาท จึงมีความเสี่ยงที่อาจจะไม่ได้รับการจัดการความปวดที่เพียงพอ การประเมินความปวดเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดการความปวด เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความปวด ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้ดี และเครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้จำกัด พยาบาลผู้ดูแลในหน่วยวิกฤตจึงควรเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดที่เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อนำไปสู่การจัดการความปวดด้วยวิธีการใช้ยาและไม่ใช้ยาอย่างเหมาะสม และเกิดผลลัพธ์ของการจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27484 [article] การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด = Pain management in patients undergoing open heart surgery [printed text] / กนกวรรณ สว่างศรี, Author . - 2017 . - p.2-15.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.2-15Keywords: การจัดการความปวด.การประเมินความปวด.ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด. Abstract: การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เป็นการผ่าตัดที่มีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อมาก ร่วมกับภายหลังผ่าตัด ผู้ป่วยต้องคาท่อช่วยหายใจ สายระบายทรวงอก และสายสวนต่างๆ ซึ่งล้วนก่อให้เกิดความปวดมากขึ้น การจัดการความปวดควรครอบคลุมระยะก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัด ภายหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดในระยะวิกฤต ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีข้อจำกัดในการสื่อสารจากการคาท่อช่วยหายใจและการได้รับยาระงับประสาท จึงมีความเสี่ยงที่อาจจะไม่ได้รับการจัดการความปวดที่เพียงพอ การประเมินความปวดเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดการความปวด เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความปวด ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้ดี และเครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้จำกัด พยาบาลผู้ดูแลในหน่วยวิกฤตจึงควรเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดที่เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อนำไปสู่การจัดการความปวดด้วยวิธีการใช้ยาและไม่ใช้ยาอย่างเหมาะสม และเกิดผลลัพธ์ของการจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27484 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลชุมชน หมวดวิชากฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล / แสงเดือน ปิยะตระกูล / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2560
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลชุมชน หมวดวิชากฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล Material Type: printed text Authors: แสงเดือน ปิยะตระกูล, Author ; วิไล ตั้งปนิธานดี, Associated Name ; กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์, Associated Name ; รัตนาภรณ์ ศิริวัฒน์ชัยพร, Associated Name ; อรุณี เผื่อนด้วง, Associated Name ; จิราพร สุวะมาตย์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2560 Pagination: 112 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-931395-3 Price: บริจาค General note: การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ : หมวดวิชาการพยาบาลชุมชน --
บทที่ 1 กลวิธีและนวัตกรรมในงานสาธารณสุข : การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ -- บทที่ 2 บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชนในการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ในชุมชน -- บทที่ 3 แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ : นโยบายสู่การปฏิบัติ -- บทที่ 4 กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน : ขั้นตอนการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน(พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชาชนในชุมชน) -- การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ : หมวดวิชากฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล -- บทที่ 1 จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ -- บทที่ 2 กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ -- บทที่ 3 กลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนเรื่องการควบคุมการบริโภคยาสูบในหมวดวิชากฎหมาย และจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 10 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]การเรียนการสอน -- กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล
[NLM]การเรียนการสอน -- การพยาบาลชุมชน
[NLM]ยาสูบ -- การควบคุมKeywords: ยาสูบ, การเรียนการสอน, การพยาบาลชุมชน, กฎหมาย, จรรยาบรรณวิชาชีพ Class number: WY18 ส282ก 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28238 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลชุมชน หมวดวิชากฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล [printed text] / แสงเดือน ปิยะตระกูล, Author ; วิไล ตั้งปนิธานดี, Associated Name ; กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์, Associated Name ; รัตนาภรณ์ ศิริวัฒน์ชัยพร, Associated Name ; อรุณี เผื่อนด้วง, Associated Name ; จิราพร สุวะมาตย์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2560 . - 112 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
ISBN : 978-6-16-931395-3 : บริจาค
การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ : หมวดวิชาการพยาบาลชุมชน --
บทที่ 1 กลวิธีและนวัตกรรมในงานสาธารณสุข : การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบ -- บทที่ 2 บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชนในการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ในชุมชน -- บทที่ 3 แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ : นโยบายสู่การปฏิบัติ -- บทที่ 4 กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน : ขั้นตอนการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน(พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชาชนในชุมชน) -- การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ : หมวดวิชากฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล -- บทที่ 1 จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ -- บทที่ 2 กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ -- บทที่ 3 กลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนเรื่องการควบคุมการบริโภคยาสูบในหมวดวิชากฎหมาย และจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 10 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]การเรียนการสอน -- กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล
[NLM]การเรียนการสอน -- การพยาบาลชุมชน
[NLM]ยาสูบ -- การควบคุมKeywords: ยาสูบ, การเรียนการสอน, การพยาบาลชุมชน, กฎหมาย, จรรยาบรรณวิชาชีพ Class number: WY18 ส282ก 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28238 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607007 WY18 ส282ก 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607010 WY18 ส282ก 2560 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607008 WY18 ส282ก 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607005 WY18 ส282ก 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607001 WY18 ส282ก 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607012 WY18 ส282ก 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607009 WY18 ส282ก 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607006 WY18 ส282ก 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607002 WY18 ส282ก 2560 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607011 WY18 ส282ก 2560 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ / สุนันทา บุญรักษา / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2560
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ Material Type: printed text Authors: สุนันทา บุญรักษา, Author ; วัฒนีย์ ปานจินดา, Author ; นัยนา สุแพง, Author ; สุดาวดี แก้วดวงโต, Author Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2560 Pagination: 276 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-931391-5 Price: - General note: บทที่ 1 พัฒนาการการบริโภคยาสูบตามช่วงวัย -- บทที่ 2 การพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ที่บริโภคยาสูบที่มีปัญหาโรคเรื้อรังสำคัญของประเทศ -- บทที่ 3 การพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ที่บริโภคยาสูบที่มีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ -- บทที่ 4 การพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ที่บริโภคยาสูบที่ได้รับการผ่าตัด
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 8 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาล -- ในวัยผู้ใหญ่
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]การเรียนการสอน -- การพยาบาล
[NLM]ยาสูบ -- การควบคุมKeywords: ยาสูบ, การเรียนการสอน, การพยาบาลผู้ใหญ่ Class number: WY152 ก446 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28239 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ [printed text] / สุนันทา บุญรักษา, Author ; วัฒนีย์ ปานจินดา, Author ; นัยนา สุแพง, Author ; สุดาวดี แก้วดวงโต, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2560 . - 276 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
ISBN : 978-6-16-931391-5 : -
บทที่ 1 พัฒนาการการบริโภคยาสูบตามช่วงวัย -- บทที่ 2 การพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ที่บริโภคยาสูบที่มีปัญหาโรคเรื้อรังสำคัญของประเทศ -- บทที่ 3 การพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ที่บริโภคยาสูบที่มีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ -- บทที่ 4 การพยาบาลผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ที่บริโภคยาสูบที่ได้รับการผ่าตัด
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 8 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาล -- ในวัยผู้ใหญ่
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]การเรียนการสอน -- การพยาบาล
[NLM]ยาสูบ -- การควบคุมKeywords: ยาสูบ, การเรียนการสอน, การพยาบาลผู้ใหญ่ Class number: WY152 ก446 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28239 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607247 WY152 ก446 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607248 WY152 ก446 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607251 WY152 ก446 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607253 WY152 ก446 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607245 WY152 ก446 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607250 WY152 ก446 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607249 WY152 ก446 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607252 WY152 ก446 2560 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Midwifery Pairman, Sally Klaus & Fanaroff's care of the Fanaroff,, Avroy A. The Washington manual White,, Andrew J. การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ หมวดวิชาการพยาบาลจิตเวช / วันเพ็ญ รักษ์ปวงชน / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2560
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ หมวดวิชาการพยาบาลจิตเวช Material Type: printed text Authors: วันเพ็ญ รักษ์ปวงชน, Author ; กัลยา วิริยะ, Author ; พรศิริ พฤกษชาติ, Author ; นงนุช วิศิษฏ์ธรรมศรี, Author ; อารยา หาอุปละ, Author ; สุปาณี เสนาดิสัย, Editor ; สุรินธร กลัมพากร, Editor Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2560 Pagination: 80 น. Layout: ตาราง Size: 25.9 ซม. Price: - General note: หมวดวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ --
บทที่ 1 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในหน่วยวางแผนครอบครัว -- บทที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในหน่วยฝากครรภ์ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในหน่วยห้องคลอด -- บทที่ 4 การจัดการเรียนการสอนในหน่วยหลังคลอดและทารกแรกเกิด
หมวดวิชาการพยาบาลจิตเวช --
บทที่่ 1 ผลของการบริโภคยาสูบต่อการเจ็บป่วยทางจิตเวช -- บทที่ 2 ทักษะในการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชเลิกบุหรี่ -- บทที่ 3 แนวทางการจัดบริการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อส่งเสริมการปรับพฤติกรรมการเลิกบุหรี่สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 10 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาลจิตเวชศาสตร์
[NLM]การพยาบาลสูติศาสตร์
[NLM]การศึกษาพยาบาล -- หลักสูตร
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]พยาบาล, การศึกษาKeywords: ยาสูบ, การเรียนการสอน, การพยาบาลมารดาทารก, ผดุงครรภ์, การพยาบาลจิตเวช Class number: WY157 ก446 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28255 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ หมวดวิชาการพยาบาลจิตเวช [printed text] / วันเพ็ญ รักษ์ปวงชน, Author ; กัลยา วิริยะ, Author ; พรศิริ พฤกษชาติ, Author ; นงนุช วิศิษฏ์ธรรมศรี, Author ; อารยา หาอุปละ, Author ; สุปาณี เสนาดิสัย, Editor ; สุรินธร กลัมพากร, Editor . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2560 . - 80 น. : ตาราง ; 25.9 ซม.
-
หมวดวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ --
บทที่ 1 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในหน่วยวางแผนครอบครัว -- บทที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในหน่วยฝากครรภ์ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในหน่วยห้องคลอด -- บทที่ 4 การจัดการเรียนการสอนในหน่วยหลังคลอดและทารกแรกเกิด
หมวดวิชาการพยาบาลจิตเวช --
บทที่่ 1 ผลของการบริโภคยาสูบต่อการเจ็บป่วยทางจิตเวช -- บทที่ 2 ทักษะในการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชเลิกบุหรี่ -- บทที่ 3 แนวทางการจัดบริการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อส่งเสริมการปรับพฤติกรรมการเลิกบุหรี่สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 10 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาลจิตเวชศาสตร์
[NLM]การพยาบาลสูติศาสตร์
[NLM]การศึกษาพยาบาล -- หลักสูตร
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]พยาบาล, การศึกษาKeywords: ยาสูบ, การเรียนการสอน, การพยาบาลมารดาทารก, ผดุงครรภ์, การพยาบาลจิตเวช Class number: WY157 ก446 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28255 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607031 WY157 ก446 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607029 WY157 ก446 2560 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607028 WY157 ก446 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607036 WY157 ก446 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607034 WY157 ก446 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607035 WY157 ก446 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607027 WY157 ก446 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607033 WY157 ก446 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607030 WY157 ก446 2560 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607032 WY157 ก446 2560 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น / นิศารัตน์ ชูชาญ / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2560
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น Material Type: printed text Authors: นิศารัตน์ ชูชาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2560 Pagination: 82 น. Layout: ตาราง Size: 25.9 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-914479-3 General note: บทนำ การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น -- หน่วยที่ 1 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ วิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น: ภาคทฤษฎี -- บทที่ 1 พัฒนาการด้านภาพลักษณ์ในเด็กและวัยรุ่นกับการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 2 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงทางสุขภาพกับการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางสุขภาพในระบบหายใจกับการควบคุมยาสูบ -- หน่วยที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ วิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น: ภาคปฏิบัติ
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 10 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาลกุมารเวชศาสตร์
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุมKeywords: การเรียนการสอน, การศึกษาพยาบาล, การพยาบาลเด็ก, ยาสูบ Class number: WY159 น689ก 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28250 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น [printed text] / นิศารัตน์ ชูชาญ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2560 . - 82 น. : ตาราง ; 25.9 ซม.
ISBN : 978-6-16-914479-3
บทนำ การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น -- หน่วยที่ 1 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ วิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น: ภาคทฤษฎี -- บทที่ 1 พัฒนาการด้านภาพลักษณ์ในเด็กและวัยรุ่นกับการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 2 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงทางสุขภาพกับการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางสุขภาพในระบบหายใจกับการควบคุมยาสูบ -- หน่วยที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ วิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น: ภาคปฏิบัติ
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 10 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาลกุมารเวชศาสตร์
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุมKeywords: การเรียนการสอน, การศึกษาพยาบาล, การพยาบาลเด็ก, ยาสูบ Class number: WY159 น689ก 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28250 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607013 WY159 น689ก 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607022 WY159 น689ก 2560 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607018 WY159 น689ก 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607016 WY159 น689ก 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607019 WY159 น689ก 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607021 WY159 น689ก 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607020 WY159 น689ก 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607014 WY159 น689ก 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607017 WY159 น689ก 2560 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607015 WY159 น689ก 2560 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ / ชมนาด พจนามาตร์ / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2560
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ Material Type: printed text Authors: ชมนาด พจนามาตร์, Author ; โสภาพรรณ อินต๊ะเผือก, Author ; พงษ์ภัทร์ รัตนสุวรรณ, Author ; บุบผา วิริยรัตนกุล, Author ; นภมน ยารวง, Author ; ขนิษฐา พิศฉลาด, Author ; มัลลิกา มาตระกูล, Author Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2560 Pagination: 92 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-931392-2 Price: - General note: บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ -- บทที่ 2 ปัจจัยกำหนดสุขภาพที่เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ -- บทที่ 3 นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การป้องกันและควบคุมยาสูบ -- บทที่ 4 แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยน -- พฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 5 แนวคิดการสนับสนุนทางสังคม : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 6 ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 7 ทฤษฎีความสามรถตนเอง : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 8 แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 9 การบำบัดผู้สูบบุหรี่ : ยาแผนปัจจุบัน และสมุนไพรไทย -- บทที่ 10 การจัดกิจกรรมการเรียนรู็ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การศึกษาพยาบาล -- หลักสูตร
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]การส่งเสริมสุขภาพKeywords: สุขภาพ, การสร้างเสริมสุขภาพ, ยาสูบ, การเรียนการสอน Class number: WA540.JT3 ก446 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28261 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ [printed text] / ชมนาด พจนามาตร์, Author ; โสภาพรรณ อินต๊ะเผือก, Author ; พงษ์ภัทร์ รัตนสุวรรณ, Author ; บุบผา วิริยรัตนกุล, Author ; นภมน ยารวง, Author ; ขนิษฐา พิศฉลาด, Author ; มัลลิกา มาตระกูล, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2560 . - 92 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
ISBN : 978-6-16-931392-2 : -
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ -- บทที่ 2 ปัจจัยกำหนดสุขภาพที่เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ -- บทที่ 3 นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การป้องกันและควบคุมยาสูบ -- บทที่ 4 แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยน -- พฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 5 แนวคิดการสนับสนุนทางสังคม : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 6 ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 7 ทฤษฎีความสามรถตนเอง : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 8 แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 9 การบำบัดผู้สูบบุหรี่ : ยาแผนปัจจุบัน และสมุนไพรไทย -- บทที่ 10 การจัดกิจกรรมการเรียนรู็ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การศึกษาพยาบาล -- หลักสูตร
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]การส่งเสริมสุขภาพKeywords: สุขภาพ, การสร้างเสริมสุขภาพ, ยาสูบ, การเรียนการสอน Class number: WA540.JT3 ก446 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28261 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607100 WA540.JT3 ก446 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 07/17/2024 32002000607120 WA540.JT3 ก446 2560 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607104 WA540.JT3 ก446 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607105 WA540.JT3 ก446 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607112 WA540.JT3 ก446 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607231 WA540.JT3 ก446 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607106 WA540.JT3 ก446 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607187 WA540.JT3 ก446 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607205 WA540.JT3 ก446 2560 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607215 WA540.JT3 ก446 2560 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available