From this page you can:
Home |
Search results
34 result(s) search for keyword(s) 'การนิเทศพยาบาล. หัวหน้าหอผู้ป่วย. บริการการพยาบาล. ความพึงพอใจ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง / กนกพร เนติเมธี / กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2539
Title : ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง : ต่อความพึงพอใจในงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Effects of using nursing service supervisory model for supervisor nurse toword head nurse and nurse job satisfaction in general hospitals Material Type: printed text Authors: กนกพร เนติเมธี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2539 Pagination: ก-ฎ, 226 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-636-499-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การนิเทศการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การนิเทศพยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บริการการพยาบาล.
ความพึงพอใจ.Class number: WY18 ก151 2539 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23324 ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง = Effects of using nursing service supervisory model for supervisor nurse toword head nurse and nurse job satisfaction in general hospitals : ต่อความพึงพอใจในงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / กนกพร เนติเมธี, Author . - กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 . - ก-ฎ, 226 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-636-499-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การนิเทศการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การนิเทศพยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บริการการพยาบาล.
ความพึงพอใจ.Class number: WY18 ก151 2539 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23324 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357325 THE WY18 ก151 2539 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ / ปภัสร จันทร์อร่าม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ Original title : Measurement and Evaluation of Satisfaction of Facebook Website Visitors with the ACSI Model Material Type: printed text Authors: ปภัสร จันทร์อร่าม, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 58 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความพอใจ
[LCSH]เฟซบุ๊ค -- การวิเคราะห์
[LCSH]เว็บไซต์ -- การประเมินKeywords: การวัดและประเมินผล,
ความพึงพอใจ,
เว็บไซต์เฟซบุ๊ก,
แบบจำลอง เอ ซี เอส ไอAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคล และศึกษาระดับความพึงพอใจของ ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ ในปัจจัย 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังของลูกค้า ด้านคุณภาพของสินค้า ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ เครื่องมือที่ใช้สำหรับงานวิจัย คือ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจชองผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 26 - 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้มากกว่า 15,000 – 35,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านความคาดหวัง พบว่า มีร้านค้าที่ขายสินค้าอยู่จริง สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ได้พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณภาพ พบว่า มีคุณภาพสินค้าตรงตามที่ให้ข้อมูลไว้ สามารถออกความคิดเห็น ติชม หรือร้องเรียนต่อคุณภาพสินค้าได้ พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้บริโภค พบว่า มีการตอบสนองต่อการสื่อสารที่รวดเร็วในด้านข้อมูลของสินค้า ผู้ใช้บริการนิยมใช้บริการ เฟซบุ๊ก มีความสะดวกในการหาข้อมูลของสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กมีทิศทางด้านบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการ โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก (Mean = 4.01 และ S.D. = 0.76) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ เพศ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณภาพ ระดับการศึกษา แตกต่างกันด้านคุณภาพ อาชีพ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ รายได้ แตกต่างกัน ด้านคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BSCS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27268 SIU THE-T. การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ = Measurement and Evaluation of Satisfaction of Facebook Website Visitors with the ACSI Model [printed text] / ปภัสร จันทร์อร่าม, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 58 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความพอใจ
[LCSH]เฟซบุ๊ค -- การวิเคราะห์
[LCSH]เว็บไซต์ -- การประเมินKeywords: การวัดและประเมินผล,
ความพึงพอใจ,
เว็บไซต์เฟซบุ๊ก,
แบบจำลอง เอ ซี เอส ไอAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคล และศึกษาระดับความพึงพอใจของ ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ ในปัจจัย 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังของลูกค้า ด้านคุณภาพของสินค้า ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ เครื่องมือที่ใช้สำหรับงานวิจัย คือ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจชองผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 26 - 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้มากกว่า 15,000 – 35,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านความคาดหวัง พบว่า มีร้านค้าที่ขายสินค้าอยู่จริง สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ได้พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณภาพ พบว่า มีคุณภาพสินค้าตรงตามที่ให้ข้อมูลไว้ สามารถออกความคิดเห็น ติชม หรือร้องเรียนต่อคุณภาพสินค้าได้ พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้บริโภค พบว่า มีการตอบสนองต่อการสื่อสารที่รวดเร็วในด้านข้อมูลของสินค้า ผู้ใช้บริการนิยมใช้บริการ เฟซบุ๊ก มีความสะดวกในการหาข้อมูลของสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กมีทิศทางด้านบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการ โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก (Mean = 4.01 และ S.D. = 0.76) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ เพศ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณภาพ ระดับการศึกษา แตกต่างกันด้านคุณภาพ อาชีพ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ รายได้ แตกต่างกัน ด้านคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BSCS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27268 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594901 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594893 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ธวัชชัย แตงอ่อน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : People’s Satisfaction Towards Services Provided by the Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ธวัชชัย แตงอ่อน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 66 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ข้าราชการ -- ไทย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความพึงพอใจ
การให้บริการ
กองกำกับการสายตรวจ
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาเรื่องความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของ กองกำกับการสายตรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26096 SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = People’s Satisfaction Towards Services Provided by the Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau [printed text] / ธวัชชัย แตงอ่อน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 66 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ข้าราชการ -- ไทย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความพึงพอใจ
การให้บริการ
กองกำกับการสายตรวจ
กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาเรื่องความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของ กองกำกับการสายตรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26096 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591451 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590107 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-15 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจนครบาล บางรัก / วิภาวี วรรณสอน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจนครบาล บางรัก Original title : People’s Satisfaction towards Services from Polices at Bang Rak Metropolitan Police Station Material Type: printed text Authors: วิภาวี วรรณสอน, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การให้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจKeywords: ความพึงพอใจ,
การให้บริการ,
สถานีตำรวจAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรักและเป็นแนวทางเสริมสร้างบริการให้เป็นที่พึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากประชาชนที่เคยใช้บริการที่สถานีตำรวจนครบาลบางรัก ใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ตัวแปรทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 26 – 35 ปี มีระดับการศึกษาปริญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 -20,000 บาท ความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรัก ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยพบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดเป็นอันดับแรก คือ ด้านขั้นตอนกระบวนการในการให้บริการ รองลงมาคือ ด้านวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ อุปกรณ์เทคโนโลยี ด้านสภาพแวดล้อม ด้านบุคลากร และด้านความสามารถในการปฏิบัติงาน ด้านอาคารสถานที่ และด้านการทำงานเป็นทีม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนและอาชีพ แตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรักที่ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27267 SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจนครบาล บางรัก = People’s Satisfaction towards Services from Polices at Bang Rak Metropolitan Police Station [printed text] / วิภาวี วรรณสอน, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การให้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจKeywords: ความพึงพอใจ,
การให้บริการ,
สถานีตำรวจAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรักและเป็นแนวทางเสริมสร้างบริการให้เป็นที่พึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากประชาชนที่เคยใช้บริการที่สถานีตำรวจนครบาลบางรัก ใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ตัวแปรทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 26 – 35 ปี มีระดับการศึกษาปริญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 -20,000 บาท ความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรัก ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยพบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดเป็นอันดับแรก คือ ด้านขั้นตอนกระบวนการในการให้บริการ รองลงมาคือ ด้านวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ อุปกรณ์เทคโนโลยี ด้านสภาพแวดล้อม ด้านบุคลากร และด้านความสามารถในการปฏิบัติงาน ด้านอาคารสถานที่ และด้านการทำงานเป็นทีม ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนและอาชีพ แตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลบางรักที่ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27267 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594877 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-33 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594885 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-33 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ / วรสิทธิ์ โถงโฉม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ Original title : Satisfaction of People towards Services of Bangkok Fire and Rescue Department: Case Study of Suan Mali Fire Station Material Type: printed text Authors: วรสิทธิ์ โถงโฉม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การให้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -- กรุงเทพมหานคร -- การให้บริการKeywords: การให้บริการ,
ความพึงพอใจAbstract: การศึกษาครั้งนี้ ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ และนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาสำหรับ แนะแนวทางการแก้ไขปัญหาต่อการให้บริการ เป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา และอาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนผู้รับบริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ จำนวน 184 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบสมมติฐานใช้ค่าสถิติ t – test ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ใช้ค่าสถิติ One- way ANOVA และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ รองลงมาคือ ด้านการให้บริการอย่างเสมอภาคและด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า โดยในด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องอาคารสถานที่ที่ให้บริการมีความเหมาะสม ในด้านการใช้บริการอย่างเสมอภาค ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องเจ้าหน้าที่บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และในด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า ประชาชนมีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ พบว่าเพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษาและอาชีพ ต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26724 SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ = Satisfaction of People towards Services of Bangkok Fire and Rescue Department: Case Study of Suan Mali Fire Station [printed text] / วรสิทธิ์ โถงโฉม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การให้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -- กรุงเทพมหานคร -- การให้บริการKeywords: การให้บริการ,
ความพึงพอใจAbstract: การศึกษาครั้งนี้ ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ และนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาสำหรับ แนะแนวทางการแก้ไขปัญหาต่อการให้บริการ เป็นแนวทางเสริมสร้างความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา และอาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนผู้รับบริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ จำนวน 184 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบสมมติฐานใช้ค่าสถิติ t – test ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ใช้ค่าสถิติ One- way ANOVA และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา : สถานีดับเพลิงสวนมะลิ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ รองลงมาคือ ด้านการให้บริการอย่างเสมอภาคและด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า โดยในด้านการให้บริการอย่างเพียงพอ ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องอาคารสถานที่ที่ให้บริการมีความเหมาะสม ในด้านการใช้บริการอย่างเสมอภาค ประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องเจ้าหน้าที่บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส และในด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้า ประชาชนมีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ พบว่าเพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษาและอาชีพ ต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร สถานีดับเพลิงสวนมะลิ ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26724 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593325 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593309 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-04 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการใช้บริการเจ้าหน้าที่ตำรวจ สถานีตำรวจนครบาลดอนเมือง กรุงเทพมหานคร / ชโยธรณ์ ชุ่มอูป / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการใช้บริการเจ้าหน้าที่ตำรวจ สถานีตำรวจนครบาลดอนเมือง กรุงเทพมหานคร Original title : The Satisfaction of the Public towards the Police Service Don Muang Police Station, Bangkok Material Type: printed text Authors: ชโยธรณ์ ชุ่มอูป, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 70 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-29
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ความพึงพอใจของประชาชน,
การใช้บริการเจ้าหน้าที่ตำรวจ,
สถานีตำรวจนครบาลดอนเมืองCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26907 SIU IS-T. ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการใช้บริการเจ้าหน้าที่ตำรวจ สถานีตำรวจนครบาลดอนเมือง กรุงเทพมหานคร = The Satisfaction of the Public towards the Police Service Don Muang Police Station, Bangkok [printed text] / ชโยธรณ์ ชุ่มอูป, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 70 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-29
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ความพึงพอใจของประชาชน,
การใช้บริการเจ้าหน้าที่ตำรวจ,
สถานีตำรวจนครบาลดอนเมืองCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26907 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593986 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-29 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593952 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-29 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / พรรณี ธนกรชัยมงคล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : The Satisfaction of the Parent towards the Education of the Child Development Center Nongrai Pluakdeang Distric Rayong Material Type: printed text Authors: พรรณี ธนกรชัยมงคล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 59 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารการศึกษา
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ผู้ปกครองนักเรียนKeywords: ความพึงพอใจ,
การจัดการศึกษา,
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กAbstract: การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ผู้ปกครองนักเรียนในเขตบริการ จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1) สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน101 คน คิดเป็นร้อยละ 53.20 มีอายุ 30-50 ปี จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 41.60 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีจำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 52.10 และส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 47.40
2) ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ในด้านการบริหารโรงเรียนอยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนอยู่ในระดับมาก ด้านอาคารสถานที่อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากและด้านครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ตามลำดับCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27273 SIU IS-T. ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = The Satisfaction of the Parent towards the Education of the Child Development Center Nongrai Pluakdeang Distric Rayong [printed text] / พรรณี ธนกรชัยมงคล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 59 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารการศึกษา
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ผู้ปกครองนักเรียนKeywords: ความพึงพอใจ,
การจัดการศึกษา,
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กAbstract: การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ผู้ปกครองนักเรียนในเขตบริการ จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1) สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน101 คน คิดเป็นร้อยละ 53.20 มีอายุ 30-50 ปี จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 41.60 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีจำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 52.10 และส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 47.40
2) ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ในด้านการบริหารโรงเรียนอยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนอยู่ในระดับมาก ด้านอาคารสถานที่อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากและด้านครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ตามลำดับCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27273 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595007 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594992 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการของแผนกอายุรกรรมของโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี / จิรัชญา ณ นคร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการของแผนกอายุรกรรมของโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี Original title : Satisfaction of Service Users at Internal Medicine Department in Surat Thani Hospital Material Type: printed text Authors: จิรัชญา ณ นคร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 65 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ใช้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีKeywords: ความพึงพอใจ,
แผนกอายุรกรรมAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้คือ ศึกษาเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จำแนกกลุ่มตัวอย่างตาม เพศ อายุ สถานภาพการแต่งงาน ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และสิทธิในการรักษาพยาบาล ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ใช้บริการแผนกอายุรกรรมจำนวน 253 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากโดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ คุณภาพการบริการ สิ่งอำนวยความสะดวก เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านการให้บริการ ตามลำดับ ผลจากวิเคราะห์เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกอายุรกรรมแยกตามเพศ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และสิทธิในการรักษาพยาบาล โดยภาพรวมไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นเมื่อจำแนกตามอายุ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26798 SIU IS-T. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการของแผนกอายุรกรรมของโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี = Satisfaction of Service Users at Internal Medicine Department in Surat Thani Hospital [printed text] / จิรัชญา ณ นคร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 65 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ใช้บริการ -- ความพอใจ
[LCSH]โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีKeywords: ความพึงพอใจ,
แผนกอายุรกรรมAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้คือ ศึกษาเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จำแนกกลุ่มตัวอย่างตาม เพศ อายุ สถานภาพการแต่งงาน ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และสิทธิในการรักษาพยาบาล ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ใช้บริการแผนกอายุรกรรมจำนวน 253 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากโดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ คุณภาพการบริการ สิ่งอำนวยความสะดวก เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านการให้บริการ ตามลำดับ ผลจากวิเคราะห์เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกอายุรกรรมแยกตามเพศ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และสิทธิในการรักษาพยาบาล โดยภาพรวมไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นเมื่อจำแนกตามอายุ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26798 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593564 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-21 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593556 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-21 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจต่อการใช้บริการของอู่ซ่อมสีรถยนต์ในเขตพื้นที่บางแค กรุงเทพมหานคร / ธนิต ภิรมย์เจียว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจต่อการใช้บริการของอู่ซ่อมสีรถยนต์ในเขตพื้นที่บางแค กรุงเทพมหานคร Original title : Satisfaction of Services of the Painting Garages in Bangkae, Bangkok Material Type: printed text Authors: ธนิต ภิรมย์เจียว, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; รัตนา พลศักดิ์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vi, 47 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-08
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
[LCSH]รถยนต์ -- การพ่นสี
[LCSH]อู่ซ่อมรถยนต์ -- กรุงเทพฯKeywords: ความพึงพอใจ
บริการ
อู่ซ่อมสีรถยนต์
การเลือกCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26561 SIU IS-T. ความพึงพอใจต่อการใช้บริการของอู่ซ่อมสีรถยนต์ในเขตพื้นที่บางแค กรุงเทพมหานคร = Satisfaction of Services of the Painting Garages in Bangkae, Bangkok [printed text] / ธนิต ภิรมย์เจียว, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; รัตนา พลศักดิ์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vi, 47 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-08
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
[LCSH]รถยนต์ -- การพ่นสี
[LCSH]อู่ซ่อมรถยนต์ -- กรุงเทพฯKeywords: ความพึงพอใจ
บริการ
อู่ซ่อมสีรถยนต์
การเลือกCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26561 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592129 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-08 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592145 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-08 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Cross-cultural management Holden,, Nigel J. SIU IS-T. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ ตำรวจกำลังพล จำกัด / จตุรงค์ สุขะเต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ ตำรวจกำลังพล จำกัด Original title : Satisfaction towards Service of Police Human Resources Cooperative Limited Material Type: printed text Authors: จตุรงค์ สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 71 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: ความพึงพอใจ,
คุณภาพการให้บริการAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน ตำแหน่ง และระยะเวลาการเป็นสมาชิก ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด มีความพึงพอใจในด้านบุคลากรผู้ให้บริการเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการบริการและขั้นตอนการให้บริการ ด้านการประชาสัมพันธ์ และอันดับสุดท้ายด้านทรัพยากรสารสนเทศ ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด พบว่า สมาชิกสหกรณ์ที่มีสถานภาพ ระดับการศึกษา และตำแหน่งแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ไม่แตกต่างกัน ส่วนสมาชิกสหกรณ์ที่มีเพศ อายุ อัตราเงินเดือน และระยะเวลาการเป็นสมาชิกแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26793 SIU IS-T. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ ตำรวจกำลังพล จำกัด = Satisfaction towards Service of Police Human Resources Cooperative Limited [printed text] / จตุรงค์ สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 71 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: ความพึงพอใจ,
คุณภาพการให้บริการAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน ตำแหน่ง และระยะเวลาการเป็นสมาชิก ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด มีความพึงพอใจในด้านบุคลากรผู้ให้บริการเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการบริการและขั้นตอนการให้บริการ ด้านการประชาสัมพันธ์ และอันดับสุดท้ายด้านทรัพยากรสารสนเทศ ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด พบว่า สมาชิกสหกรณ์ที่มีสถานภาพ ระดับการศึกษา และตำแหน่งแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ไม่แตกต่างกัน ส่วนสมาชิกสหกรณ์ที่มีเพศ อายุ อัตราเงินเดือน และระยะเวลาการเป็นสมาชิกแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26793 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593507 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593473 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง / สุรชัย ปิตุเตชะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง Original title : People’s Satisfaction with Public Service Administration of Local Governments in Rayong Province Material Type: printed text Authors: สุรชัย ปิตุเตชะ, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 161 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพึงพอใจ
[LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,
การบริหารจัดการการให้บริการ,
ความพึงพอใจในการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการคัดเลือกเทศบาลในจังหวัดระยอง 3 แห่ง แบบกำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นตัวแทนในการศึกษา (purposive sampling) เพื่อสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) รวม 39 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามเชิงลึกกึ่งโครงสร้าง (semi-structured in-depth interview) ในการศึกษาข้อมูลที่เป็นปัจจัยเชิงลึก เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) โดยการนัดหมายเข้าสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล รวมทั้งจัดสัมมนากลุ่มย่อย (focus group) นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตีความและสรุป
ผลการวิจัย พบว่า การจัดเก็บภาษียังไม่สามารถจัดเก็บได้ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากฐานข้อมูลผู้เสียภาษีไม่เป็นปัจจุบัน เพราะบุคลากรมีจำกัด ประชาชนไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรม จึงไม่เต็มใจที่จะเสียภาษี เพราะการประเมินภาษีไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นเรื่องของดุลพินิจเฉพาะบุคคล ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับตำแหน่งจากการลงคะแนนของชาวบ้าน กังวลกับการเสียคะแนนนิยม
การออกใบอนุญาตก่อสร้างล่าช้า ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ขาดอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย
การให้บริการด้านงานทะเบียนราษฎร์และบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความต่อเนื่องของการให้บริการ เพราะให้บริการได้จำกัด เนื่องจากต้องเชื่อมต่อฐานข้อมูลกับศูนย์ข้อมูลของกรมการปกครองซึ่งกระทำได้เฉพาะในเวลาราชการ
จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ เทศบาลควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถพร้อมเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมาะสมและเพียงพอกับการให้บริการแต่ละภารกิจ และจะต้องให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีความเสมอภาค เป็นธรรมและโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบริการสาธารณะสนองตอบความต้องการของประชาชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27942 SIU THE-T. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง = People’s Satisfaction with Public Service Administration of Local Governments in Rayong Province [printed text] / สุรชัย ปิตุเตชะ, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพึงพอใจ
[LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,
การบริหารจัดการการให้บริการ,
ความพึงพอใจในการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการคัดเลือกเทศบาลในจังหวัดระยอง 3 แห่ง แบบกำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นตัวแทนในการศึกษา (purposive sampling) เพื่อสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) รวม 39 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามเชิงลึกกึ่งโครงสร้าง (semi-structured in-depth interview) ในการศึกษาข้อมูลที่เป็นปัจจัยเชิงลึก เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) โดยการนัดหมายเข้าสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล รวมทั้งจัดสัมมนากลุ่มย่อย (focus group) นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตีความและสรุป
ผลการวิจัย พบว่า การจัดเก็บภาษียังไม่สามารถจัดเก็บได้ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากฐานข้อมูลผู้เสียภาษีไม่เป็นปัจจุบัน เพราะบุคลากรมีจำกัด ประชาชนไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรม จึงไม่เต็มใจที่จะเสียภาษี เพราะการประเมินภาษีไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นเรื่องของดุลพินิจเฉพาะบุคคล ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับตำแหน่งจากการลงคะแนนของชาวบ้าน กังวลกับการเสียคะแนนนิยม
การออกใบอนุญาตก่อสร้างล่าช้า ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ขาดอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย
การให้บริการด้านงานทะเบียนราษฎร์และบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความต่อเนื่องของการให้บริการ เพราะให้บริการได้จำกัด เนื่องจากต้องเชื่อมต่อฐานข้อมูลกับศูนย์ข้อมูลของกรมการปกครองซึ่งกระทำได้เฉพาะในเวลาราชการ
จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ เทศบาลควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถพร้อมเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมาะสมและเพียงพอกับการให้บริการแต่ละภารกิจ และจะต้องให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีความเสมอภาค เป็นธรรมและโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบริการสาธารณะสนองตอบความต้องการของประชาชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27942 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607996 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607993 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี / สุเทพ แม้นเมฆ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี Original title : Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province Material Type: printed text Authors: สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: vii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 SIU IS-T. ความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี = Satisfaction in Quality of Life Development of Soldiers in the Army Infantry Regiment, Surattani Province [printed text] / สุเทพ แม้นเมฆ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - vii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ทหารบก -- สุราษฎร์ธานีKeywords: คุณภาพชีวิต,
ความพึงพอใจ,
ทหารAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการของจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี 2) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทหารกองประจำการทหารบกสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจำการ หน่วยจังหวัดทหารบกสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านที่พักอาศัย ด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ส่วนตัว ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านสวัสดิการอื่น ด้านอาหารและโภชนาการตามลำดับ สำหรับข้อเสนอแนะในการพัฒนาควรมีการจัดสวัสดิการและจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและมากกว่าส่วนราชการอื่น ส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการให้มากเพื่อสุขภาพของทหารกองประจำการ จัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ในการผ่อนคลายการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26656 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593051 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000593085 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-02 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัยในจังหวัดสมุทรสาคร / พลจักร พิพัฒนสุคนธ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัยในจังหวัดสมุทรสาคร Original title : Factors Affecting Security Business in Samut Sakhon Province Material Type: printed text Authors: พลจักร พิพัฒนสุคนธ์, Author ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 70 น. Layout: ill, tables Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2014-07
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรมKeywords: ธุรกิจงานรักษาความปลอดภัย
ความเป็นไปได้ด้านการตลาด
การตัดสินใจ
ความพึงพอใจAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัย ในจังหวัดสมุทรสาคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาดในการลงทุนทำธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยในการลงทุนทำธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพื่อศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมในการเลือกใช้บริการงานรักษาความปลอดภัย และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรักษาความปลอดภัย ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้วิธีการสำรวจ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือผู้ประกอบการหรือองค์การผู้ใช้ระบบรักษาความปลอดภัยและกลุ่มผู้ใช้บริการงานรักษาความปลอดภัย ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26204 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัยในจังหวัดสมุทรสาคร = Factors Affecting Security Business in Samut Sakhon Province [printed text] / พลจักร พิพัฒนสุคนธ์, Author ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 70 น. : ill, tables ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2014-07
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรมKeywords: ธุรกิจงานรักษาความปลอดภัย
ความเป็นไปได้ด้านการตลาด
การตัดสินใจ
ความพึงพอใจAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการทำธุรกิจประเภทรักษาความปลอดภัย ในจังหวัดสมุทรสาคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ด้านการตลาดในการลงทุนทำธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยในการลงทุนทำธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพื่อศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมในการเลือกใช้บริการงานรักษาความปลอดภัย และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรักษาความปลอดภัย ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้วิธีการสำรวจ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือผู้ประกอบการหรือองค์การผู้ใช้ระบบรักษาความปลอดภัยและกลุ่มผู้ใช้บริการงานรักษาความปลอดภัย ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26204 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580629 SIU IS-T: SOM-MBA-2014-07 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน / วีณา สำราญรื่น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Original title : Factors Affecting the Job Performance Satisfaction of General Support Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: วีณา สำราญรื่น, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 135 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความพึงพอใจ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถาม วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบบสอบถามความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t-test ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One – Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
1) ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มาจากปัจจัยด้านเกี่ยวกับงานและปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหรือสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายด้านที่อยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะงานความรับผิดชอบ ด้านเงินเดือน,รายได้ เรียงตามลำดับ
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเกี่ยวกับงาน ปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อด้านบุคคล ด้านงาน และด้านการบริหารจัดการCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26487 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน = Factors Affecting the Job Performance Satisfaction of General Support Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / วีณา สำราญรื่น, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 135 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความพึงพอใจ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถาม วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบบสอบถามความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t-test ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One – Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
1) ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มาจากปัจจัยด้านเกี่ยวกับงานและปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหรือสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายด้านที่อยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะงานความรับผิดชอบ ด้านเงินเดือน,รายได้ เรียงตามลำดับ
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเกี่ยวกับงาน ปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อด้านบุคคล ด้านงาน และด้านการบริหารจัดการCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26487 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591568 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย / สุมาลี ยุทธวรวิทย์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย Original title : Conflict management at work : experiences of head nurses Material Type: printed text Authors: สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 143 แผ่น Layout: ตารงประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย. Class number: WY160 ส856 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดเชิงปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการจัดการความขัดแย้ง ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ให้ความหมายของการจัดการความขัดแย้งในการทำงานเป็น 2 ประเด็นคือ การทำให้เรื่องยุติลง และการลดระดับความรุนแรงของปัญหาให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ส่วนประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า สภาพการณ์ของความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดขึ้นระหว่างพยาบาลกับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาลด้วยกัน พยาบาลกับผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาลมีเกิดขึ้นมากที่สุด สาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความคาดหวังในบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ การมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์แตกต่างกัน
ผลประโยชน์ไม่ลงตัว ตลอดจนความแตกต่างของคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถรับรู้ความขัดแย้งได้จากการเดินตรวจเยี่ยมซักถามจากผู้รับบริการ คำบอกเล่าของบุคลากรในทีมการพยาบาลและการสังเกตพฤติกรรม ตลอดจนบรรยากาศในการทำงานที่ไม่เป็นมิตร โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยได้เลือกใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งหลากหลายวิธี ประกอบด้วยการประนีประนอมโดยการเจรจาไกล่เกลี่ย การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทุกคนมีส่วนร่วม การโน้มน้าวให้เกิดการยอมรับ การขอร้องให้ยอมเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน รวมทั้งการหลีกเลี่ยงการปะทะความขัดแย้ง นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าจากประสบการณ์สอนให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเรียนรู้ว่า ควรป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งจะดีกว่า โดยการจัดระบบงานและแนวทางปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารหลายช่องทางมีการสร้างบรรยากาศในที่ทำงานเชิงสร้างสรรค์ การสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเอง และฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดการความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ในการป้องกันและจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่เข้ารับตำแหน่งใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีทักษะเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน ทำให้หน่วยงานมีความก้าวหน้ารวมทั้งผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23228 การจัดการความขัดแย้งในการทำงาน : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Conflict management at work : experiences of head nurses [printed text] / สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 143 แผ่น : ตารงประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย. Class number: WY160 ส856 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดเชิงปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการจัดการความขัดแย้ง ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi (1978) ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยได้ให้ความหมายของการจัดการความขัดแย้งในการทำงานเป็น 2 ประเด็นคือ การทำให้เรื่องยุติลง และการลดระดับความรุนแรงของปัญหาให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ส่วนประสบการณ์การจัดการความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า สภาพการณ์ของความขัดแย้งในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดขึ้นระหว่างพยาบาลกับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาลด้วยกัน พยาบาลกับผู้ช่วยเหลือคนไข้ และพยาบาลกับผู้ป่วยและญาติ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับพยาบาลมีเกิดขึ้นมากที่สุด สาเหตุของความขัดแย้ง คือ ความคาดหวังในบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ การมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์แตกต่างกัน
ผลประโยชน์ไม่ลงตัว ตลอดจนความแตกต่างของคุณลักษณะส่วนบุคคล ซึ่งหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถรับรู้ความขัดแย้งได้จากการเดินตรวจเยี่ยมซักถามจากผู้รับบริการ คำบอกเล่าของบุคลากรในทีมการพยาบาลและการสังเกตพฤติกรรม ตลอดจนบรรยากาศในการทำงานที่ไม่เป็นมิตร โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยได้เลือกใช้วิธีการจัดการความขัดแย้งหลากหลายวิธี ประกอบด้วยการประนีประนอมโดยการเจรจาไกล่เกลี่ย การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทุกคนมีส่วนร่วม การโน้มน้าวให้เกิดการยอมรับ การขอร้องให้ยอมเพื่อประโยชน์ของหน่วยงาน รวมทั้งการหลีกเลี่ยงการปะทะความขัดแย้ง นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่าจากประสบการณ์สอนให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเรียนรู้ว่า ควรป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งจะดีกว่า โดยการจัดระบบงานและแนวทางปฏิบัติงานให้ชัดเจน มีการติดต่อสื่อสารหลายช่องทางมีการสร้างบรรยากาศในที่ทำงานเชิงสร้างสรรค์ การสร้างความน่าเชื่อถือให้ตนเอง และฝึกอบรมเพิ่มทักษะในการจัดการความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ในการป้องกันและจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่เข้ารับตำแหน่งใหม่สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างเหมาะสม และผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลให้มีทักษะเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้ง อันจะส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน ทำให้หน่วยงานมีความก้าวหน้ารวมทั้งผู้รับบริการได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23228 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355063 WY160 ส856 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available