From this page you can:
Home |
Author details
Author รัตนโกมุท สมชาย
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง / พลภฤต เรืองจรัส / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง Original title : Managing an Enterprise Resource in News Department for Thailand Digital Television Broadcasting Business Under Changing of Technology Material Type: printed text Authors: พลภฤต เรืองจรัส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 206 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์กร -- การจัดการ
[LCSH]อุตสาหกรรมโทรทัศน์ -- ประเทศไทย
[LCSH]เทคโนโลยีการสื่อสารKeywords: ทรัพยากร,
สถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
องค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
ผู้สื่อข่าวขององค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลAbstract: การเปลี่ยนแปลงของระบบออกอากาศของโทรทัศน์ที่อุตสาหกรรมโทรทัศน์ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังเปลี่ยนจากระบบแอนาล็อกเข้าสู่ระบบดิจิทัล ส่งผลให้กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดถูกเปลี่ยนไปใช้ระบบดิจิทัลหมดแล้ว ประกอบกับเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันถูกพัฒนาไปสู่ยุค3Gและกำลังจะพัฒนาไปสู่เทคโนโลยี4จี และยุคข้อมูลข่าวสารสื่อใหม่ (New Media) ที่หลอมรวมเทคโนโลยี อย่างเช่น สื่อสังคมออนไลน์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคมหลากหลายด้าน การจัดระบบองค์กรข่าว การบริหารจัดการ และการทำงานของผู้สื่อข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลจึงถูกกดดันให้ต้องเปลี่ยนแปลงตาม
การวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาโครงสร้างองค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและคุณลักษณะผู้สื่อข่าวที่ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลต้องการในการทำงานให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ในการทำข่าว โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เป็นปัจจัยสำคัญประกอบด้วย 1.ผู้กำหนดนโยบายโทรคมนาคมและการสื่อสารระดับประเทศ 2.ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล 3.นักวิชาการนิเทศศาสตร์ 4.ผู้สื่อข่าวในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล และ 5.ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวต่างประเทศในไทย การวิเคราะห์ข้อมูลมีทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บจากการสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลจากแนวคิดและทฤษฎี ทั้งทฤษฎีการหลอมรวมสื่อ (Media Convergence) และแนวคิดทฤษฎีการบริหารจัดการ 4M
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26370 SIU THE-T. การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง = Managing an Enterprise Resource in News Department for Thailand Digital Television Broadcasting Business Under Changing of Technology [printed text] / พลภฤต เรืองจรัส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 206 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์กร -- การจัดการ
[LCSH]อุตสาหกรรมโทรทัศน์ -- ประเทศไทย
[LCSH]เทคโนโลยีการสื่อสารKeywords: ทรัพยากร,
สถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
องค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
ผู้สื่อข่าวขององค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลAbstract: การเปลี่ยนแปลงของระบบออกอากาศของโทรทัศน์ที่อุตสาหกรรมโทรทัศน์ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังเปลี่ยนจากระบบแอนาล็อกเข้าสู่ระบบดิจิทัล ส่งผลให้กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดถูกเปลี่ยนไปใช้ระบบดิจิทัลหมดแล้ว ประกอบกับเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันถูกพัฒนาไปสู่ยุค3Gและกำลังจะพัฒนาไปสู่เทคโนโลยี4จี และยุคข้อมูลข่าวสารสื่อใหม่ (New Media) ที่หลอมรวมเทคโนโลยี อย่างเช่น สื่อสังคมออนไลน์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคมหลากหลายด้าน การจัดระบบองค์กรข่าว การบริหารจัดการ และการทำงานของผู้สื่อข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลจึงถูกกดดันให้ต้องเปลี่ยนแปลงตาม
การวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาโครงสร้างองค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและคุณลักษณะผู้สื่อข่าวที่ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลต้องการในการทำงานให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ในการทำข่าว โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เป็นปัจจัยสำคัญประกอบด้วย 1.ผู้กำหนดนโยบายโทรคมนาคมและการสื่อสารระดับประเทศ 2.ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล 3.นักวิชาการนิเทศศาสตร์ 4.ผู้สื่อข่าวในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล และ 5.ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวต่างประเทศในไทย การวิเคราะห์ข้อมูลมีทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บจากการสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลจากแนวคิดและทฤษฎี ทั้งทฤษฎีการหลอมรวมสื่อ (Media Convergence) และแนวคิดทฤษฎีการบริหารจัดการ 4M
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26370 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550887 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550879 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Cross-cultural management Holden,, Nigel J. SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม Original title : Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department Material Type: printed text Authors: ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 248 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม = Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department [printed text] / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 248 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592152 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592160 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี / พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี Original title : The Participation of the Public in Crime Prevention, Proactive in the Area of Police Station Huay Krajao Huay Krajao District, Kanchanaburi Provice Material Type: printed text Authors: พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 76 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กาญจนบุรี -- ประชากร
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- กาญจนบุรี
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก,
สถานีตำรวจภูธรห้วยกระเจา,
จังหวัดกาญจนบุรีCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26623 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี = The Participation of the Public in Crime Prevention, Proactive in the Area of Police Station Huay Krajao Huay Krajao District, Kanchanaburi Provice [printed text] / พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 76 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กาญจนบุรี -- ประชากร
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- กาญจนบุรี
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก,
สถานีตำรวจภูธรห้วยกระเจา,
จังหวัดกาญจนบุรีCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26623 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592723 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592699 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Morale and Motivation in Work of Police Officers in Patrol and Special Operation Division Police Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 74 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ขวัญและกำลังใจ
การปฏิบัติงาน
กองบังคับการสายตรวจปฏิบัติการพิเศษ
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่องขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26119 SIU IS-T. ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Morale and Motivation in Work of Police Officers in Patrol and Special Operation Division Police Metropolitan Police Bureau [printed text] / พงษ์ศักดิ์ ทัพภูมี, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 74 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ขวัญและกำลังใจ
การปฏิบัติงาน
กองบังคับการสายตรวจปฏิบัติการพิเศษ
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่องขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลและนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26119 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590388 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590354 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-02 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ / ประภารัตน์ ปิ่นประดับ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ Original title : People’s Opinion on Services of the Immigration Police’s Arrival Inspection at Suvarnabhumi Airport Material Type: printed text Authors: ประภารัตน์ ปิ่นประดับ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 83 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง Keywords: การให้บริการ,
ตรวจคนเข้าเมืองAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง และศึกษาหาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ประชาชนคนไทยที่มารับบริการจากเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-Square) สำหรับการหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามใช้วิธีหาค่าอัลฟ่าสัมประสิทธิ์ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้มารับบริการมีความคิดเห็นต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าอยู่ในระดับมาก ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งได้แก่ ด้านประสิทธิภาพของการให้บริการ (ร้อยละ 90.75) ด้านความพร้อมเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 76.25) ด้านการอำนวยความสะดวก (ร้อยละ 90.75) และด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 82.75)
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ความถี่ของการเดินทาง ช่วงเวลาในการเดินทาง และการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบการตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27536 SIU IS-T. ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ = People’s Opinion on Services of the Immigration Police’s Arrival Inspection at Suvarnabhumi Airport [printed text] / ประภารัตน์ ปิ่นประดับ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 83 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง Keywords: การให้บริการ,
ตรวจคนเข้าเมืองAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง และศึกษาหาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ประชาชนคนไทยที่มารับบริการจากเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-Square) สำหรับการหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามใช้วิธีหาค่าอัลฟ่าสัมประสิทธิ์ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฝ่ายตรวจคนเข้าเมืองขาเข้า ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้มารับบริการมีความคิดเห็นต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าอยู่ในระดับมาก ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งได้แก่ ด้านประสิทธิภาพของการให้บริการ (ร้อยละ 90.75) ด้านความพร้อมเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 76.25) ด้านการอำนวยความสะดวก (ร้อยละ 90.75) และด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 82.75)
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ความถี่ของการเดินทาง ช่วงเวลาในการเดินทาง และการรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบการตรวจคนเข้าเมืองขาเข้าCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27536 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596435 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-07 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596468 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-07 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau [printed text] / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591618 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591626 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี / อรพรรณ พัฒนรักษา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : A Research on Service Quality of the Tambol Administrative Organization of Takhanon of Kiriratnikom District, Suratthani Province Material Type: printed text Authors: อรพรรณ พัฒนรักษา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 81 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษธานี -- ท่าขนอน -- การให้บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 376 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติบรรยาย (descriptive statistics) ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และสถิติอ้างอิง (inferential statistics) ได้แก่ สถิติ t-test และสถิติ one way ANOVA โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 และ .01
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี การศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฏร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคที่ประชาชนได้รับจากการบริการ คือ เรื่องความล่าช้าในการรับบริการ เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อคุณภาพการให้บริการมากCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26539 SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี = A Research on Service Quality of the Tambol Administrative Organization of Takhanon of Kiriratnikom District, Suratthani Province [printed text] / อรพรรณ พัฒนรักษา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 81 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษธานี -- ท่าขนอน -- การให้บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 376 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติบรรยาย (descriptive statistics) ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และสถิติอ้างอิง (inferential statistics) ได้แก่ สถิติ t-test และสถิติ one way ANOVA โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 และ .01
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี การศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฏร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคที่ประชาชนได้รับจากการบริการ คือ เรื่องความล่าช้าในการรับบริการ เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อคุณภาพการให้บริการมากCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26539 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591832 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ / พระสมบัติ (ธมฺมิโก) สุขทวีเลิศพงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ Original title : The Effectiveness of the Sangha Administration Material Type: printed text Authors: พระสมบัติ (ธมฺมิโก) สุขทวีเลิศพงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 193 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คณะสงฆ์ -- การบริหาร
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ประสิทธิผล,
การบริหาร,
กิจการคณะสงฆ์Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของคณะสงฆ์ เป็นกรณีศึกษาวัดในเขตจังหวัดนครปฐม 6 ด้าน โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพระสังฆาธิการจำนวน 400 รูป จากประชากรพระสังฆาธิการจำนวน 1,273 รูป ผลการวิจัยพบว่าพระสังฆาธิการส่วนใหญ่มี อายุ 41 – 50 ปี มีพรรษา 21 – 30 พรรษา จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จบนักธรรมชั้นเอกและไม่มีวุฒิทางเปรียญธรรม ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์พบว่าอยู่ในระดับมากในทุกด้านซึ่งได้แก่ ด้านงานสาธารณูปการ ด้านงานการปกครอง ด้านงานศึกษาสงเคราะห์ ด้านงานศาสนศึกษา ด้านงานเผยแผ่ศาสนธรรมและด้านงานสาธารณสงเคราะห์
ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ สรุปได้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มากที่สุดโดยลำดับได้แก่ ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาส คุณภาพการบริหาร และการมีส่วนร่วมสนับสนุนตามลำดับ โดยมีสมการพยากรณ์ Ŷ = A 0.759 + 0.429X1 + 0.421X2+ 0.418X3 ค่า R Square = 0.761
การวิจัยนี้ ได้ค้นพบทฤษฎีสำคัญที่ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลการบริหารกิจการคณะสงฆ์ คือ ทฤษฎีภาวะผู้นำ ทฤษฎีการบริหารและทฤษฎีการมีส่วนร่วมและได้สะท้อนให้เห็นว่าวัดยังมีการบริหารงานตามทฤษฎีองค์การในระบบปิดเพราะประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ยังขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสเป็นหลักจึงควรที่จะเปิดการบริหารกิจการวัดให้มีผู้มีส่วนร่วมสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอกตามทฤษฎีองค์การระบบเปิดให้มากยิ่งขึ้นและมีการปรับโครงสร้างการแบ่งงานของการบริหารวัดให้มีรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสผู้รับผิดชอบในด้านต่างๆและมีคณะสงฆ์ปฏิบัติหน้าที่รองรับในแต่ละด้านอย่างเป็นระบบตามหลักการจัดองค์การที่ยึดหลักกฎหมายและเหตุผลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26628 SIU THE-T. ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ = The Effectiveness of the Sangha Administration [printed text] / พระสมบัติ (ธมฺมิโก) สุขทวีเลิศพงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 193 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คณะสงฆ์ -- การบริหาร
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ประสิทธิผล,
การบริหาร,
กิจการคณะสงฆ์Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของคณะสงฆ์ เป็นกรณีศึกษาวัดในเขตจังหวัดนครปฐม 6 ด้าน โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพระสังฆาธิการจำนวน 400 รูป จากประชากรพระสังฆาธิการจำนวน 1,273 รูป ผลการวิจัยพบว่าพระสังฆาธิการส่วนใหญ่มี อายุ 41 – 50 ปี มีพรรษา 21 – 30 พรรษา จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จบนักธรรมชั้นเอกและไม่มีวุฒิทางเปรียญธรรม ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์พบว่าอยู่ในระดับมากในทุกด้านซึ่งได้แก่ ด้านงานสาธารณูปการ ด้านงานการปกครอง ด้านงานศึกษาสงเคราะห์ ด้านงานศาสนศึกษา ด้านงานเผยแผ่ศาสนธรรมและด้านงานสาธารณสงเคราะห์
ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ สรุปได้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มากที่สุดโดยลำดับได้แก่ ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาส คุณภาพการบริหาร และการมีส่วนร่วมสนับสนุนตามลำดับ โดยมีสมการพยากรณ์ Ŷ = A 0.759 + 0.429X1 + 0.421X2+ 0.418X3 ค่า R Square = 0.761
การวิจัยนี้ ได้ค้นพบทฤษฎีสำคัญที่ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลการบริหารกิจการคณะสงฆ์ คือ ทฤษฎีภาวะผู้นำ ทฤษฎีการบริหารและทฤษฎีการมีส่วนร่วมและได้สะท้อนให้เห็นว่าวัดยังมีการบริหารงานตามทฤษฎีองค์การในระบบปิดเพราะประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ยังขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสเป็นหลักจึงควรที่จะเปิดการบริหารกิจการวัดให้มีผู้มีส่วนร่วมสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอกตามทฤษฎีองค์การระบบเปิดให้มากยิ่งขึ้นและมีการปรับโครงสร้างการแบ่งงานของการบริหารวัดให้มีรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสผู้รับผิดชอบในด้านต่างๆและมีคณะสงฆ์ปฏิบัติหน้าที่รองรับในแต่ละด้านอย่างเป็นระบบตามหลักการจัดองค์การที่ยึดหลักกฎหมายและเหตุผลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26628 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592814 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592848 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่ทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จ กรณีศึกษา: กองโยธาธิการ สำนักงานส่งกำลังบำรุง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ธงชัย เสรีวัฒนา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่ทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จ กรณีศึกษา: กองโยธาธิการ สำนักงานส่งกำลังบำรุง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Factors Enabling Work Achievement Case Study of Civil Engineering Division Logistic Office of Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ธงชัย เสรีวัฒนา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กองโยธาธิการ -- การทำงานKeywords: ปัจจัยที่ทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จ,
กองโยธาธิการ สำนักงานส่งกำลังบำรุง,
สำนักงานตำรวจแห่งชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26622 SIU IS-T. ปัจจัยที่ทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จ กรณีศึกษา: กองโยธาธิการ สำนักงานส่งกำลังบำรุง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Factors Enabling Work Achievement Case Study of Civil Engineering Division Logistic Office of Royal Thai Police [printed text] / ธงชัย เสรีวัฒนา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กองโยธาธิการ -- การทำงานKeywords: ปัจจัยที่ทำให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จ,
กองโยธาธิการ สำนักงานส่งกำลังบำรุง,
สำนักงานตำรวจแห่งชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26622 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592707 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-26 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592673 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-26 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดงานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ / เสาวลักษณ์ สุขราชกิจ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดงานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Original title : Factors Affecting Work Happiness of Police Officers on Patrol Operation 2 at Patrol and Special Operation Division Material Type: printed text Authors: เสาวลักษณ์ สุขราชกิจ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 97 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความสุขในการทำงาน -- วิจัยKeywords: ปัจจัยที่มีผลต่อความสุข Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจ และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความสุขในการทำงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดงานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26118 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดงานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ = Factors Affecting Work Happiness of Police Officers on Patrol Operation 2 at Patrol and Special Operation Division [printed text] / เสาวลักษณ์ สุขราชกิจ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 97 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความสุขในการทำงาน -- วิจัยKeywords: ปัจจัยที่มีผลต่อความสุข Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจ และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความสุขในการทำงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดงานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26118 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590719 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590362 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว / สยาม โพธิ์เตี้ย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว Original title : Factors Affecting the Performance of the Police Officers in the Tourist Police Sub Division 1 Material Type: printed text Authors: สยาม โพธิ์เตี้ย, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 69 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจท่องเที่ยว -- การทำงาน
[LCSH]ประสิทธิภาพในการทำงานKeywords: ปัจจัยที่ส่งผล,
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่,
ข้าราชการตำรวจ,
กองกำกับการ 1,
กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27299 SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว = Factors Affecting the Performance of the Police Officers in the Tourist Police Sub Division 1 [printed text] / สยาม โพธิ์เตี้ย, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 69 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจท่องเที่ยว -- การทำงาน
[LCSH]ประสิทธิภาพในการทำงานKeywords: ปัจจัยที่ส่งผล,
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่,
ข้าราชการตำรวจ,
กองกำกับการ 1,
กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27299 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595114 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595122 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. สำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 / วิภาพร ทิมอุบล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : สำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 Original title : Organization Awareness of Police Officers of the General Staff Sub-Division, Metropolitan Police Division 3 Material Type: printed text Authors: วิภาพร ทิมอุบล, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 51 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสุขในการทำงาน
[LCSH]ตำรวจAbstract: การศึกษา เรื่อง สำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพื้นฐานสำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 ในด้านความภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ด้านความเชื่อมั่นและศรัทธาในนโยบายและเป้าหมายขององค์กร ด้านความได้รับการยอมรับ และด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ และการได้รับพิจารณาความดีความชอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม สรุประดับสำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุตั้งแต่ 41 ปีขึ้นไป ระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,000 บาท ขึ้นไป ระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่มากกว่า 10 ปี และได้เลื่อนขั้น 2 ขั้น โดยวิเคราะห์ข้อมูลสำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 ในภาพรวมอยู่ ระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านความภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ด้านความเชื่อมั่นและศรัทธาในนโยบายและเป้าหมายขององค์กร ด้านการได้รับและการยอมรับ ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ ตามลำดับ จะเห็นว่าความสุขในการทำงานเกิดจากพื้นฐานสำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27202 SIU IS-T. สำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 = Organization Awareness of Police Officers of the General Staff Sub-Division, Metropolitan Police Division 3 [printed text] / วิภาพร ทิมอุบล, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 51 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสุขในการทำงาน
[LCSH]ตำรวจAbstract: การศึกษา เรื่อง สำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพื้นฐานสำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 ในด้านความภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ด้านความเชื่อมั่นและศรัทธาในนโยบายและเป้าหมายขององค์กร ด้านความได้รับการยอมรับ และด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ และการได้รับพิจารณาความดีความชอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม สรุประดับสำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุตั้งแต่ 41 ปีขึ้นไป ระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,000 บาท ขึ้นไป ระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่มากกว่า 10 ปี และได้เลื่อนขั้น 2 ขั้น โดยวิเคราะห์ข้อมูลสำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 ในภาพรวมอยู่ ระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านความภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ด้านความเชื่อมั่นและศรัทธาในนโยบายและเป้าหมายขององค์กร ด้านการได้รับและการยอมรับ ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ ตามลำดับ จะเห็นว่าความสุขในการทำงานเกิดจากพื้นฐานสำนึกรักที่มีต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27202 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594505 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-39 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594562 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-39 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย / กชมน ทิพยรัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย Original title : The Barriers of Woman’s Development in Lawyers and Legal Consultants Material Type: printed text Authors: กชมน ทิพยรัตน์, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 225 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การทำงาน -- ทัศนคติ
[LCSH]ทนายความ
[LCSH]ที่ปรึกษากฎหมายKeywords: อุปสรรคของสตรี
การพัฒนาสู่อาชีพทนายความ
ที่ปรึกษากฎหมายAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากภายในและภายนอกของสตรีและ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายของสตรี เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นบุรุษและสตรีที่สำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต จำนวน 33 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มทนายความทำงานในสำนักงานกฎหมาย 15 คน 2) กลุ่มที่ปรึกษากฎหมายทำงานในสำนักงานกฎหมาย 5 คน 3) กลุ่มนักกฎหมายทำงานด้านกฎหมายในองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมาย 8 คน และ 4) กลุ่มที่ได้ออกจากอาชีพด้านกฎหมายในภาคเอกชนแล้ว 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แล้วคัดเลือกนิติศาสตรบัณฑิตสตรีรายใหม่จากกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 1 คน แล้วจัดสนทนากลุ่มหรือสัมภาษณ์แบบกลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า นิติศาสตรบัณฑิตสตรีส่วนมาก เลือกที่จะประกอบอาชีพด้านกฎหมายในส่วนราชการหรือองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมายหรือเลือกทำงานด้านอื่นที่ไม่ได้ใช้ความรู้ด้านกฎหมาย สาเหตุที่ไม่เลือกทำงานเป็นทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายในสำนักงานกฎหมาย เพราะมีอุปสรรคสำคัญ 2 ประการ คือ 1) อุปสรรคภายในด้านบุคลิกภาพในส่วนพฤติกรรมและทัศนคติ และอุปสรรคด้านความสามารถ ได้แก่ พฤติกรรมการไม่ชอบลักษณะงานที่ต้องเดินทาง งานที่มีความเสี่ยง งานหนักกลับบ้านดึก งานที่ไม่มีเวลาดูแลครอบครัว ทัศนคติเกี่ยวกับความไม่มั่นคงในอาชีพ ค่าตอบแทนที่ไม่แน่นอน ความสามารถในการสร้างเครือข่ายงานได้น้อย และความไม่ถนัดในงานว่าความที่เป็นศาสตร์และศิลป์ และ 2) อุปสรรคภายนอกที่เกิดจากทัศนคติและการกระทำของผู้อื่น ได้แก่ ความไม่เชื่อถือในบุคลิกภาพ การสื่อสาร การพูดของทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายสตรี และเพศภาวะ โดยการเหมารวมทางเพศที่ยึดติดว่าเพศหญิงมีคุณค่าต่ำกว่าเพศชาย ทำให้เกิดอคติทางเพศ นำไปสู่การเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมทางเพศและเพดานกระจกที่มองไม่เห็นปิดกั้นความก้าวหน้าของสตรี
ข้อค้นพบของการวิจัยนี้ ยังพบว่า แนวทางการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคของสตรีที่มีต่ออาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย มี 2 ระดับ กล่าวคือ 1) ระดับสำนักงานกฎหมาย โดยมีข้อเสนอว่าการปรับสภาพแวดล้อมการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเวลาในการทำงานให้สอดคล้องกับความจำเป็นเฉพาะตัวของสตรี พร้อมกับนำจุดแข็งในเรื่องของการเตรียมคดีอย่างละเอียด การเจรจาที่ได้ผล มีความรับผิดชอบสูง ความถนัดในคดีการเงิน และคดีครอบครัวมาเสริมสร้างศักยภาพในการทำงานและ 2) ระดับประเทศ โดยมีข้อเสนอว่าควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพิ่มการฝึกปฏิบัติงานอาชีพทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย บุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ และการปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับปรัชญาของเพศภาวะในระดับมหาวิทยาลัย และจัดตั้งองค์กรพิเศษเพื่อพัฒนานักกฎหมายสตรี เพื่อรองรับการให้บริการด้านกฎหมายแก่ประชาคมอาเซียนได้อย่างยั่งยืน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26566 SIU THE-T. อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย = The Barriers of Woman’s Development in Lawyers and Legal Consultants [printed text] / กชมน ทิพยรัตน์, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 225 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การทำงาน -- ทัศนคติ
[LCSH]ทนายความ
[LCSH]ที่ปรึกษากฎหมายKeywords: อุปสรรคของสตรี
การพัฒนาสู่อาชีพทนายความ
ที่ปรึกษากฎหมายAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากภายในและภายนอกของสตรีและ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายของสตรี เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นบุรุษและสตรีที่สำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต จำนวน 33 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มทนายความทำงานในสำนักงานกฎหมาย 15 คน 2) กลุ่มที่ปรึกษากฎหมายทำงานในสำนักงานกฎหมาย 5 คน 3) กลุ่มนักกฎหมายทำงานด้านกฎหมายในองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมาย 8 คน และ 4) กลุ่มที่ได้ออกจากอาชีพด้านกฎหมายในภาคเอกชนแล้ว 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แล้วคัดเลือกนิติศาสตรบัณฑิตสตรีรายใหม่จากกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 1 คน แล้วจัดสนทนากลุ่มหรือสัมภาษณ์แบบกลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า นิติศาสตรบัณฑิตสตรีส่วนมาก เลือกที่จะประกอบอาชีพด้านกฎหมายในส่วนราชการหรือองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมายหรือเลือกทำงานด้านอื่นที่ไม่ได้ใช้ความรู้ด้านกฎหมาย สาเหตุที่ไม่เลือกทำงานเป็นทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายในสำนักงานกฎหมาย เพราะมีอุปสรรคสำคัญ 2 ประการ คือ 1) อุปสรรคภายในด้านบุคลิกภาพในส่วนพฤติกรรมและทัศนคติ และอุปสรรคด้านความสามารถ ได้แก่ พฤติกรรมการไม่ชอบลักษณะงานที่ต้องเดินทาง งานที่มีความเสี่ยง งานหนักกลับบ้านดึก งานที่ไม่มีเวลาดูแลครอบครัว ทัศนคติเกี่ยวกับความไม่มั่นคงในอาชีพ ค่าตอบแทนที่ไม่แน่นอน ความสามารถในการสร้างเครือข่ายงานได้น้อย และความไม่ถนัดในงานว่าความที่เป็นศาสตร์และศิลป์ และ 2) อุปสรรคภายนอกที่เกิดจากทัศนคติและการกระทำของผู้อื่น ได้แก่ ความไม่เชื่อถือในบุคลิกภาพ การสื่อสาร การพูดของทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายสตรี และเพศภาวะ โดยการเหมารวมทางเพศที่ยึดติดว่าเพศหญิงมีคุณค่าต่ำกว่าเพศชาย ทำให้เกิดอคติทางเพศ นำไปสู่การเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมทางเพศและเพดานกระจกที่มองไม่เห็นปิดกั้นความก้าวหน้าของสตรี
ข้อค้นพบของการวิจัยนี้ ยังพบว่า แนวทางการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคของสตรีที่มีต่ออาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย มี 2 ระดับ กล่าวคือ 1) ระดับสำนักงานกฎหมาย โดยมีข้อเสนอว่าการปรับสภาพแวดล้อมการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเวลาในการทำงานให้สอดคล้องกับความจำเป็นเฉพาะตัวของสตรี พร้อมกับนำจุดแข็งในเรื่องของการเตรียมคดีอย่างละเอียด การเจรจาที่ได้ผล มีความรับผิดชอบสูง ความถนัดในคดีการเงิน และคดีครอบครัวมาเสริมสร้างศักยภาพในการทำงานและ 2) ระดับประเทศ โดยมีข้อเสนอว่าควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพิ่มการฝึกปฏิบัติงานอาชีพทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย บุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ และการปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับปรัชญาของเพศภาวะในระดับมหาวิทยาลัย และจัดตั้งองค์กรพิเศษเพื่อพัฒนานักกฎหมายสตรี เพื่อรองรับการให้บริการด้านกฎหมายแก่ประชาคมอาเซียนได้อย่างยั่งยืน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26566 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592178 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592186 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม / สมบัติ อรรถพิมล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม Original title : Approaches that Lead Disputing Parties to Consensual Acceptance of Mediation in the Court of Justice Material Type: printed text Authors: สมบัติ อรรถพิมล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 267 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรม -- ไทย
[LCSH]การระงับข้อพิพาท
[LCSH]การไกล่เกลี่ยKeywords: การไกล่เกลี่ย
การยอมรับ
ข้อพิพาท
ยุติธรรมทางเลือก
ศาลยุติธรรมAbstract: การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมดำเนินการโดย 2 ลักษณะวิธี คือ โดยการสืบพยานหลักฐานและมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสิน กับโดยการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาที่คู่พิพาทยอมรับการไกล่เกลี่ย หลักแนวคิด หลักทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการยอมรับการไกล่เกลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางที่เป็นตัวแบบที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยที่แตกต่างกันมีผลต่อผู้เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย 4 แนวคิดทฤษฎี คือ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ตัวแปรต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล แนวทางการแก้ไขปัญหาและแนวคิดทฤษฎี ตัวแปรตาม คือ การยอมรับการไกล่เกลี่ย
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบผสมระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพ กับการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลจากเอกสาร จากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสังเกตการณ์ และจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมาย การวิจัยเชิงคุณภาพนอกจากข้อมูลทางเอกสารแล้วได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารศาล 3 ท่าน ได้แก่ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาภาค 1 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต และสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิต 10 คดี ได้แก่ โจทก์ ทนายโจทก์ ผู้เสียหาย จำเลย ทนายจำเลย และผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย รวม 48 คน รวมทั้งสิ้น 51 คน และจากการเข้าสังเกตการณ์การไกล่เกลี่ย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้ข้อมูลจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิตในปี 2557 จำนวน 492 คดี ประชากร 2,000 คน สุ่มตัวอย่างได้ 370 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์เนื้อหาความถี่ทางสถิติและความแปรปรวน สรุปเป็นข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้บริหารศาล มีความคิดเห็นที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1) พึงพอใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล 2) ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยควรเป็นผู้มีความรู้ทางด้านกฎหมายและเทคนิคการเจรจาต่อรอง 3) การไกล่เกลี่ยจำเป็นต้องอาศัยแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิชาการที่ถูกคิดค้น และเป็นที่ยอมรับเป็นพื้นฐานในการเจรจาไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกัน 4) ไม่มีทฤษฎีใดดีที่สุด แต่ใช้หลายทฤษฎีประกอบกัน 5) ไม่เห็นด้วยที่ผู้ประนีประนอมคนหนึ่งทำหน้าที่หลายศาล และไม่เห็นด้วยที่ผู้พิพากษาสมทบไปเป็นผู้ประนีประนอมในศาลอื่น 6) ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยเป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อถือแก่คู่พิพาท ผู้พิพากษาอาวุโสเหมาะแก่การเป็นผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยคดีตัวอย่าง 10 คดี มีความคิดเห็นที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) คู่พิพาทและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เข้าไกล่เกลี่ยทุกคนพอใจกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล
2) บทบาทสำคัญของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยคือ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแก่คู่พิพาท 3) เหตุผลการยอมรับการไกล่เกลี่ยเพราะมีการผ่อนปรนลดหนี้ให้แก่กัน และเพราะเชื่อถือในความเป็นกลางของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย 4) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26551 SIU THE-T. แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม = Approaches that Lead Disputing Parties to Consensual Acceptance of Mediation in the Court of Justice [printed text] / สมบัติ อรรถพิมล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 267 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรม -- ไทย
[LCSH]การระงับข้อพิพาท
[LCSH]การไกล่เกลี่ยKeywords: การไกล่เกลี่ย
การยอมรับ
ข้อพิพาท
ยุติธรรมทางเลือก
ศาลยุติธรรมAbstract: การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมดำเนินการโดย 2 ลักษณะวิธี คือ โดยการสืบพยานหลักฐานและมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสิน กับโดยการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาที่คู่พิพาทยอมรับการไกล่เกลี่ย หลักแนวคิด หลักทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการยอมรับการไกล่เกลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางที่เป็นตัวแบบที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยที่แตกต่างกันมีผลต่อผู้เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย 4 แนวคิดทฤษฎี คือ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ตัวแปรต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล แนวทางการแก้ไขปัญหาและแนวคิดทฤษฎี ตัวแปรตาม คือ การยอมรับการไกล่เกลี่ย
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบผสมระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพ กับการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลจากเอกสาร จากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสังเกตการณ์ และจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมาย การวิจัยเชิงคุณภาพนอกจากข้อมูลทางเอกสารแล้วได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารศาล 3 ท่าน ได้แก่ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาภาค 1 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต และสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิต 10 คดี ได้แก่ โจทก์ ทนายโจทก์ ผู้เสียหาย จำเลย ทนายจำเลย และผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย รวม 48 คน รวมทั้งสิ้น 51 คน และจากการเข้าสังเกตการณ์การไกล่เกลี่ย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้ข้อมูลจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิตในปี 2557 จำนวน 492 คดี ประชากร 2,000 คน สุ่มตัวอย่างได้ 370 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์เนื้อหาความถี่ทางสถิติและความแปรปรวน สรุปเป็นข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้บริหารศาล มีความคิดเห็นที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1) พึงพอใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล 2) ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยควรเป็นผู้มีความรู้ทางด้านกฎหมายและเทคนิคการเจรจาต่อรอง 3) การไกล่เกลี่ยจำเป็นต้องอาศัยแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิชาการที่ถูกคิดค้น และเป็นที่ยอมรับเป็นพื้นฐานในการเจรจาไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกัน 4) ไม่มีทฤษฎีใดดีที่สุด แต่ใช้หลายทฤษฎีประกอบกัน 5) ไม่เห็นด้วยที่ผู้ประนีประนอมคนหนึ่งทำหน้าที่หลายศาล และไม่เห็นด้วยที่ผู้พิพากษาสมทบไปเป็นผู้ประนีประนอมในศาลอื่น 6) ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยเป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อถือแก่คู่พิพาท ผู้พิพากษาอาวุโสเหมาะแก่การเป็นผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยคดีตัวอย่าง 10 คดี มีความคิดเห็นที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) คู่พิพาทและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เข้าไกล่เกลี่ยทุกคนพอใจกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล
2) บทบาทสำคัญของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยคือ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแก่คู่พิพาท 3) เหตุผลการยอมรับการไกล่เกลี่ยเพราะมีการผ่อนปรนลดหนี้ให้แก่กัน และเพราะเชื่อถือในความเป็นกลางของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย 4) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26551 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591972 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592004 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06 c.2 Thesis Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี / ณรงค์ หาญสันเทียะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี Original title : Motivation in work of police officers in Children and Women Protection Sub-Division Material Type: printed text Authors: ณรงค์ หาญสันเทียะ, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 57 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-09
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองกำก้บการสวัสดิภาพเด็กและสตรี -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่
ข้าราชการตำรวจ
กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรีAbstract: การศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรีและเพื่อนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรีให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี จำนวน 190 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม ผู้ศึกษาได้ทำการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 20,000 บาท มีระดับชั้นยศสิบตำรวจเอก-สิบตำรวจตรี มีอายุราชการ 11 – 15 ปี ตามลำดับ แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี โดยภาพรวมในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจอันดับที่หนึ่ง คือ ด้านลักษณะของงาน อันดับที่สอง คือ ด้านการได้รับการยอมรับ อันดับที่สาม คือ ด้านความก้าวหน้าในงาน อันดับที่สี่ คือ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และอันดับสุดท้าย คือ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานตามลำดับ ตามลำดับ
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26499 SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี = Motivation in work of police officers in Children and Women Protection Sub-Division [printed text] / ณรงค์ หาญสันเทียะ, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 57 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-09
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองกำก้บการสวัสดิภาพเด็กและสตรี -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่
ข้าราชการตำรวจ
กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรีAbstract: การศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรีและเพื่อนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรีให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี จำนวน 190 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม ผู้ศึกษาได้ทำการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 20,000 บาท มีระดับชั้นยศสิบตำรวจเอก-สิบตำรวจตรี มีอายุราชการ 11 – 15 ปี ตามลำดับ แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี โดยภาพรวมในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจอันดับที่หนึ่ง คือ ด้านลักษณะของงาน อันดับที่สอง คือ ด้านการได้รับการยอมรับ อันดับที่สาม คือ ด้านความก้าวหน้าในงาน อันดับที่สี่ คือ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และอันดับสุดท้าย คือ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานตามลำดับ ตามลำดับ
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26499 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591642 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-09 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591634 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-09 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available