From this page you can:
Home |
Author details
Author สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน / เพ็ญศิริ สิริกุล in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน : หลังจำหน่ายจาก โรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส Original title : The effect of caring model for patients with chronic obstructive pulmonary disease in the community after discharge from Sungaipadi hospital, Narathiwas province Material Type: printed text Authors: เพ็ญศิริ สิริกุล, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; รสสุคนธ์ แสงมณี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.57-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.57-68Keywords: ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.การเยี่ยมบ้าน.การกำเริบของโรคเฉียบพลัน.การเข้ารับการรักษาซ้ำก่อน 28 วัน. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน หลังจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ต่ออัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน
กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในอำเภอสุไหงปาดี จำนวน 50 คน และผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในและจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษาวิจัย จำนวน 41 คน เป็นกลุ่มทดลอง 17 คนได้รับการดูแลตามปกติ และกลุ่มควบคุม 24 คนได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และสมุดบันทึกประจำตัวผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัดส่วน และ Z-test
ผลการวิจัยพบว่าอัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้มีการนำรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่ออัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วันในผู้ป่วยโรคเรื้อรังRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27498 [article] ผลของรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน = The effect of caring model for patients with chronic obstructive pulmonary disease in the community after discharge from Sungaipadi hospital, Narathiwas province : หลังจำหน่ายจาก โรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส [printed text] / เพ็ญศิริ สิริกุล, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; รสสุคนธ์ แสงมณี, Author . - 2017 . - p.57-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.57-68Keywords: ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.การเยี่ยมบ้าน.การกำเริบของโรคเฉียบพลัน.การเข้ารับการรักษาซ้ำก่อน 28 วัน. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน หลังจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ต่ออัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน
กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในอำเภอสุไหงปาดี จำนวน 50 คน และผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในและจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษาวิจัย จำนวน 41 คน เป็นกลุ่มทดลอง 17 คนได้รับการดูแลตามปกติ และกลุ่มควบคุม 24 คนได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และสมุดบันทึกประจำตัวผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัดส่วน และ Z-test
ผลการวิจัยพบว่าอัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้มีการนำรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่ออัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วันในผู้ป่วยโรคเรื้อรังRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27498 ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน / ไซนับ ศุภศิริ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน : ต่อระยะเวลารอคอย และความพึงพอใจในบริการ Original title : The effects of a service model for the diabetic out-patient department on waiting time and patients’ satisfaction Material Type: printed text Authors: ไซนับ ศุภศิริ, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.44-56 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.44-56Keywords: รูปแบบบริการผู้ป่วยนอก.โรคเบาหวาน.ระยะเวลารอคอย.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน ต่อระยะเวลารอคอยและความพึงพอใจในบริการ
กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 462 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 254 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 208 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีแถวคอยและการมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพ แบบบันทึกระยะเวลารอคอย นาฬิกาจับเวลา และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติแมนวิทนีย์ยู
ผลการวิจัยพบว่า ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองน้อยกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองสูงกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้นำรูปแบบบริการที่ประยุกต์จากทฤษฎีแถวคอยไปใช้ในแผนกผู้ป่วยนอกในสถานบริการสุขภาพอื่นๆ เพื่อลดระยะเวลารอคอยและเพิ่มความพึงพอใจLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27496 [article] ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน = The effects of a service model for the diabetic out-patient department on waiting time and patients’ satisfaction : ต่อระยะเวลารอคอย และความพึงพอใจในบริการ [printed text] / ไซนับ ศุภศิริ, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง, Author . - 2017 . - p.44-56.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.44-56Keywords: รูปแบบบริการผู้ป่วยนอก.โรคเบาหวาน.ระยะเวลารอคอย.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน ต่อระยะเวลารอคอยและความพึงพอใจในบริการ
กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 462 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 254 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 208 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีแถวคอยและการมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพ แบบบันทึกระยะเวลารอคอย นาฬิกาจับเวลา และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติแมนวิทนีย์ยู
ผลการวิจัยพบว่า ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองน้อยกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองสูงกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้นำรูปแบบบริการที่ประยุกต์จากทฤษฎีแถวคอยไปใช้ในแผนกผู้ป่วยนอกในสถานบริการสุขภาพอื่นๆ เพื่อลดระยะเวลารอคอยและเพิ่มความพึงพอใจLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27496 สู่กระบวนทัศน์ใหม่ของผู้บริหารการพยาบาล / สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล / นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2558
Title : สู่กระบวนทัศน์ใหม่ของผู้บริหารการพยาบาล Original title : Towards a new paradigm of nurse executives Material Type: printed text Authors: สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Editor ; บุญทิพย์ สิริธรังศรีฐ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2558 Pagination: 187 หน้า Layout: ภาพประกอบ. Size: 22 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-160691-6 Price: 290.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]ผู้บริหารClass number: WY105 ส886 2558 Contents note: -- บทที่ 1 คุณธรรม จริยธรรมสำหรับผู้บริหารและผู้นำการพยาบาล
-- บทที่ 2 การพัฒนาวิสัยทัศน์และภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารการพยาบาล
-- บทที่ 3 ผู้บริหารการพยาบาลกับการทำงานเป็นทีม
-- บทที่ 4 การสร้างโอกาสในการแข่งขันทางการพยาบาล
-- บทที่ 5 การพัฒนาบุคลิกภาพสำหรับผู้บริหารและผู้นำในวิชาชีพ
-- บทที่ 6 การแก้ปัญหาและการตัดสินใจในการบริหารการพยาบาล
-- บทที่ 7 การสอนงานทางการพยาบาลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25686 สู่กระบวนทัศน์ใหม่ของผู้บริหารการพยาบาล = Towards a new paradigm of nurse executives [printed text] / สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Editor ; บุญทิพย์ สิริธรังศรีฐ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - [S.l.] : นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558 . - 187 หน้า : ภาพประกอบ. ; 22 ซม.
ISBN : 978-6-16-160691-6 : 290.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]ผู้บริหารClass number: WY105 ส886 2558 Contents note: -- บทที่ 1 คุณธรรม จริยธรรมสำหรับผู้บริหารและผู้นำการพยาบาล
-- บทที่ 2 การพัฒนาวิสัยทัศน์และภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารการพยาบาล
-- บทที่ 3 ผู้บริหารการพยาบาลกับการทำงานเป็นทีม
-- บทที่ 4 การสร้างโอกาสในการแข่งขันทางการพยาบาล
-- บทที่ 5 การพัฒนาบุคลิกภาพสำหรับผู้บริหารและผู้นำในวิชาชีพ
-- บทที่ 6 การแก้ปัญหาและการตัดสินใจในการบริหารการพยาบาล
-- บทที่ 7 การสอนงานทางการพยาบาลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25686 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000358844 WY105 ส886 2558 c.10 Book Main Library General Shelf Available 32002000536886 WY105 ส886 2558 c.11 Book Main Library General Shelf Available 32002000536878 WY105 ส886 2558 c.12 Book Main Library General Shelf Available 32002000536894 WY105 ส886 2558 c.13 Book Main Library General Shelf Available 32002000536860 WY105 ส886 2558 c.15 Book Main Library General Shelf Available 32002000358778 WY105 ส886 2558 c.4 Book Main Library General Shelf Due for return by 01/17/2025 32002000358802 WY105 ส886 2558 c.7 Book Main Library General Shelf Available 32002000358851 WY105 ส886 2558 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000536902 WY105 ส886 2558 c.14 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000358752 WY105 ส886 2558 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000358760 WY105 ส886 2558 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000358786 WY105 ส886 2558 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000358794 WY105 ส886 2558 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000358810 WY105 ส886 2558 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000358828 WY105 ส886 2558 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
ภาวะผู้นำและการจัดการทางการพยาบาล อภิรดี, นันท์ศุภวัฒน์ การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ กัญญดา ประจุศิลป การบริหารการพยาบาลยุค 4G plus เสาวลักษณ์ จิรธรรมคุณ