From this page you can:
Home |
Search results
85 result(s) search for keyword(s) 'การบริหาร'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การบริหารเวลา / ฮินเดิล ทิม / กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์ - 2546
Title : การบริหารเวลา Original title : Manage your time Material Type: printed text Authors: ฮินเดิล ทิม, Author ; Hindle Tim, Associated Name ; สมโภช อนันต์คูศรี, Translator Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์ Publication Date: 2546 Series: Essential managers Pagination: 74 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-965609--9 Price: 95.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเวลา Keywords: การบริหารเวลา Class number: HD69.T54 Abstract: Curricular : BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21411 การบริหารเวลา = Manage your time [printed text] / ฮินเดิล ทิม, Author ; Hindle Tim, Associated Name ; สมโภช อนันต์คูศรี, Translator . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์, 2546 . - 74 หน้า : ภาพประกอบ. - (Essential managers) .
ISBN : 978-974-965609--9 : 95.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเวลา Keywords: การบริหารเวลา Class number: HD69.T54 Abstract: Curricular : BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21411 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000335156 HD69.T54 ฮ437 2546 Book Main Library General Shelf Available SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 / ระวี หนูสี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 Original title : Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 Material Type: printed text Authors: ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 182 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 = Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 [printed text] / ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 182 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607962 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607964 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย / พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย Original title : The Study of Administration in Gems and Thai Jewelry Material Type: printed text Authors: พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 138 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อัญมณี
[LCSH]เครื่องประดับ
[LCSH]เจ้าของกิจการKeywords: การบริหาร.
อัญมณี เครื่องประดับไทย.
หุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน.Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับของความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางธุรกิจที่มีผลต่อการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทยและเพื่อศึกษาแนวโน้มและทิศทางของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ผู้บริหารของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย และผู้ประกอบกิจการหรือผู้แทน จำนวน 400 คน ตัวแปร ประกอบด้วย ตัวแปรทางการบริหารและตัวแปรทางธุรกิจ และตัวแปรตาม คือ ความสำเร็จของการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้วิธีการทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ประกอบด้วยสถิติพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า..
1. ความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย อยู่ในระดับค่อนข้างมาก 2. ตัวแปรจำนวนทั้งหมด 6 ตัว ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี กล่าวคือ ปัจจัยที่ส่งผลทางบวกมี 5 ตัว ได้แก่ ป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ (socp)
แหล่งเงินทุน (abc) การสร้างแบรนด์ (socb) นโยบายของรัฐ (socg) การมีเครือข่าย / พันธมิตรทางการค้า (and) และส่วนปัจจัยที่มีผลทางลบ คือ การตลาด/การโฆษณา (adm) ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี ตัวแปรทั้ง 6 ตัวเหล่านี้ สามารถทำนายหรือพยากรณ์ผลของความสำเร็จได้ ร้อยละ 68 โดยมีความคลาดเคลื่อน เป็นร้อยละ 23.8 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้
Y = .543+ (.462 socp )+ ( .321abc) + (.180socb)+( .171socg) +( .128adn)+ (-.379adm)
งานวิจัยนี้ได้นำไปสู่ข้อค้นพบทางการบริหารจัดการ ที่สะท้อนให้เห็นว่าแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่รัฐควรจะให้ความสนันสนุนเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจของผู้ประกอบกิจการทางด้านนี้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26554 SIU THE-T. การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย = The Study of Administration in Gems and Thai Jewelry [printed text] / พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 138 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อัญมณี
[LCSH]เครื่องประดับ
[LCSH]เจ้าของกิจการKeywords: การบริหาร.
อัญมณี เครื่องประดับไทย.
หุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน.Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับของความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางธุรกิจที่มีผลต่อการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทยและเพื่อศึกษาแนวโน้มและทิศทางของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ผู้บริหารของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย และผู้ประกอบกิจการหรือผู้แทน จำนวน 400 คน ตัวแปร ประกอบด้วย ตัวแปรทางการบริหารและตัวแปรทางธุรกิจ และตัวแปรตาม คือ ความสำเร็จของการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้วิธีการทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ประกอบด้วยสถิติพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า..
1. ความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย อยู่ในระดับค่อนข้างมาก 2. ตัวแปรจำนวนทั้งหมด 6 ตัว ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี กล่าวคือ ปัจจัยที่ส่งผลทางบวกมี 5 ตัว ได้แก่ ป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ (socp)
แหล่งเงินทุน (abc) การสร้างแบรนด์ (socb) นโยบายของรัฐ (socg) การมีเครือข่าย / พันธมิตรทางการค้า (and) และส่วนปัจจัยที่มีผลทางลบ คือ การตลาด/การโฆษณา (adm) ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี ตัวแปรทั้ง 6 ตัวเหล่านี้ สามารถทำนายหรือพยากรณ์ผลของความสำเร็จได้ ร้อยละ 68 โดยมีความคลาดเคลื่อน เป็นร้อยละ 23.8 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้
Y = .543+ (.462 socp )+ ( .321abc) + (.180socb)+( .171socg) +( .128adn)+ (-.379adm)
งานวิจัยนี้ได้นำไปสู่ข้อค้นพบทางการบริหารจัดการ ที่สะท้อนให้เห็นว่าแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่รัฐควรจะให้ความสนันสนุนเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจของผู้ประกอบกิจการทางด้านนี้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26554 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592012 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592046 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง / ณัฐชัย อินทราย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง Original title : Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province Material Type: printed text Authors: ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: vii, 122 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง = Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province [printed text] / ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - vii, 122 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607970 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607968 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 Original title : Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 Material Type: printed text Authors: วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 137 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 = Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 [printed text] / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 137 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607994 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province [printed text] / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590099 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590073 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590610 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล Original title : Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level Material Type: printed text Authors: สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล = Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level [printed text] / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593812 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593846 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ Original title : Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) Material Type: printed text Authors: สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 198 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ = Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) [printed text] / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 198 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550853 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550861 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Cross-cultural management Holden,, Nigel J. SIU THE-T. การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร / กันยา ศรีสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร Original title : Administration of Myanmarian workers by Thai entrepreneurs in Samutsakhorn Province Material Type: printed text Authors: กันยา ศรีสวัสดิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 243 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]แรงงาน -- การบริหาร
[LCSH]แรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทย -- สมุทรสาครKeywords: การบริหารแรงงาน,
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า,
จังหวัดสมุทรสาครAbstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาครมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยผสานวิธี (mixed methods methodology approach) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าจำนวน 90,000 คน (ข้อมูลสถิติจำนวนประชากร, 2560) คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 2014) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากในรายข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ปัจจัยด้านจิตวิทยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา กับการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการกำหนดแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ในการบริหารงานแรงงานต่างด้าวให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีบริบทที่แตกต่างกันคือ 1) รัฐควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวโดยเฉพาะในเรื่องอัตราค่าจ้างสำหรับแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2) รัฐควรมีการจัดการฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวอย่างทั่วถึง โดยมีมาตรการในแง่ของกฎหมาย Curricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27944 SIU THE-T. การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร = Administration of Myanmarian workers by Thai entrepreneurs in Samutsakhorn Province [printed text] / กันยา ศรีสวัสดิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 243 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]แรงงาน -- การบริหาร
[LCSH]แรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทย -- สมุทรสาครKeywords: การบริหารแรงงาน,
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า,
จังหวัดสมุทรสาครAbstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาครมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยผสานวิธี (mixed methods methodology approach) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าจำนวน 90,000 คน (ข้อมูลสถิติจำนวนประชากร, 2560) คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 2014) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากในรายข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ปัจจัยด้านจิตวิทยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา กับการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการกำหนดแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ในการบริหารงานแรงงานต่างด้าวให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีบริบทที่แตกต่างกันคือ 1) รัฐควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวโดยเฉพาะในเรื่องอัตราค่าจ้างสำหรับแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2) รัฐควรมีการจัดการฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวอย่างทั่วถึง โดยมีมาตรการในแง่ของกฎหมาย Curricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27944 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607975 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607974 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง / ชัชวาลย์ สดภิบาล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Original title : Human Resource Development of Rojana Industrial Park Public Company Limited, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ชัชวาลย์ สดภิบาล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 81 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Human resource management
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การบริหาร
[LCSH]ระยอง
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การบริหารKeywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพือ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26105 SIU IS-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง = Human Resource Development of Rojana Industrial Park Public Company Limited, Rayong Province [printed text] / ชัชวาลย์ สดภิบาล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 81 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Human resource management
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การบริหาร
[LCSH]ระยอง
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การบริหารKeywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพือ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26105 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590263 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590552 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590586 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด / จันทนา ฝ่ายกระโทก / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด Original title : The Study of Management with Good Governance in the Cooperative Border Patrol Police Limited Material Type: printed text Authors: จันทนา ฝ่ายกระโทก, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: การบริหารงาน,
หลักธรรมาภิบาล,
สหกรณ์ออมทรัพย์Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล สิ่งสนับสนุนการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 โดยมีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 36.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 43.70 มีส่วนร่วมตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 36.00 มีความเห็นว่างบประมาณมีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 81.30 และมีการรับรู้ข่าวสารทางหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.00 สมาชิกมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรม ด้านนิติธรรม ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความคุ้มค่า ซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลตามหลักพื้นฐานธรรมาภิบาลของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ.2542 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26722 SIU IS-T. การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด = The Study of Management with Good Governance in the Cooperative Border Patrol Police Limited [printed text] / จันทนา ฝ่ายกระโทก, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: การบริหารงาน,
หลักธรรมาภิบาล,
สหกรณ์ออมทรัพย์Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล สิ่งสนับสนุนการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 โดยมีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 36.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 43.70 มีส่วนร่วมตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 36.00 มีความเห็นว่างบประมาณมีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 81.30 และมีการรับรู้ข่าวสารทางหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.00 สมาชิกมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรม ด้านนิติธรรม ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความคุ้มค่า ซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลตามหลักพื้นฐานธรรมาภิบาลของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ.2542 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26722 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593275 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593283 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล / เกษียร วรศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล Original title : Historical Tourism Innovative : Ayutthaya Model Material Type: printed text Authors: เกษียร วรศิริ, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 181 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ
[LCSH]การบริหารKeywords: การบริหารจัดการ,
อัตลักษณ์,
นวัตวิถี,
มรดกโลกที่มีชีวิตAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยใดที่ก่อให้เกิดปัญหา
ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล
ของการบริหารจัดการท่องเที่ยว 3) มีการพัฒนาอะไรที่จะทำให้การท่องเที่ยวเขตเมืองมรดกโลก
ของอุทยานประวัติศาสตร์ มีเอกลักษณ์ มีความยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชุมชน และ 4) รายรับจากการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจอย่างไร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 30 คน 2) หน่วยงานเอกชน จำนวน 10 คน 3) หน่วยงานส่วนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว จำนวน 20 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่และต่อเนื่องด้วยการอ้างอิงด้วยบุคคลและผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาหลักในการบริหารงานของอยุธยา คือ ความขัดแย้งทางกฎหมายและข้อบังคับจากหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัด ความรับผิดชอบที่ทับซ้อนเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการให้บริการ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญหลายคนแนะนำให้จังหวัดอยุธยาปฏิบัติตามเส้นทางเดียวกันเพื่อให้เป็นเขตเทศบาลพิเศษ เหมือนเขตพัทยา และกรุงเทพฯ และระบุกฎหมายพิเศษในการจัดการพื้นที่ดังกล่าว ผู้บริหารระดับสูงของจังหวัดมีบทบาทสำคัญในการที่จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการบูรณาการและวางนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ถูกต้องตามประเพณี วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของชุมชน ในท้ายที่สุดเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมุ่งเป้าไปที่
การรักษาประเพณีท้องถิ่นและประวัติของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในจังหวัด และสุดท้ายนี้ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ สามารถสัมผัสกับมรดกโลกที่แท้จริงซึ่งสามารถมองเห็นวิถีชีวิตของชุมชน
ในท้องถิ่นได้ รวมทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศมากขึ้น การลดความเสี่ยงและผลกระทบในทางลบต่อชีวิตของชุมชนท้องถิ่น
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืนของมรดกโลกที่มีลักษณะเป็น "นวัตกรรมทางประวัติศาสตร์อยุธยา" ดังที่ได้กล่าวมาแล้วCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27884 SIU THE-T. นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล = Historical Tourism Innovative : Ayutthaya Model [printed text] / เกษียร วรศิริ, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 181 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ
[LCSH]การบริหารKeywords: การบริหารจัดการ,
อัตลักษณ์,
นวัตวิถี,
มรดกโลกที่มีชีวิตAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยใดที่ก่อให้เกิดปัญหา
ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล
ของการบริหารจัดการท่องเที่ยว 3) มีการพัฒนาอะไรที่จะทำให้การท่องเที่ยวเขตเมืองมรดกโลก
ของอุทยานประวัติศาสตร์ มีเอกลักษณ์ มีความยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชุมชน และ 4) รายรับจากการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจอย่างไร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 30 คน 2) หน่วยงานเอกชน จำนวน 10 คน 3) หน่วยงานส่วนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว จำนวน 20 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่และต่อเนื่องด้วยการอ้างอิงด้วยบุคคลและผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาหลักในการบริหารงานของอยุธยา คือ ความขัดแย้งทางกฎหมายและข้อบังคับจากหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัด ความรับผิดชอบที่ทับซ้อนเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการให้บริการ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญหลายคนแนะนำให้จังหวัดอยุธยาปฏิบัติตามเส้นทางเดียวกันเพื่อให้เป็นเขตเทศบาลพิเศษ เหมือนเขตพัทยา และกรุงเทพฯ และระบุกฎหมายพิเศษในการจัดการพื้นที่ดังกล่าว ผู้บริหารระดับสูงของจังหวัดมีบทบาทสำคัญในการที่จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการบูรณาการและวางนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ถูกต้องตามประเพณี วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของชุมชน ในท้ายที่สุดเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมุ่งเป้าไปที่
การรักษาประเพณีท้องถิ่นและประวัติของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในจังหวัด และสุดท้ายนี้ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ สามารถสัมผัสกับมรดกโลกที่แท้จริงซึ่งสามารถมองเห็นวิถีชีวิตของชุมชน
ในท้องถิ่นได้ รวมทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศมากขึ้น การลดความเสี่ยงและผลกระทบในทางลบต่อชีวิตของชุมชนท้องถิ่น
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืนของมรดกโลกที่มีลักษณะเป็น "นวัตกรรมทางประวัติศาสตร์อยุธยา" ดังที่ได้กล่าวมาแล้วCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27884 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000599017 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598993 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ / รัฐชาติ ทัศนัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ Original title : The Role of Buriram United Football Club in the Development of Buriram Province Material Type: printed text Authors: รัฐชาติ ทัศนัย, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ฐ, 243 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมือง -- ไทย -- บุรีรัมย์
[LCSH]ฟุตบอล -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด -- การบริหารKeywords: การบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล
การพัฒนาจังหวัดAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทฤษฏีว่ามีปัจจัยภายใต้ทฤษฏีใดที่อธิบายการพัฒนาจังหวัดผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 390 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายจากประชาชนที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามนิวไอโมบายสเตเดียม จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ สำหรับวิชัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าผ่านเอกสาร สื่อออนไลน์ การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 11 คน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26550 SIU THE-T. บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ = The Role of Buriram United Football Club in the Development of Buriram Province [printed text] / รัฐชาติ ทัศนัย, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ฐ, 243 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมือง -- ไทย -- บุรีรัมย์
[LCSH]ฟุตบอล -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด -- การบริหารKeywords: การบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล
การพัฒนาจังหวัดAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทฤษฏีว่ามีปัจจัยภายใต้ทฤษฏีใดที่อธิบายการพัฒนาจังหวัดผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 390 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายจากประชาชนที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามนิวไอโมบายสเตเดียม จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ สำหรับวิชัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าผ่านเอกสาร สื่อออนไลน์ การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 11 คน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26550 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590461 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591956 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / รัฐพล ไชยธรรม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 68 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province [printed text] / รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 68 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593010 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593028 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ปริตภา รุ่งเรืองกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Original title : Factors Affecting Human Resource Development of Real Estate Companies Listed in the Stock Exchange of Thailand Material Type: printed text Authors: ปริตภา รุ่งเรืองกุล, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xvi, 162 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์Keywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์,
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์,
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 3) เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และเป็นฐานความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการแก่ผู้สนใจศึกษานำไปอ้างอิงต่อยอดความรู้ให้เกิดประโยชน์ หรือเป็นพื้นฐานการศึกษาเปรียบเทียบกับบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการและบริษัทเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์ ผู้วิจัยได้ออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสม (Mix Method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นหัวหน้างาน และพนักงานในระดับปฏิบัติการ จำนวน 450 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One – Way Analysis of Variance (One – Way ANOVA) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และยอมรับสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ร่วมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31-35 ปี มีสถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งพนักงานระดับปฏิบัติการ มีอายุการทำงาน 7-9 ปี มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 9 ปีขึ้นไป เงินเดือนหรือค่าตอบแทนต่อเดือน 15,000 – 20,000 บาท ผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการองค์กร ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารและระบบ/มาตรการขององค์กร นอกจากนี้ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับวิสัยทัศน์/พันธกิจและระบบ/มาตรการขององค์กร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์/นโยบาย, แนวความคิด, วิสัยทัศน์/พันธกิจ, ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และระบบ/มาตรการขององค์กร ในส่วนความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในชีวิตของพนักงานและสัญญาจ้าง(ลักษณะการจ้างงาน) ส่วนขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมองค์กร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในชีวิต, วัฒนธรรมองค์กร และสัญญาจ้าง(ลักษณะการจ้างงาน) นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ, แนวโน้มทางการตลาด, การแข่งขัน และจำนวนประชากร ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ, การแข่งขัน และจำนวนประชากร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มทางการตลาดและการแข่งขัน กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม โดยฝ่ายบริหารได้รับทราบ และให้ความสำคัญในการวางนโยบายและกลยุทธ์เพื่อสนองตอบความคาดหวังของพนักงานในเรื่องหลักอยู่แล้ว เนื่องจากแนวโน้มและทิศทางการตลาดอุตสาหกรรมนี้ รวมทั้งนโยบายของรัฐบาลทำให้ฝ่ายบริหารต้องปรับนโยบายให้ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27839 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย = Factors Affecting Human Resource Development of Real Estate Companies Listed in the Stock Exchange of Thailand [printed text] / ปริตภา รุ่งเรืองกุล, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xvi, 162 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์Keywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์,
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์,
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 3) เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และเป็นฐานความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการแก่ผู้สนใจศึกษานำไปอ้างอิงต่อยอดความรู้ให้เกิดประโยชน์ หรือเป็นพื้นฐานการศึกษาเปรียบเทียบกับบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการและบริษัทเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์ ผู้วิจัยได้ออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสม (Mix Method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นหัวหน้างาน และพนักงานในระดับปฏิบัติการ จำนวน 450 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One – Way Analysis of Variance (One – Way ANOVA) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และยอมรับสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ร่วมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31-35 ปี มีสถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งพนักงานระดับปฏิบัติการ มีอายุการทำงาน 7-9 ปี มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 9 ปีขึ้นไป เงินเดือนหรือค่าตอบแทนต่อเดือน 15,000 – 20,000 บาท ผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการองค์กร ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารและระบบ/มาตรการขององค์กร นอกจากนี้ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับวิสัยทัศน์/พันธกิจและระบบ/มาตรการขององค์กร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์/นโยบาย, แนวความคิด, วิสัยทัศน์/พันธกิจ, ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และระบบ/มาตรการขององค์กร ในส่วนความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในชีวิตของพนักงานและสัญญาจ้าง(ลักษณะการจ้างงาน) ส่วนขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมองค์กร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในชีวิต, วัฒนธรรมองค์กร และสัญญาจ้าง(ลักษณะการจ้างงาน) นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ, แนวโน้มทางการตลาด, การแข่งขัน และจำนวนประชากร ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ, การแข่งขัน และจำนวนประชากร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มทางการตลาดและการแข่งขัน กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม โดยฝ่ายบริหารได้รับทราบ และให้ความสำคัญในการวางนโยบายและกลยุทธ์เพื่อสนองตอบความคาดหวังของพนักงานในเรื่องหลักอยู่แล้ว เนื่องจากแนวโน้มและทิศทางการตลาดอุตสาหกรรมนี้ รวมทั้งนโยบายของรัฐบาลทำให้ฝ่ายบริหารต้องปรับนโยบายให้ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27839 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598241 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598217 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available