From this page you can:
Home |
Collection details
Collection SIU THE-T
Documents available under this collective title
Add the result to your basketSIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ไพทูรย์ สิทธิบุญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Achievement Management of the Patrol Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ไพทูรย์ สิทธิบุญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xv, 292 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน Keywords: พฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้ แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ก่อนและตามด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จำนวน 306 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) โดยกำหนดให้ระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ .05 การตรวจวัดเครื่องมือการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถามด้วยวิธีหาค่า Index of Item Objective Congruence : IOC โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รวม 5 คน เป็นผู้ตรวจแบบสอบถาม (Face Validity) เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา จากนั้นนำแบบสอบถามที่ได้รับจากการหาค่า IOC มาทำการปรับปรุงแก้ไขวัดค่า IOC ได้ ระหว่าง 0.6-1.00 เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ปรับแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Pre-Test) กับกลุ่มตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach ,Alpha Coefficient) เพื่อให้ได้ค่าไม่น้อยกว่า 0.70 จึงจะมีความเหมาะสมในการนำไปเก็บข้อมูล (สุจิตรา บุญยรัตพันธุ์, 2546, น. 135-141) (วันชัย จึงวิบูลย์สถิต, 2560, น. 104) และ (จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์, 2556, น. 142) ผลการทดสอบ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.965 และผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.995
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการ สายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.489, S.D. = 0.809) ซึ่งประกอบด้วย ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.598, S.D. = 0.809) ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.526, S.D. = 0.832) ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากล (x ̅ = 3.493, S.D. = 0.826) และด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ (x ̅ = 3.341, S.D. = 0.726) 2) ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.508, S.D. = 0.789) ประกอบด้วย ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.554, S.D. = 0.744) ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (x ̅ = 3.530, S.D. = 0.804) ด้านลักษณะองค์การ (x ̅ = 3.517, S.D. = 0.812) ด้านธรรมาภิบาล (x ̅ = 3.505, S.D. = 0.806) และด้านทรัพยากรบริหาร (x ̅ = 3.438, S.D. = 0.825) 3) สภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 พบว่า ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจและ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ เป็นพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมาก รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากลในระดับปานกลาง ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานในระดับน้อย และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงานในระดับน้อยที่สุด ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านทรัพยากรบริหารเป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมากที่สุด รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านธรรมาภิบาลในระดับมาก ด้านลักษณะองศ์การในระดับปานกลาง ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับน้อย และด้านวัฒนธรรมองศ์การในระดับน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การโดยรวม 2) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้ตำรวจ มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านลักษณะองค์การโดยรวม 3) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารโดยรวม 4)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวม 5)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลโดยรวมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28023 SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Achievement Management of the Patrol Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ไพทูรย์ สิทธิบุญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xv, 292 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน Keywords: พฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้ แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ก่อนและตามด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จำนวน 306 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) โดยกำหนดให้ระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ .05 การตรวจวัดเครื่องมือการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถามด้วยวิธีหาค่า Index of Item Objective Congruence : IOC โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รวม 5 คน เป็นผู้ตรวจแบบสอบถาม (Face Validity) เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา จากนั้นนำแบบสอบถามที่ได้รับจากการหาค่า IOC มาทำการปรับปรุงแก้ไขวัดค่า IOC ได้ ระหว่าง 0.6-1.00 เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ปรับแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Pre-Test) กับกลุ่มตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach ,Alpha Coefficient) เพื่อให้ได้ค่าไม่น้อยกว่า 0.70 จึงจะมีความเหมาะสมในการนำไปเก็บข้อมูล (สุจิตรา บุญยรัตพันธุ์, 2546, น. 135-141) (วันชัย จึงวิบูลย์สถิต, 2560, น. 104) และ (จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์, 2556, น. 142) ผลการทดสอบ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.965 และผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.995
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการ สายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.489, S.D. = 0.809) ซึ่งประกอบด้วย ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.598, S.D. = 0.809) ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.526, S.D. = 0.832) ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากล (x ̅ = 3.493, S.D. = 0.826) และด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ (x ̅ = 3.341, S.D. = 0.726) 2) ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.508, S.D. = 0.789) ประกอบด้วย ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.554, S.D. = 0.744) ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (x ̅ = 3.530, S.D. = 0.804) ด้านลักษณะองค์การ (x ̅ = 3.517, S.D. = 0.812) ด้านธรรมาภิบาล (x ̅ = 3.505, S.D. = 0.806) และด้านทรัพยากรบริหาร (x ̅ = 3.438, S.D. = 0.825) 3) สภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 พบว่า ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจและ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ เป็นพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมาก รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากลในระดับปานกลาง ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานในระดับน้อย และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงานในระดับน้อยที่สุด ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านทรัพยากรบริหารเป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมากที่สุด รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านธรรมาภิบาลในระดับมาก ด้านลักษณะองศ์การในระดับปานกลาง ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับน้อย และด้านวัฒนธรรมองศ์การในระดับน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การโดยรวม 2) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้ตำรวจ มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านลักษณะองค์การโดยรวม 3) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารโดยรวม 4)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวม 5)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลโดยรวมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28023 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607424 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607437 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การ์ตูนการเมืองในหนังสือพิมพ์สะท้อนภาพพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทย / กำแพง หอมสิน / สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2559
Collection Title: SIU THE-T Title : การ์ตูนการเมืองในหนังสือพิมพ์สะท้อนภาพพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทย : กรณีช่วงหลังรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ถึง 3 กรกฎาคม 2554 Original title : Political cartoons in newspapers reflecting the political behavior and administration of Thailand: case study of the period after the coup from September 19, 2006 to July 3, 2011 Material Type: printed text Authors: กำแพง หอมสิน, Author Publisher: สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2559 Pagination: xi, 193 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การเมือง -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]การ์ตูนการเมือง -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]การ์ตูนการเมือง -- ภาพสะท้อนพฤติกรรมทางการเมือง
[LCSH]พฤติกรรมทางการเมือง -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: การ์ตูนการเมือง.
พฤติการทางการเมือง.
การบริหารประเทศไทย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-01 Abstract: ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทยผ่านภาพการ์ตูนในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ระหว่างช่วงเวลาหลังรัฐประหาร 19 ก.ย.49 ถึง 3 ก.ค.54 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้เทคนิคศึกษาจากเอกสาร สัมภาษณ์บุคคล จากผู้เขัยนการ์ตูน 2 คน ตรวจยืนยันแบบสามเส้า จากกลุ่มบุคคล 3 กลุ่ม จำนวน 30 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงตีความร่วมกับการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การ์ตูนการเมือง สะท้อนให้เห็นความจริงของพฤติกรรมทางการเมืองการบนริหารของผู้กระทำทางการเมืองในสถานการณ์สงครามตัวแทน ระหว่างกลุ่มนิยมประชาธิปไตยกับกลุ่มนิยมอมาตยธิปไตย 5 ประเด็น ได้แก่ สิทธิของประชาชน ได้รับสิทธิมากขึ้น แต่เมื่อใช้สิทธิ์กลับถูกแทรกแซงโดยกลไกลของรัฐ 2. ภาวะผู้นำของผู้บริหาร นักการเมืองไม่สามารถใช้ภาวะผู้นำอย่างมีประสิทธิภาพ... 3. สถานะของข้าราชการประจำ ไม่ถูกกระทบแต่กลับมีพัฒนาการที่แข็งแกร่งมากขึ้น 4. สถานะขององค์การทางการเมือง ถูกกระทบมาก จนไม่สามารถพัฒนาองค์กรและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้ 5.สถานะขององค์กรอิสระไม่สามารถดำรงความเป็นอิสระ และไม่สามารถเป็นที่พึ่งแก่ประชาชนที่ถูกผลกระทบจากการัฐประหารContents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25883 SIU THE-T. การ์ตูนการเมืองในหนังสือพิมพ์สะท้อนภาพพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทย = Political cartoons in newspapers reflecting the political behavior and administration of Thailand: case study of the period after the coup from September 19, 2006 to July 3, 2011 : กรณีช่วงหลังรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ถึง 3 กรกฎาคม 2554 [printed text] / กำแพง หอมสิน, Author . - [S.l.] : สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559 . - xi, 193 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การเมือง -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]การ์ตูนการเมือง -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]การ์ตูนการเมือง -- ภาพสะท้อนพฤติกรรมทางการเมือง
[LCSH]พฤติกรรมทางการเมือง -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: การ์ตูนการเมือง.
พฤติการทางการเมือง.
การบริหารประเทศไทย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-01 Abstract: ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองและการบริหารของประเทศไทยผ่านภาพการ์ตูนในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ระหว่างช่วงเวลาหลังรัฐประหาร 19 ก.ย.49 ถึง 3 ก.ค.54 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้เทคนิคศึกษาจากเอกสาร สัมภาษณ์บุคคล จากผู้เขัยนการ์ตูน 2 คน ตรวจยืนยันแบบสามเส้า จากกลุ่มบุคคล 3 กลุ่ม จำนวน 30 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงตีความร่วมกับการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การ์ตูนการเมือง สะท้อนให้เห็นความจริงของพฤติกรรมทางการเมืองการบนริหารของผู้กระทำทางการเมืองในสถานการณ์สงครามตัวแทน ระหว่างกลุ่มนิยมประชาธิปไตยกับกลุ่มนิยมอมาตยธิปไตย 5 ประเด็น ได้แก่ สิทธิของประชาชน ได้รับสิทธิมากขึ้น แต่เมื่อใช้สิทธิ์กลับถูกแทรกแซงโดยกลไกลของรัฐ 2. ภาวะผู้นำของผู้บริหาร นักการเมืองไม่สามารถใช้ภาวะผู้นำอย่างมีประสิทธิภาพ... 3. สถานะของข้าราชการประจำ ไม่ถูกกระทบแต่กลับมีพัฒนาการที่แข็งแกร่งมากขึ้น 4. สถานะขององค์การทางการเมือง ถูกกระทบมาก จนไม่สามารถพัฒนาองค์กรและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้ 5.สถานะขององค์กรอิสระไม่สามารถดำรงความเป็นอิสระ และไม่สามารถเป็นที่พึ่งแก่ประชาชนที่ถูกผลกระทบจากการัฐประหารContents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25883 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550796 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550804 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Not for loan SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง Original title : Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x,460 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ = Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x,460 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550846 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000507036 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ Original title : Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) Material Type: printed text Authors: สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 198 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ = Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) [printed text] / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 198 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550853 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550861 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Cross-cultural management Holden,, Nigel J. SIU THE-T. ความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง / ภัทราวดี ศรีบุญสม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง Original title : Public Trust towards the Election Commission Material Type: printed text Authors: ภัทราวดี ศรีบุญสม, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 88 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คณะกรรมการการเลือกตั้ง -- ไทย
[LCSH]ความไว้วางใจ -- แง่การเมืองKeywords: ความไว้วางใจของสาธารณชน
คณะกรรมการการเลือกตั้งAbstract: คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระและเป็นกลาง มีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลกระบวนการเลือกตั้งทั้งหมดเพื่อให้ได้สมาชิกรัฐสภาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามาสู่ระบบการเมืองอย่างโปร่งใส ยุติธรรมเพื่อเสริมสร้างระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ การดำเนินงานของคณะกรรมการการเลือกตั้งจะประสพความสำเร็จเพียงใดส่วนสำคัญขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของสาธารณชน แต่เท่าที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งมาก่อน งานวิจัยนี้มุ่งตอบคำถามว่า (1) คณะกรรมการการเลือกตั้งได้รับความไว้วางใจจากสาธารณชนอยู่ในระดับใด (2) มีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อระดับความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการเลือกตั้ง และ(3) ผลที่ได้จากการศึกษาตาม (1) และ (2) จะนำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและการพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างไรบ้าง Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26154 SIU THE-T. ความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง = Public Trust towards the Election Commission [printed text] / ภัทราวดี ศรีบุญสม, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 88 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คณะกรรมการการเลือกตั้ง -- ไทย
[LCSH]ความไว้วางใจ -- แง่การเมืองKeywords: ความไว้วางใจของสาธารณชน
คณะกรรมการการเลือกตั้งAbstract: คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระและเป็นกลาง มีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลกระบวนการเลือกตั้งทั้งหมดเพื่อให้ได้สมาชิกรัฐสภาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามาสู่ระบบการเมืองอย่างโปร่งใส ยุติธรรมเพื่อเสริมสร้างระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ การดำเนินงานของคณะกรรมการการเลือกตั้งจะประสพความสำเร็จเพียงใดส่วนสำคัญขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของสาธารณชน แต่เท่าที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งมาก่อน งานวิจัยนี้มุ่งตอบคำถามว่า (1) คณะกรรมการการเลือกตั้งได้รับความไว้วางใจจากสาธารณชนอยู่ในระดับใด (2) มีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อระดับความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการเลือกตั้ง และ(3) ผลที่ได้จากการศึกษาตาม (1) และ (2) จะนำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและการพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างไรบ้าง Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26154 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590412 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591980 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง / พลภฤต เรืองจรัส / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง Original title : Managing an Enterprise Resource in News Department for Thailand Digital Television Broadcasting Business Under Changing of Technology Material Type: printed text Authors: พลภฤต เรืองจรัส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 206 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์กร -- การจัดการ
[LCSH]อุตสาหกรรมโทรทัศน์ -- ประเทศไทย
[LCSH]เทคโนโลยีการสื่อสารKeywords: ทรัพยากร,
สถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
องค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
ผู้สื่อข่าวขององค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลAbstract: การเปลี่ยนแปลงของระบบออกอากาศของโทรทัศน์ที่อุตสาหกรรมโทรทัศน์ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังเปลี่ยนจากระบบแอนาล็อกเข้าสู่ระบบดิจิทัล ส่งผลให้กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดถูกเปลี่ยนไปใช้ระบบดิจิทัลหมดแล้ว ประกอบกับเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันถูกพัฒนาไปสู่ยุค3Gและกำลังจะพัฒนาไปสู่เทคโนโลยี4จี และยุคข้อมูลข่าวสารสื่อใหม่ (New Media) ที่หลอมรวมเทคโนโลยี อย่างเช่น สื่อสังคมออนไลน์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคมหลากหลายด้าน การจัดระบบองค์กรข่าว การบริหารจัดการ และการทำงานของผู้สื่อข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลจึงถูกกดดันให้ต้องเปลี่ยนแปลงตาม
การวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาโครงสร้างองค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและคุณลักษณะผู้สื่อข่าวที่ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลต้องการในการทำงานให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ในการทำข่าว โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เป็นปัจจัยสำคัญประกอบด้วย 1.ผู้กำหนดนโยบายโทรคมนาคมและการสื่อสารระดับประเทศ 2.ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล 3.นักวิชาการนิเทศศาสตร์ 4.ผู้สื่อข่าวในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล และ 5.ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวต่างประเทศในไทย การวิเคราะห์ข้อมูลมีทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บจากการสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลจากแนวคิดและทฤษฎี ทั้งทฤษฎีการหลอมรวมสื่อ (Media Convergence) และแนวคิดทฤษฎีการบริหารจัดการ 4M
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26370 SIU THE-T. การจัดวางทรัพยากรในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย ให้สอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง = Managing an Enterprise Resource in News Department for Thailand Digital Television Broadcasting Business Under Changing of Technology [printed text] / พลภฤต เรืองจรัส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 206 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์กร -- การจัดการ
[LCSH]อุตสาหกรรมโทรทัศน์ -- ประเทศไทย
[LCSH]เทคโนโลยีการสื่อสารKeywords: ทรัพยากร,
สถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
องค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล,
ผู้สื่อข่าวขององค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลAbstract: การเปลี่ยนแปลงของระบบออกอากาศของโทรทัศน์ที่อุตสาหกรรมโทรทัศน์ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังเปลี่ยนจากระบบแอนาล็อกเข้าสู่ระบบดิจิทัล ส่งผลให้กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดถูกเปลี่ยนไปใช้ระบบดิจิทัลหมดแล้ว ประกอบกับเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบันถูกพัฒนาไปสู่ยุค3Gและกำลังจะพัฒนาไปสู่เทคโนโลยี4จี และยุคข้อมูลข่าวสารสื่อใหม่ (New Media) ที่หลอมรวมเทคโนโลยี อย่างเช่น สื่อสังคมออนไลน์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคมหลากหลายด้าน การจัดระบบองค์กรข่าว การบริหารจัดการ และการทำงานของผู้สื่อข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลจึงถูกกดดันให้ต้องเปลี่ยนแปลงตาม
การวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาโครงสร้างองค์กรข่าวในสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและคุณลักษณะผู้สื่อข่าวที่ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลต้องการในการทำงานให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ในการทำข่าว โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เป็นปัจจัยสำคัญประกอบด้วย 1.ผู้กำหนดนโยบายโทรคมนาคมและการสื่อสารระดับประเทศ 2.ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล 3.นักวิชาการนิเทศศาสตร์ 4.ผู้สื่อข่าวในองค์กรข่าวของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัล และ 5.ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวต่างประเทศในไทย การวิเคราะห์ข้อมูลมีทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บจากการสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลจากแนวคิดและทฤษฎี ทั้งทฤษฎีการหลอมรวมสื่อ (Media Convergence) และแนวคิดทฤษฎีการบริหารจัดการ 4M
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26370 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550887 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550879 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Cross-cultural management Holden,, Nigel J. SIU THE-T. การส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย: ปัญหา อุปสรรค และบทเรียน / ถนัญรัชฏ์ แสนสุข / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย: ปัญหา อุปสรรค และบทเรียน Original title : Exporting Thai Tip Herbal Toothpaste to the Nigerian Market: Challenges, Barriers and Lessons Learned Material Type: printed text Authors: ถนัญรัชฏ์ แสนสุข, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 313 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาสีฟัน -- การส่งออก
[LCSH]ยาสีฟัน -- ไนจีเรีย -- การตลาดKeywords: ประสบการณ์การส่งออก,
บทเรียนการบริหารจัดการธุรกิจ,
ยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์Abstract: การส่งออกสินค้าไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศนับวันยิ่งทวีการแข่งขันขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าใหม่จำเป็นต้องใช้ศาสตร์ทางการบริหารให้สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ รวมทั้งต้องพึ่งพาการกำกับดูแลในขั้นตอนการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติอย่างเข้มงวด จึงจะทำให้การส่งออกประสบความสำเร็จได้ งานวิจัยนี้จึงมีคณูปการกับประเทศไทยโดยตรงต่อภาคการส่งออก เพราะเป็นเรื่องใหม่ที่ยังไม่เคยมีการศึกษากระบวนการส่งออกสินค้าไทยเข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรียมาก่อน รวมทั้งไม่มีกรณีศึกษาการส่งออกสินค้าไทยเข้าสู่ตลาดต่างประเทศมาเทียบเคียงโดยมีวัตถุประสงค์ 1) ถอดบทเรียนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 2) วิเคระห์กระบวนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค ผ่านบทเรียนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 4) เสนอแนะแนวทางการทำธุรกิจเข้าสู่ตลาดทวีปแอฟริกาด้านตะวันตกโดยเฉพาะประเทศไนจีเรีย ผู้เกี่ยวข้องกับการส่งออก ได้แก่ องค์กรเอกชน 5 องค์กร องค์การภาครัฐของประเทศไทยและประเทศไนจีเรีย 10 องค์การ Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26377 SIU THE-T. การส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย: ปัญหา อุปสรรค และบทเรียน = Exporting Thai Tip Herbal Toothpaste to the Nigerian Market: Challenges, Barriers and Lessons Learned [printed text] / ถนัญรัชฏ์ แสนสุข, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 313 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาสีฟัน -- การส่งออก
[LCSH]ยาสีฟัน -- ไนจีเรีย -- การตลาดKeywords: ประสบการณ์การส่งออก,
บทเรียนการบริหารจัดการธุรกิจ,
ยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์Abstract: การส่งออกสินค้าไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศนับวันยิ่งทวีการแข่งขันขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าใหม่จำเป็นต้องใช้ศาสตร์ทางการบริหารให้สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ รวมทั้งต้องพึ่งพาการกำกับดูแลในขั้นตอนการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติอย่างเข้มงวด จึงจะทำให้การส่งออกประสบความสำเร็จได้ งานวิจัยนี้จึงมีคณูปการกับประเทศไทยโดยตรงต่อภาคการส่งออก เพราะเป็นเรื่องใหม่ที่ยังไม่เคยมีการศึกษากระบวนการส่งออกสินค้าไทยเข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรียมาก่อน รวมทั้งไม่มีกรณีศึกษาการส่งออกสินค้าไทยเข้าสู่ตลาดต่างประเทศมาเทียบเคียงโดยมีวัตถุประสงค์ 1) ถอดบทเรียนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 2) วิเคระห์กระบวนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค ผ่านบทเรียนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 4) เสนอแนะแนวทางการทำธุรกิจเข้าสู่ตลาดทวีปแอฟริกาด้านตะวันตกโดยเฉพาะประเทศไนจีเรีย ผู้เกี่ยวข้องกับการส่งออก ได้แก่ องค์กรเอกชน 5 องค์กร องค์การภาครัฐของประเทศไทยและประเทศไนจีเรีย 10 องค์การ Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26377 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591337 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591345 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ / รัฐชาติ ทัศนัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ Original title : The Role of Buriram United Football Club in the Development of Buriram Province Material Type: printed text Authors: รัฐชาติ ทัศนัย, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ฐ, 243 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมือง -- ไทย -- บุรีรัมย์
[LCSH]ฟุตบอล -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด -- การบริหารKeywords: การบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล
การพัฒนาจังหวัดAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทฤษฏีว่ามีปัจจัยภายใต้ทฤษฏีใดที่อธิบายการพัฒนาจังหวัดผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 390 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายจากประชาชนที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามนิวไอโมบายสเตเดียม จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ สำหรับวิชัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าผ่านเอกสาร สื่อออนไลน์ การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 11 คน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26550 SIU THE-T. บทบาทของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ดในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ = The Role of Buriram United Football Club in the Development of Buriram Province [printed text] / รัฐชาติ ทัศนัย, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ฐ, 243 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมือง -- ไทย -- บุรีรัมย์
[LCSH]ฟุตบอล -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด -- การบริหารKeywords: การบริหารจัดการสโมสรฟุตบอล
การพัฒนาจังหวัดAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 2) เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางทฤษฏีว่ามีปัจจัยภายใต้ทฤษฏีใดที่อธิบายการพัฒนาจังหวัดผ่านการบริหารจัดการทีมฟุตบอลบุรีรัมย์ยูไนเต็ด โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 390 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายจากประชาชนที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลที่สนามนิวไอโมบายสเตเดียม จังหวัดบุรีรัมย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ สำหรับวิชัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าผ่านเอกสาร สื่อออนไลน์ การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 11 คน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26550 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590461 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591956 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม / สมบัติ อรรถพิมล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม Original title : Approaches that Lead Disputing Parties to Consensual Acceptance of Mediation in the Court of Justice Material Type: printed text Authors: สมบัติ อรรถพิมล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 267 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรม -- ไทย
[LCSH]การระงับข้อพิพาท
[LCSH]การไกล่เกลี่ยKeywords: การไกล่เกลี่ย
การยอมรับ
ข้อพิพาท
ยุติธรรมทางเลือก
ศาลยุติธรรมAbstract: การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมดำเนินการโดย 2 ลักษณะวิธี คือ โดยการสืบพยานหลักฐานและมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสิน กับโดยการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาที่คู่พิพาทยอมรับการไกล่เกลี่ย หลักแนวคิด หลักทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการยอมรับการไกล่เกลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางที่เป็นตัวแบบที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยที่แตกต่างกันมีผลต่อผู้เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย 4 แนวคิดทฤษฎี คือ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ตัวแปรต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล แนวทางการแก้ไขปัญหาและแนวคิดทฤษฎี ตัวแปรตาม คือ การยอมรับการไกล่เกลี่ย
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบผสมระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพ กับการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลจากเอกสาร จากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสังเกตการณ์ และจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมาย การวิจัยเชิงคุณภาพนอกจากข้อมูลทางเอกสารแล้วได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารศาล 3 ท่าน ได้แก่ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาภาค 1 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต และสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิต 10 คดี ได้แก่ โจทก์ ทนายโจทก์ ผู้เสียหาย จำเลย ทนายจำเลย และผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย รวม 48 คน รวมทั้งสิ้น 51 คน และจากการเข้าสังเกตการณ์การไกล่เกลี่ย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้ข้อมูลจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิตในปี 2557 จำนวน 492 คดี ประชากร 2,000 คน สุ่มตัวอย่างได้ 370 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์เนื้อหาความถี่ทางสถิติและความแปรปรวน สรุปเป็นข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้บริหารศาล มีความคิดเห็นที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1) พึงพอใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล 2) ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยควรเป็นผู้มีความรู้ทางด้านกฎหมายและเทคนิคการเจรจาต่อรอง 3) การไกล่เกลี่ยจำเป็นต้องอาศัยแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิชาการที่ถูกคิดค้น และเป็นที่ยอมรับเป็นพื้นฐานในการเจรจาไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกัน 4) ไม่มีทฤษฎีใดดีที่สุด แต่ใช้หลายทฤษฎีประกอบกัน 5) ไม่เห็นด้วยที่ผู้ประนีประนอมคนหนึ่งทำหน้าที่หลายศาล และไม่เห็นด้วยที่ผู้พิพากษาสมทบไปเป็นผู้ประนีประนอมในศาลอื่น 6) ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยเป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อถือแก่คู่พิพาท ผู้พิพากษาอาวุโสเหมาะแก่การเป็นผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยคดีตัวอย่าง 10 คดี มีความคิดเห็นที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) คู่พิพาทและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เข้าไกล่เกลี่ยทุกคนพอใจกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล
2) บทบาทสำคัญของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยคือ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแก่คู่พิพาท 3) เหตุผลการยอมรับการไกล่เกลี่ยเพราะมีการผ่อนปรนลดหนี้ให้แก่กัน และเพราะเชื่อถือในความเป็นกลางของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย 4) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26551 SIU THE-T. แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม = Approaches that Lead Disputing Parties to Consensual Acceptance of Mediation in the Court of Justice [printed text] / สมบัติ อรรถพิมล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 267 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรม -- ไทย
[LCSH]การระงับข้อพิพาท
[LCSH]การไกล่เกลี่ยKeywords: การไกล่เกลี่ย
การยอมรับ
ข้อพิพาท
ยุติธรรมทางเลือก
ศาลยุติธรรมAbstract: การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมดำเนินการโดย 2 ลักษณะวิธี คือ โดยการสืบพยานหลักฐานและมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสิน กับโดยการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาที่คู่พิพาทยอมรับการไกล่เกลี่ย หลักแนวคิด หลักทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการยอมรับการไกล่เกลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางที่เป็นตัวแบบที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยที่แตกต่างกันมีผลต่อผู้เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย 4 แนวคิดทฤษฎี คือ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ตัวแปรต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล แนวทางการแก้ไขปัญหาและแนวคิดทฤษฎี ตัวแปรตาม คือ การยอมรับการไกล่เกลี่ย
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบผสมระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพ กับการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลจากเอกสาร จากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสังเกตการณ์ และจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมาย การวิจัยเชิงคุณภาพนอกจากข้อมูลทางเอกสารแล้วได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารศาล 3 ท่าน ได้แก่ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาภาค 1 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต และสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิต 10 คดี ได้แก่ โจทก์ ทนายโจทก์ ผู้เสียหาย จำเลย ทนายจำเลย และผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย รวม 48 คน รวมทั้งสิ้น 51 คน และจากการเข้าสังเกตการณ์การไกล่เกลี่ย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้ข้อมูลจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิตในปี 2557 จำนวน 492 คดี ประชากร 2,000 คน สุ่มตัวอย่างได้ 370 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์เนื้อหาความถี่ทางสถิติและความแปรปรวน สรุปเป็นข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้บริหารศาล มีความคิดเห็นที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1) พึงพอใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล 2) ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยควรเป็นผู้มีความรู้ทางด้านกฎหมายและเทคนิคการเจรจาต่อรอง 3) การไกล่เกลี่ยจำเป็นต้องอาศัยแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิชาการที่ถูกคิดค้น และเป็นที่ยอมรับเป็นพื้นฐานในการเจรจาไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกัน 4) ไม่มีทฤษฎีใดดีที่สุด แต่ใช้หลายทฤษฎีประกอบกัน 5) ไม่เห็นด้วยที่ผู้ประนีประนอมคนหนึ่งทำหน้าที่หลายศาล และไม่เห็นด้วยที่ผู้พิพากษาสมทบไปเป็นผู้ประนีประนอมในศาลอื่น 6) ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยเป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อถือแก่คู่พิพาท ผู้พิพากษาอาวุโสเหมาะแก่การเป็นผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยคดีตัวอย่าง 10 คดี มีความคิดเห็นที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) คู่พิพาทและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เข้าไกล่เกลี่ยทุกคนพอใจกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล
2) บทบาทสำคัญของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยคือ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแก่คู่พิพาท 3) เหตุผลการยอมรับการไกล่เกลี่ยเพราะมีการผ่อนปรนลดหนี้ให้แก่กัน และเพราะเชื่อถือในความเป็นกลางของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย 4) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26551 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591972 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592004 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06 c.2 Thesis Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย / สุดสาคร สิงห์ทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย Original title : Governance of the University Administrators in the Public University, Autonomous Public University and Private University in Southern Thailand Material Type: printed text Authors: สุดสาคร สิงห์ทอง, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 256 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- แง่ศีลธรรมจรรยา
[LCSH]ธรรมรัฐ
[LCSH]ธรรมรัฐ -- วิจัย -- ไทย (ภาคใต้)Keywords: ธรรมาภิบาล
ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับธรรมาภิบาล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อธรรมาภิบาล และปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานแล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสม หน่วยวิเคราะห์ คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยในภาคใต้ จำนวน 5 แห่ง ประชากรและ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 244 คน สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ไคว์สแควร์ การเปรียบเทียบพหุสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอย โดยโปรแกรม SPSS
ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้าน ความโปร่งใส อยู่ในระดับปานกลาง
2. ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์เชิงบวกสูงกับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
3. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเอกชนสูงกว่ามหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .05
4. ตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร เรียงตามความสำคัญคือ ความสามารถในการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติ ประสิทธิภาพการบริหารงานอย่างคุ้มค่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ความสามารถและความพร้อมในการปฏิบัติงาน และการติดต่อสื่อสารในการปฏิบัติงาน เป็นชุดตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการอธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ได้ร้อยละ 54.0 โดยมีความคลาดเคลื่อนของการทำนายเท่ากับ 9.119 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
5. ปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน แล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย มีการจัดลำดับความสำคัญแตกต่างกันในทุกมหาวิทยาลัย โดยทฤษฎีธรรมาภิบาลได้รับการนำมาใช้ในลำดับแรกเกือบทุกมหาวิทยาลัย รองลงมา คือ ทฤษฎีการบริหารในส่วนของการพัฒนาภาวะผู้นำและพฤติกรรมองค์การ ทฤษฎีนโยบายสาธารณะในส่วนของการให้บริการสาธารณะ และทฤษฎีการมีส่วนร่วมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26552 SIU THE-T. ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย = Governance of the University Administrators in the Public University, Autonomous Public University and Private University in Southern Thailand [printed text] / สุดสาคร สิงห์ทอง, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 256 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- แง่ศีลธรรมจรรยา
[LCSH]ธรรมรัฐ
[LCSH]ธรรมรัฐ -- วิจัย -- ไทย (ภาคใต้)Keywords: ธรรมาภิบาล
ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับธรรมาภิบาล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อธรรมาภิบาล และปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานแล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสม หน่วยวิเคราะห์ คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยในภาคใต้ จำนวน 5 แห่ง ประชากรและ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 244 คน สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ไคว์สแควร์ การเปรียบเทียบพหุสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอย โดยโปรแกรม SPSS
ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้าน ความโปร่งใส อยู่ในระดับปานกลาง
2. ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์เชิงบวกสูงกับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
3. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเอกชนสูงกว่ามหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .05
4. ตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร เรียงตามความสำคัญคือ ความสามารถในการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติ ประสิทธิภาพการบริหารงานอย่างคุ้มค่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ความสามารถและความพร้อมในการปฏิบัติงาน และการติดต่อสื่อสารในการปฏิบัติงาน เป็นชุดตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการอธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ได้ร้อยละ 54.0 โดยมีความคลาดเคลื่อนของการทำนายเท่ากับ 9.119 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
5. ปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน แล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย มีการจัดลำดับความสำคัญแตกต่างกันในทุกมหาวิทยาลัย โดยทฤษฎีธรรมาภิบาลได้รับการนำมาใช้ในลำดับแรกเกือบทุกมหาวิทยาลัย รองลงมา คือ ทฤษฎีการบริหารในส่วนของการพัฒนาภาวะผู้นำและพฤติกรรมองค์การ ทฤษฎีนโยบายสาธารณะในส่วนของการให้บริการสาธารณะ และทฤษฎีการมีส่วนร่วมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26552 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591998 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08 c.1 Thesis Graduate Library Thesis Corner Due for return by 10/30/2024 32002000593788 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย / สุจิตรา ปานพุ่ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย Original title : Sanya Dharmasakti and Thai Public Administration Material Type: printed text Authors: สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 183 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การบริหาร
[LCSH]สัญญา ธรรมศักดิ์
[LCSH]ไทย -- ข้าราชการและพนักงานKeywords: สัญญา ธรรมศักดิ์
การบริหารราชการไทยAbstract: การวิจัย เรื่อง สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ในขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ตามหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาจากเอกสารถึงประวัติผลงานการกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นำมาวิเคราะห์ถึงความสำเร็จหรือความล้มเหลวของนโยบายกับหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ พร้อมทั้งสัมภาษณ์นักวิชาการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการนำนโยบายดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ
ผลการวิจัย พบว่า (1) นโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ในขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ประกอบด้วย นโยบายด้านแรงงาน นโยบายด้านการเกษตรกรรม และนโยบายด้านการศึกษา จำแนกเป็นนโยบายที่ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ นโยบายแรงงานสัมพันธ์ และนโยบายที่ไม่ประสบความสำเร็จ ได้แก่ นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และนโยบายการศึกษา (2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ กับหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ พบว่า นโยบายแรงงานสัมพันธ์เป็นนโยบายที่ประสบความสำเร็จเนื่องจากเป็นไปตามหลักปรัชญาชองโทมัส ควีนาส ที่ว่ารัฐต้องเข้าไปดูแลเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและตัวแบบทางทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร : ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล ส่วนนโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และนโยบายการศึกษานั้น ถึงแม้จะสอดคล้องกับหลักปรัชญาของโธมัส ฮอบส์ ที่ว่ารัฐต้องจัดสรรที่ดินทำกินเพื่อความผาสุกของประชาชน และนโยบายการศึกษาที่สอดคล้องกับ ปรัชญาของอริสโตเติล และปรัชญาของโสกราติส ที่ว่าการทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีจะต้องให้การศึกษานั้น ยังไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากเป็นการนำนโยบายไปปฏิบัติเป็นแบบบนลงล่าง ที่ให้ความสำคัญที่ตัวนโยบายและการควบคุมการนำนโยบายไปปฏิบัติโดยผู้กำหนดนโยบายว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติมากกว่าตัวผู้ปฏิบัติระดับล่าง ดังนั้นความล้มเหลวของนโยบาย จึงเกิดจากโครงสร้างหลักไม่ได้ตั้งอยู่บนทฤษฎีที่เหมาะสม มีหน่วยงานเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องจำนวนมาก มีความสลับซับซ้อนในการสั่งการและประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน พร้อมทั้งขาดความเชื่อมโยงและความต่อเนื่องของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งข้อค้นพบนี้ตามงานวิจัยของเพรสแมนและวิลดัฟสกี้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26553 SIU THE-T. สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย = Sanya Dharmasakti and Thai Public Administration [printed text] / สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 183 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การบริหาร
[LCSH]สัญญา ธรรมศักดิ์
[LCSH]ไทย -- ข้าราชการและพนักงานKeywords: สัญญา ธรรมศักดิ์
การบริหารราชการไทยAbstract: การวิจัย เรื่อง สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ในขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ตามหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาจากเอกสารถึงประวัติผลงานการกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นำมาวิเคราะห์ถึงความสำเร็จหรือความล้มเหลวของนโยบายกับหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ พร้อมทั้งสัมภาษณ์นักวิชาการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการนำนโยบายดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ
ผลการวิจัย พบว่า (1) นโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ในขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ประกอบด้วย นโยบายด้านแรงงาน นโยบายด้านการเกษตรกรรม และนโยบายด้านการศึกษา จำแนกเป็นนโยบายที่ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ นโยบายแรงงานสัมพันธ์ และนโยบายที่ไม่ประสบความสำเร็จ ได้แก่ นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และนโยบายการศึกษา (2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ กับหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ พบว่า นโยบายแรงงานสัมพันธ์เป็นนโยบายที่ประสบความสำเร็จเนื่องจากเป็นไปตามหลักปรัชญาชองโทมัส ควีนาส ที่ว่ารัฐต้องเข้าไปดูแลเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและตัวแบบทางทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร : ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล ส่วนนโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และนโยบายการศึกษานั้น ถึงแม้จะสอดคล้องกับหลักปรัชญาของโธมัส ฮอบส์ ที่ว่ารัฐต้องจัดสรรที่ดินทำกินเพื่อความผาสุกของประชาชน และนโยบายการศึกษาที่สอดคล้องกับ ปรัชญาของอริสโตเติล และปรัชญาของโสกราติส ที่ว่าการทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีจะต้องให้การศึกษานั้น ยังไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากเป็นการนำนโยบายไปปฏิบัติเป็นแบบบนลงล่าง ที่ให้ความสำคัญที่ตัวนโยบายและการควบคุมการนำนโยบายไปปฏิบัติโดยผู้กำหนดนโยบายว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติมากกว่าตัวผู้ปฏิบัติระดับล่าง ดังนั้นความล้มเหลวของนโยบาย จึงเกิดจากโครงสร้างหลักไม่ได้ตั้งอยู่บนทฤษฎีที่เหมาะสม มีหน่วยงานเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องจำนวนมาก มีความสลับซับซ้อนในการสั่งการและประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน พร้อมทั้งขาดความเชื่อมโยงและความต่อเนื่องของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งข้อค้นพบนี้ตามงานวิจัยของเพรสแมนและวิลดัฟสกี้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26553 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592020 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596609 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย / พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย Original title : The Study of Administration in Gems and Thai Jewelry Material Type: printed text Authors: พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 138 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อัญมณี
[LCSH]เครื่องประดับ
[LCSH]เจ้าของกิจการKeywords: การบริหาร.
อัญมณี เครื่องประดับไทย.
หุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน.Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับของความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางธุรกิจที่มีผลต่อการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทยและเพื่อศึกษาแนวโน้มและทิศทางของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ผู้บริหารของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย และผู้ประกอบกิจการหรือผู้แทน จำนวน 400 คน ตัวแปร ประกอบด้วย ตัวแปรทางการบริหารและตัวแปรทางธุรกิจ และตัวแปรตาม คือ ความสำเร็จของการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้วิธีการทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ประกอบด้วยสถิติพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า..
1. ความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย อยู่ในระดับค่อนข้างมาก 2. ตัวแปรจำนวนทั้งหมด 6 ตัว ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี กล่าวคือ ปัจจัยที่ส่งผลทางบวกมี 5 ตัว ได้แก่ ป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ (socp)
แหล่งเงินทุน (abc) การสร้างแบรนด์ (socb) นโยบายของรัฐ (socg) การมีเครือข่าย / พันธมิตรทางการค้า (and) และส่วนปัจจัยที่มีผลทางลบ คือ การตลาด/การโฆษณา (adm) ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี ตัวแปรทั้ง 6 ตัวเหล่านี้ สามารถทำนายหรือพยากรณ์ผลของความสำเร็จได้ ร้อยละ 68 โดยมีความคลาดเคลื่อน เป็นร้อยละ 23.8 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้
Y = .543+ (.462 socp )+ ( .321abc) + (.180socb)+( .171socg) +( .128adn)+ (-.379adm)
งานวิจัยนี้ได้นำไปสู่ข้อค้นพบทางการบริหารจัดการ ที่สะท้อนให้เห็นว่าแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่รัฐควรจะให้ความสนันสนุนเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจของผู้ประกอบกิจการทางด้านนี้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26554 SIU THE-T. การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย = The Study of Administration in Gems and Thai Jewelry [printed text] / พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 138 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อัญมณี
[LCSH]เครื่องประดับ
[LCSH]เจ้าของกิจการKeywords: การบริหาร.
อัญมณี เครื่องประดับไทย.
หุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน.Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับของความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางธุรกิจที่มีผลต่อการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทยและเพื่อศึกษาแนวโน้มและทิศทางของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ผู้บริหารของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย และผู้ประกอบกิจการหรือผู้แทน จำนวน 400 คน ตัวแปร ประกอบด้วย ตัวแปรทางการบริหารและตัวแปรทางธุรกิจ และตัวแปรตาม คือ ความสำเร็จของการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้วิธีการทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ประกอบด้วยสถิติพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า..
1. ความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย อยู่ในระดับค่อนข้างมาก 2. ตัวแปรจำนวนทั้งหมด 6 ตัว ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี กล่าวคือ ปัจจัยที่ส่งผลทางบวกมี 5 ตัว ได้แก่ ป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ (socp)
แหล่งเงินทุน (abc) การสร้างแบรนด์ (socb) นโยบายของรัฐ (socg) การมีเครือข่าย / พันธมิตรทางการค้า (and) และส่วนปัจจัยที่มีผลทางลบ คือ การตลาด/การโฆษณา (adm) ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี ตัวแปรทั้ง 6 ตัวเหล่านี้ สามารถทำนายหรือพยากรณ์ผลของความสำเร็จได้ ร้อยละ 68 โดยมีความคลาดเคลื่อน เป็นร้อยละ 23.8 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้
Y = .543+ (.462 socp )+ ( .321abc) + (.180socb)+( .171socg) +( .128adn)+ (-.379adm)
งานวิจัยนี้ได้นำไปสู่ข้อค้นพบทางการบริหารจัดการ ที่สะท้อนให้เห็นว่าแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่รัฐควรจะให้ความสนันสนุนเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจของผู้ประกอบกิจการทางด้านนี้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26554 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592012 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592046 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม Original title : Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department Material Type: printed text Authors: ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 248 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม = Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department [printed text] / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 248 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592152 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592160 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย / กชมน ทิพยรัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย Original title : The Barriers of Woman’s Development in Lawyers and Legal Consultants Material Type: printed text Authors: กชมน ทิพยรัตน์, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 225 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การทำงาน -- ทัศนคติ
[LCSH]ทนายความ
[LCSH]ที่ปรึกษากฎหมายKeywords: อุปสรรคของสตรี
การพัฒนาสู่อาชีพทนายความ
ที่ปรึกษากฎหมายAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากภายในและภายนอกของสตรีและ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายของสตรี เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นบุรุษและสตรีที่สำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต จำนวน 33 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มทนายความทำงานในสำนักงานกฎหมาย 15 คน 2) กลุ่มที่ปรึกษากฎหมายทำงานในสำนักงานกฎหมาย 5 คน 3) กลุ่มนักกฎหมายทำงานด้านกฎหมายในองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมาย 8 คน และ 4) กลุ่มที่ได้ออกจากอาชีพด้านกฎหมายในภาคเอกชนแล้ว 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แล้วคัดเลือกนิติศาสตรบัณฑิตสตรีรายใหม่จากกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 1 คน แล้วจัดสนทนากลุ่มหรือสัมภาษณ์แบบกลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า นิติศาสตรบัณฑิตสตรีส่วนมาก เลือกที่จะประกอบอาชีพด้านกฎหมายในส่วนราชการหรือองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมายหรือเลือกทำงานด้านอื่นที่ไม่ได้ใช้ความรู้ด้านกฎหมาย สาเหตุที่ไม่เลือกทำงานเป็นทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายในสำนักงานกฎหมาย เพราะมีอุปสรรคสำคัญ 2 ประการ คือ 1) อุปสรรคภายในด้านบุคลิกภาพในส่วนพฤติกรรมและทัศนคติ และอุปสรรคด้านความสามารถ ได้แก่ พฤติกรรมการไม่ชอบลักษณะงานที่ต้องเดินทาง งานที่มีความเสี่ยง งานหนักกลับบ้านดึก งานที่ไม่มีเวลาดูแลครอบครัว ทัศนคติเกี่ยวกับความไม่มั่นคงในอาชีพ ค่าตอบแทนที่ไม่แน่นอน ความสามารถในการสร้างเครือข่ายงานได้น้อย และความไม่ถนัดในงานว่าความที่เป็นศาสตร์และศิลป์ และ 2) อุปสรรคภายนอกที่เกิดจากทัศนคติและการกระทำของผู้อื่น ได้แก่ ความไม่เชื่อถือในบุคลิกภาพ การสื่อสาร การพูดของทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายสตรี และเพศภาวะ โดยการเหมารวมทางเพศที่ยึดติดว่าเพศหญิงมีคุณค่าต่ำกว่าเพศชาย ทำให้เกิดอคติทางเพศ นำไปสู่การเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมทางเพศและเพดานกระจกที่มองไม่เห็นปิดกั้นความก้าวหน้าของสตรี
ข้อค้นพบของการวิจัยนี้ ยังพบว่า แนวทางการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคของสตรีที่มีต่ออาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย มี 2 ระดับ กล่าวคือ 1) ระดับสำนักงานกฎหมาย โดยมีข้อเสนอว่าการปรับสภาพแวดล้อมการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเวลาในการทำงานให้สอดคล้องกับความจำเป็นเฉพาะตัวของสตรี พร้อมกับนำจุดแข็งในเรื่องของการเตรียมคดีอย่างละเอียด การเจรจาที่ได้ผล มีความรับผิดชอบสูง ความถนัดในคดีการเงิน และคดีครอบครัวมาเสริมสร้างศักยภาพในการทำงานและ 2) ระดับประเทศ โดยมีข้อเสนอว่าควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพิ่มการฝึกปฏิบัติงานอาชีพทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย บุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ และการปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับปรัชญาของเพศภาวะในระดับมหาวิทยาลัย และจัดตั้งองค์กรพิเศษเพื่อพัฒนานักกฎหมายสตรี เพื่อรองรับการให้บริการด้านกฎหมายแก่ประชาคมอาเซียนได้อย่างยั่งยืน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26566 SIU THE-T. อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย = The Barriers of Woman’s Development in Lawyers and Legal Consultants [printed text] / กชมน ทิพยรัตน์, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 225 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การทำงาน -- ทัศนคติ
[LCSH]ทนายความ
[LCSH]ที่ปรึกษากฎหมายKeywords: อุปสรรคของสตรี
การพัฒนาสู่อาชีพทนายความ
ที่ปรึกษากฎหมายAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากภายในและภายนอกของสตรีและ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายของสตรี เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นบุรุษและสตรีที่สำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต จำนวน 33 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มทนายความทำงานในสำนักงานกฎหมาย 15 คน 2) กลุ่มที่ปรึกษากฎหมายทำงานในสำนักงานกฎหมาย 5 คน 3) กลุ่มนักกฎหมายทำงานด้านกฎหมายในองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมาย 8 คน และ 4) กลุ่มที่ได้ออกจากอาชีพด้านกฎหมายในภาคเอกชนแล้ว 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แล้วคัดเลือกนิติศาสตรบัณฑิตสตรีรายใหม่จากกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 1 คน แล้วจัดสนทนากลุ่มหรือสัมภาษณ์แบบกลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า นิติศาสตรบัณฑิตสตรีส่วนมาก เลือกที่จะประกอบอาชีพด้านกฎหมายในส่วนราชการหรือองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมายหรือเลือกทำงานด้านอื่นที่ไม่ได้ใช้ความรู้ด้านกฎหมาย สาเหตุที่ไม่เลือกทำงานเป็นทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายในสำนักงานกฎหมาย เพราะมีอุปสรรคสำคัญ 2 ประการ คือ 1) อุปสรรคภายในด้านบุคลิกภาพในส่วนพฤติกรรมและทัศนคติ และอุปสรรคด้านความสามารถ ได้แก่ พฤติกรรมการไม่ชอบลักษณะงานที่ต้องเดินทาง งานที่มีความเสี่ยง งานหนักกลับบ้านดึก งานที่ไม่มีเวลาดูแลครอบครัว ทัศนคติเกี่ยวกับความไม่มั่นคงในอาชีพ ค่าตอบแทนที่ไม่แน่นอน ความสามารถในการสร้างเครือข่ายงานได้น้อย และความไม่ถนัดในงานว่าความที่เป็นศาสตร์และศิลป์ และ 2) อุปสรรคภายนอกที่เกิดจากทัศนคติและการกระทำของผู้อื่น ได้แก่ ความไม่เชื่อถือในบุคลิกภาพ การสื่อสาร การพูดของทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายสตรี และเพศภาวะ โดยการเหมารวมทางเพศที่ยึดติดว่าเพศหญิงมีคุณค่าต่ำกว่าเพศชาย ทำให้เกิดอคติทางเพศ นำไปสู่การเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมทางเพศและเพดานกระจกที่มองไม่เห็นปิดกั้นความก้าวหน้าของสตรี
ข้อค้นพบของการวิจัยนี้ ยังพบว่า แนวทางการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคของสตรีที่มีต่ออาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย มี 2 ระดับ กล่าวคือ 1) ระดับสำนักงานกฎหมาย โดยมีข้อเสนอว่าการปรับสภาพแวดล้อมการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเวลาในการทำงานให้สอดคล้องกับความจำเป็นเฉพาะตัวของสตรี พร้อมกับนำจุดแข็งในเรื่องของการเตรียมคดีอย่างละเอียด การเจรจาที่ได้ผล มีความรับผิดชอบสูง ความถนัดในคดีการเงิน และคดีครอบครัวมาเสริมสร้างศักยภาพในการทำงานและ 2) ระดับประเทศ โดยมีข้อเสนอว่าควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพิ่มการฝึกปฏิบัติงานอาชีพทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย บุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ และการปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับปรัชญาของเพศภาวะในระดับมหาวิทยาลัย และจัดตั้งองค์กรพิเศษเพื่อพัฒนานักกฎหมายสตรี เพื่อรองรับการให้บริการด้านกฎหมายแก่ประชาคมอาเซียนได้อย่างยั่งยืน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26566 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592178 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592186 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available