From this page you can:
Home |
วารสารสภาการพยาบาล / สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข . Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560Published date : 09/21/2017 |
Available articles
Add the result to your basketนวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ได้รับ / สุจิตรา เอิบอาบ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : นวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ได้รับ : ยาพ่อนแบบฝอยละออง ดยมีครอบครัว เป็นศูนย์กลาง:กรณีศึกษา Material Type: printed text Authors: สุจิตรา เอิบอาบ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.5-16. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.5-16.Keywords: การพ่นยาแบบฝอยละออง. การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. ผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ นวัตกรรมการพยาบาล. Abstract: โรคปอดอักเสบ เป็นโรคติดเชื้อระบบหายใจส่วนล่างที่พบมากที่สุดในเด็กแรกเกิด
ถึงอายุห้าปีในประเทศไทย การบริหารยาโดยการพ่นยาแบบฝอยละอองเป็นวิธีการรักษา
ที่ใช้บ่อย เพื่อลดการหดเกร็งของหลอดลม การใช้หลักครอบครัวเป็นศูนย์กลางมีบทบาท
สำคัญในการเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ครอบคลุมทุกมิติ โดยเฉพาะทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ และจิตสังคม บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบได้รับยาพ่นแบบฝอยละอองที่ประยุกต์ใช้รูปแบบ
การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ผ่านการนำเสนอกรณีศึกษา ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
การดูแลให้เหมาะสมกับครอบครัวเป็นรายกรณี โดยตระหนักถึงความเข้มแข็งของครอบครัว
ความแตกต่างของแต่ละครอบครัว ความเป็นปัจเจกบุคคล และต้องการการสนับสนุนความ
ร่วมมือในการดูแล นำลงสู่การปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ 1) การเสริมสร้างพลังความเข้มแข็ง
แลกเปลี่ยนข้อมูล และวางแผนร่วมกัน 2) การดูแลร่วมกัน 3) ครอบครัวเป็นผู้นำและ
กำกับการดูแลด้วยตนเอง และ 4) การประเมินผลการดูแล ผลการนำโครงการนวัตกรรม
การพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพดูแล โดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลางผ่านกรณีศึกษา ลงสู่
การปฏิบัติพยาบาลพบว่า ครอบครัวมีความรู้ ทักษะ การมีส่วนร่วม และความพึงพอใจใน
การบริการสูงขึ้น ผู้ป่วยเด็กให้ความร่วมมือดีขึ้นและมากขึ้น และการตอบสนองด้านการหายใจ
ดีขึ้น
Abstract
Pneumonia is a lower respiratory tract infectious disease most commonly found in Thai infants and children aged up to 5 years. One of the most commonly prescribed medications is a small-volume nebuliser, which relieves bronchospasm. In addition to medication, family-centred care plays an important role in enhancing multi-dimensional care quality for this group of patients, responding to their physical, psychological and psychosocial needs.
This article aims at presenting a nursing innovation designed to enhance caregiving quality for child pneumonia patients treated with a small-volume nebuliser. By applying the family-centred care approach, this case study adjusted caregiving strategies to ft
individual patients’ needs, taking 4 main factors into onsideration, namely, each family’s strength, differences between families, individualism and needs for caregiving cooperation support. The study was conducted in 4 steps, which may be abbreviated as EFFE: (1) Empowerment; (2) Family-professional collaboration and participation; (3) Family as a leader and for self-monitoring; and (4) Evaluation of the caregiving method. The trial revealed a signifcant increase in the patients’ families’ knowledge,
skills, participation and satisfaction in response to this innovative family-centred caregiving model. In addition, the child patients cooperated better and more willingly, and displayed improved respiratory response
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27294 [article] นวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ได้รับ : ยาพ่อนแบบฝอยละออง ดยมีครอบครัว เป็นศูนย์กลาง:กรณีศึกษา [printed text] / สุจิตรา เอิบอาบ, Author . - 2017 . - p.5-16.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.5-16.Keywords: การพ่นยาแบบฝอยละออง. การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. ผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ นวัตกรรมการพยาบาล. Abstract: โรคปอดอักเสบ เป็นโรคติดเชื้อระบบหายใจส่วนล่างที่พบมากที่สุดในเด็กแรกเกิด
ถึงอายุห้าปีในประเทศไทย การบริหารยาโดยการพ่นยาแบบฝอยละอองเป็นวิธีการรักษา
ที่ใช้บ่อย เพื่อลดการหดเกร็งของหลอดลม การใช้หลักครอบครัวเป็นศูนย์กลางมีบทบาท
สำคัญในการเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ครอบคลุมทุกมิติ โดยเฉพาะทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ และจิตสังคม บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบได้รับยาพ่นแบบฝอยละอองที่ประยุกต์ใช้รูปแบบ
การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ผ่านการนำเสนอกรณีศึกษา ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
การดูแลให้เหมาะสมกับครอบครัวเป็นรายกรณี โดยตระหนักถึงความเข้มแข็งของครอบครัว
ความแตกต่างของแต่ละครอบครัว ความเป็นปัจเจกบุคคล และต้องการการสนับสนุนความ
ร่วมมือในการดูแล นำลงสู่การปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ 1) การเสริมสร้างพลังความเข้มแข็ง
แลกเปลี่ยนข้อมูล และวางแผนร่วมกัน 2) การดูแลร่วมกัน 3) ครอบครัวเป็นผู้นำและ
กำกับการดูแลด้วยตนเอง และ 4) การประเมินผลการดูแล ผลการนำโครงการนวัตกรรม
การพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพดูแล โดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลางผ่านกรณีศึกษา ลงสู่
การปฏิบัติพยาบาลพบว่า ครอบครัวมีความรู้ ทักษะ การมีส่วนร่วม และความพึงพอใจใน
การบริการสูงขึ้น ผู้ป่วยเด็กให้ความร่วมมือดีขึ้นและมากขึ้น และการตอบสนองด้านการหายใจ
ดีขึ้น
Abstract
Pneumonia is a lower respiratory tract infectious disease most commonly found in Thai infants and children aged up to 5 years. One of the most commonly prescribed medications is a small-volume nebuliser, which relieves bronchospasm. In addition to medication, family-centred care plays an important role in enhancing multi-dimensional care quality for this group of patients, responding to their physical, psychological and psychosocial needs.
This article aims at presenting a nursing innovation designed to enhance caregiving quality for child pneumonia patients treated with a small-volume nebuliser. By applying the family-centred care approach, this case study adjusted caregiving strategies to ft
individual patients’ needs, taking 4 main factors into onsideration, namely, each family’s strength, differences between families, individualism and needs for caregiving cooperation support. The study was conducted in 4 steps, which may be abbreviated as EFFE: (1) Empowerment; (2) Family-professional collaboration and participation; (3) Family as a leader and for self-monitoring; and (4) Evaluation of the caregiving method. The trial revealed a signifcant increase in the patients’ families’ knowledge,
skills, participation and satisfaction in response to this innovative family-centred caregiving model. In addition, the child patients cooperated better and more willingly, and displayed improved respiratory response
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27294 ภาพลักษณ์พยาบาลไทยในสื่อภาพยนตร์ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2558 / ภูริพันธ์ ภู่ไพบูลย์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ภาพลักษณ์พยาบาลไทยในสื่อภาพยนตร์ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2558 Material Type: printed text Authors: ภูริพันธ์ ภู่ไพบูลย์, Author ; นันทพันธ์ ชินล้ำประเสริฐ, Author ; รุจา ภู่ไพบูลย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.17-30 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.17-30Keywords: ภาพลักษณ์. ภาพลักษณ์พยาบาล. ภาพยนตร์. สื่อ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของพยาบาลที่อิงกับบทบาททาง
สังคมในบริบทต่างๆ ที่ปรากฏในภาพยนตร์ที่เข้ามาฉายในประเทศไทยขอบเขตของการศึกษา
ผลงานภาพยนตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ถึง ปี พ.ศ. 2558
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเอกสาร เชิงพรรณนา
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาหรือตัวละครเกี่ยวข้องกับพยาบาล
พยาบาลวิชาชีพ หรือนักศึกษาพยาบาล ที่มีความสำคัญต่อเรื่อง โดยเป็นภาพยนตร์ที่เคยได้รับ
รางวัลหรือถูกเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลในระดับสากล หรือมีรายได้รวมที่เข้าฉายในประเทศไทย
มากกว่า 20 ล้านบาทขึ้นไป ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 7 เรื่อง ในการวิเคราะห์ภาพลักษณ์พยาบาล
ผ่านโครงสร้างการเล่าเรื่องของภาพยนตร์
ผลการวิจัย: ปรากฏภาพลักษณ์พยาบาลของ 1) มารดาและภรรยา 3 จำนวนเรื่อง
2) ผู้ช่วยเหลือจำนวน 3 เรื่อง และ 3) ภาพลักษณ์ของสตรีหัวก้าวหน้าจำนวน 1 เรื่อง
จากผลการสรุปชี้ให้เห็นว่า ภาพลักษณ์พยาบาลที่ปรากฏจะเป็นไปในด้านบวก อยู่ฝ่ายผู้มี
คุณธรรมในที่สุดได้ชนะความชั่วร้ายทั้งยังเป็นผู้ช่วยเหลือที่มีความเป็นมืออาชีพ รวมถึงเป็น
ผู้เข้มแข็ง มีสติปัญญาดีและมีความคิดก้าวหน้าอีกด้วย
ข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ในการพัฒนาภาพลักษณ์พยาบาล
ให้มีความตรงและปรับปรุงภาพลักษณ์พยาบาลในภาพยนตร์
Abstract
Objectives: This documentary research is aimed to examine nursing images among movies released in Thailand, within different contexts. Studied movies were limited to those showed between 2005 -2015.
Design: Descriptive documentary research.
Methodology: Inclusion criteria includes movies showed in Thailand with contents or actors related to nursing, professional nurses, and nursing students, and specifc to those with higher than 20 million baht income or movies awards recipients’/nominees.
Total number of movies selected were 7 movies. Qualitative data analysis method was employed.
Results: The research result from 7 movies demonstrates major themes of nursing image included: 1) Mother and wife (virtue) in 3 movies, 2) Helper in 3 movies, and 3) Liberating women in 1 movie. The summary result indicates the positive nursing image in most of the movies with their moral goodness, which fnally overcome the
darkness at the end. They are strong professional helpers who has high intellectual ability and forwards thinking.
Recommendation: The results from, the study can be used to guide ways for improving nurse image in movies.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27295 [article] ภาพลักษณ์พยาบาลไทยในสื่อภาพยนตร์ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2558 [printed text] / ภูริพันธ์ ภู่ไพบูลย์, Author ; นันทพันธ์ ชินล้ำประเสริฐ, Author ; รุจา ภู่ไพบูลย์, Author . - 2017 . - p.17-30.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.17-30Keywords: ภาพลักษณ์. ภาพลักษณ์พยาบาล. ภาพยนตร์. สื่อ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของพยาบาลที่อิงกับบทบาททาง
สังคมในบริบทต่างๆ ที่ปรากฏในภาพยนตร์ที่เข้ามาฉายในประเทศไทยขอบเขตของการศึกษา
ผลงานภาพยนตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ถึง ปี พ.ศ. 2558
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเอกสาร เชิงพรรณนา
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาหรือตัวละครเกี่ยวข้องกับพยาบาล
พยาบาลวิชาชีพ หรือนักศึกษาพยาบาล ที่มีความสำคัญต่อเรื่อง โดยเป็นภาพยนตร์ที่เคยได้รับ
รางวัลหรือถูกเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลในระดับสากล หรือมีรายได้รวมที่เข้าฉายในประเทศไทย
มากกว่า 20 ล้านบาทขึ้นไป ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 7 เรื่อง ในการวิเคราะห์ภาพลักษณ์พยาบาล
ผ่านโครงสร้างการเล่าเรื่องของภาพยนตร์
ผลการวิจัย: ปรากฏภาพลักษณ์พยาบาลของ 1) มารดาและภรรยา 3 จำนวนเรื่อง
2) ผู้ช่วยเหลือจำนวน 3 เรื่อง และ 3) ภาพลักษณ์ของสตรีหัวก้าวหน้าจำนวน 1 เรื่อง
จากผลการสรุปชี้ให้เห็นว่า ภาพลักษณ์พยาบาลที่ปรากฏจะเป็นไปในด้านบวก อยู่ฝ่ายผู้มี
คุณธรรมในที่สุดได้ชนะความชั่วร้ายทั้งยังเป็นผู้ช่วยเหลือที่มีความเป็นมืออาชีพ รวมถึงเป็น
ผู้เข้มแข็ง มีสติปัญญาดีและมีความคิดก้าวหน้าอีกด้วย
ข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ในการพัฒนาภาพลักษณ์พยาบาล
ให้มีความตรงและปรับปรุงภาพลักษณ์พยาบาลในภาพยนตร์
Abstract
Objectives: This documentary research is aimed to examine nursing images among movies released in Thailand, within different contexts. Studied movies were limited to those showed between 2005 -2015.
Design: Descriptive documentary research.
Methodology: Inclusion criteria includes movies showed in Thailand with contents or actors related to nursing, professional nurses, and nursing students, and specifc to those with higher than 20 million baht income or movies awards recipients’/nominees.
Total number of movies selected were 7 movies. Qualitative data analysis method was employed.
Results: The research result from 7 movies demonstrates major themes of nursing image included: 1) Mother and wife (virtue) in 3 movies, 2) Helper in 3 movies, and 3) Liberating women in 1 movie. The summary result indicates the positive nursing image in most of the movies with their moral goodness, which fnally overcome the
darkness at the end. They are strong professional helpers who has high intellectual ability and forwards thinking.
Recommendation: The results from, the study can be used to guide ways for improving nurse image in movies.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27295 การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง / ศุภศิริิ เชียงตา in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล Material Type: printed text Authors: ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-48 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 [article] การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล [printed text] / ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author . - 2017 . - p.31-48.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล / นพวรรณ ดวงจันทร์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล : รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ โรคหลอดเลือดสมอง Original title : Correlation between the Quality of Life of Stroke Patients’ Caregivers and Basic Factors, Mutuality and Rewards of Caregiving Material Type: printed text Authors: นพวรรณ ดวงจันทร์, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.65-78 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.65-78Keywords: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล. รางวัลสำหรับการดูแล. คุณภาพชีวิตญาติผู้ดูแล ผู้สูงอายุ. โรคหลอดเลือดสมอง. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานบางประการ
ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมอง
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบศึกษาความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: ใช้กรอบแนวคิด The Family Care Model ของ Archbold และ
Stewart กลุ่มตัวอย่างคือญาติผู้ดูแลหลักของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 100 ราย
ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์สถิติ Fisher, s Exact Test สถิติ Eta และ Spearman’s
correlation coeffcient
ผลการวิจัย: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของญาติ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 (r = .287, p<.01) ส่วน
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการดูแล และรางวัลสำหรับการดูแลไม่มีความสัมพันธ์กับ
คุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลในการวางแผนการพยาบาล
การดูแลญาติเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองให้ดีLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27297 [article] ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล = Correlation between the Quality of Life of Stroke Patients’ Caregivers and Basic Factors, Mutuality and Rewards of Caregiving : รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ โรคหลอดเลือดสมอง [printed text] / นพวรรณ ดวงจันทร์, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author . - 2017 . - p.65-78.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.65-78Keywords: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล. รางวัลสำหรับการดูแล. คุณภาพชีวิตญาติผู้ดูแล ผู้สูงอายุ. โรคหลอดเลือดสมอง. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานบางประการ
ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมอง
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบศึกษาความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: ใช้กรอบแนวคิด The Family Care Model ของ Archbold และ
Stewart กลุ่มตัวอย่างคือญาติผู้ดูแลหลักของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 100 ราย
ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์สถิติ Fisher, s Exact Test สถิติ Eta และ Spearman’s
correlation coeffcient
ผลการวิจัย: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของญาติ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 (r = .287, p<.01) ส่วน
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการดูแล และรางวัลสำหรับการดูแลไม่มีความสัมพันธ์กับ
คุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลในการวางแผนการพยาบาล
การดูแลญาติเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองให้ดีLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27297 ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย : หลังผ่าตัดสมองในหอผู้ป่วยวิกฤต Original title : The Effect of Family Support Program on Coping among Caregivers of Post-operative Neurosurgical Patients in ICU Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.49-64 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.49-64Keywords: การปรับตัว. โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว. ผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง. ญาติผู้ดูแลหอผู้ป่วยวิกฤตประสาทศัลยศาสตร์. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อเปรียบเทียบการปรับตัวของญาติผู้ดูแลกลุ่มที่ได้รับ
โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว กับ กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับ
การรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตจนครบ 3 วัน
การออกแบบการวิจัย: วิธีวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง จำนวน 60 ราย
แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยโปรแกรม
การสนับสนุนครอบครัวสำาหรับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง และแบบสอบถามการปรับตัว
ฉบับย่อ (Brief COPE) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ MannWhitney U Test
ผลการวิจัย: ภายหลังญาติผู้ดูแลกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว
มีการปรับตัวดีขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < 0.05) และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p < 0.05) กล่าวคือ ผลของโปรแกรม ส่งผลให้ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง
สามารถใช้วิธีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับสถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญ
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรนำาโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
การพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเพื่อช่วยให้ญาติผู้ดูแลมีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับ
สถานการณ์ที่พบขณะอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27356 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย = The Effect of Family Support Program on Coping among Caregivers of Post-operative Neurosurgical Patients in ICU : หลังผ่าตัดสมองในหอผู้ป่วยวิกฤต [printed text] . - 2017 . - p.49-64.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.49-64Keywords: การปรับตัว. โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว. ผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง. ญาติผู้ดูแลหอผู้ป่วยวิกฤตประสาทศัลยศาสตร์. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อเปรียบเทียบการปรับตัวของญาติผู้ดูแลกลุ่มที่ได้รับ
โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว กับ กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับ
การรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตจนครบ 3 วัน
การออกแบบการวิจัย: วิธีวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง จำนวน 60 ราย
แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยโปรแกรม
การสนับสนุนครอบครัวสำาหรับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง และแบบสอบถามการปรับตัว
ฉบับย่อ (Brief COPE) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ MannWhitney U Test
ผลการวิจัย: ภายหลังญาติผู้ดูแลกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว
มีการปรับตัวดีขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < 0.05) และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p < 0.05) กล่าวคือ ผลของโปรแกรม ส่งผลให้ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง
สามารถใช้วิธีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับสถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญ
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรนำาโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
การพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเพื่อช่วยให้ญาติผู้ดูแลมีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับ
สถานการณ์ที่พบขณะอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27356 ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน : ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.79-94 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.79-94Keywords: การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง
บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง
การออกแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง
ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค
แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล
ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ
ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย
ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ
46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด
ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27357 [article] ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน : ภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสานสวนหลอดเลือดแดง [printed text] . - 2017 . - p.79-94.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.79-94Keywords: การฟื้นตัว. หลังผ่าตัด. พฤติกรรมการดูแลตนเอง. การผ่าตัดโดยผ่านทาง. สายสวนหลอดเลือดแดง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาอำานาจในการทำนายของพฤติกรรมการดูแลตนเอง
ข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและระยะเวลาหลังผ่าตัดต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดง
บริเวณขาตีบตันภายหลังผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง
การออกแบบการวิจัย: เป็นการวิจัยเชิงทำานาย
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตัน ภายหลัง
ผ่าตัดโดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง จำนวน 77 คน มารับการติดตามรักษาที่หน่วยตรวจโรค
แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือดและหน่วยตรวจรักษาด้วยเครื่องมือพิเศษและติดตามผลโรงพยาบาล
ศิริราช ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึงมิถุนายน 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลสุขภาพ แบบสอบถามพฤติกรรมการ
ดูแลตนเอง แบบสอบถามข้อมูลที่ได้รับก่อนจำาหน่ายและแบบสอบถามการฟื้นตัวหลังผ่าตัดโดย
ประเมินจากความสามารถในการเดิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และสถิติการถดถอยพหุคูณแบบเข้าพร้อมกัน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.4 มีการฟื้นตัวระยะหลังผ่าตัดอยู่ในระดับดี ร้อยละ
46.7 มีพฤติกรรมการดูแลตนเองดี ร้อยละ 53.2 ได้รับข้อมูลก่อนจำาหน่ายมาก การวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณพบว่าพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นปัจจัยเพียงตัวเดียวที่สามารถทำานายการฟื้นตัวของ
ผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดได้ร้อยละ 20.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 = .204, F(3,73)= 6.253, p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ: การมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดีจะส่งผลดีต่อการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัด
ดังนั้นพยาบาลจึงควรพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27357 ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ / ณัฏฐา ดวงตา in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ : และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Material Type: printed text Authors: ณัฏฐา ดวงตา, Author ; สุนทรา เลี้ยงเชวงวงศ์, Author ; สมพล สงวนรังศิริกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.95-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.95-110Keywords: การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การบริหารการหายใจ. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. ประสิทธิภาพการหายใจ. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังการออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองวิธีดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำานวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 42 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจ คู่มือความรู้ด้านสุขภาพและการบริหารการหายใจ วีดิทัศน์การบริหารการหายใจ ระยะเวลาในการวิจัยทั้งหมด 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินประสิทธิภาพการหายใจ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ปัญหาการหายใจของเซนต์จอร์จ แบบสัมภาษณ์อาการหายใจลำาบาก อาการไอและภาวะคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออกและระยะทางเดินบนพื้นราบ 6 นาที วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ยChi-squares, Fisher’s exact test ,Paired t-test, Independent t-test และ ANCOVA testผลการวิจัย: ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนปัญหาการหายใจลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนอาการหายใจลำาบาก อาการไอและการคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออก และระยะทางการเดินบนพื้นราบ 6 นาที ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อสมรรถภาพการทำงานของปอด Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27358 [article] ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ : และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง [printed text] / ณัฏฐา ดวงตา, Author ; สุนทรา เลี้ยงเชวงวงศ์, Author ; สมพล สงวนรังศิริกุล, Author . - 2017 . - p.95-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.95-110Keywords: การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การบริหารการหายใจ. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. ประสิทธิภาพการหายใจ. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังการออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองวิธีดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำานวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 42 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจ คู่มือความรู้ด้านสุขภาพและการบริหารการหายใจ วีดิทัศน์การบริหารการหายใจ ระยะเวลาในการวิจัยทั้งหมด 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินประสิทธิภาพการหายใจ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ปัญหาการหายใจของเซนต์จอร์จ แบบสัมภาษณ์อาการหายใจลำาบาก อาการไอและภาวะคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออกและระยะทางเดินบนพื้นราบ 6 นาที วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ยChi-squares, Fisher’s exact test ,Paired t-test, Independent t-test และ ANCOVA testผลการวิจัย: ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนปัญหาการหายใจลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนอาการหายใจลำาบาก อาการไอและการคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออก และระยะทางการเดินบนพื้นราบ 6 นาที ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อสมรรถภาพการทำงานของปอด Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27358 ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย / นภาพร วาณิชย์กุล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง Original title : Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* Material Type: printed text Authors: นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.111-115 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 [article] ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย = Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง [printed text] / นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author . - 2017 . - p.111-115.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม / สาคร เหล็กแย้ม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ Material Type: printed text Authors: สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.126-137 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 [article] การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ [printed text] / สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author . - 2017 . - p.126-137.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360