From this page you can:
Home |
Publisher details
Publisher
located at ปทุมธานี
Available items(s) from this publisher
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU Archives Collection. งานแถลงข่าว "การออกแบบก่อสร้างมหาวิทยาลัยชินวัตร" / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2541
Collection Title: SIU Archives Collection Title : งานแถลงข่าว "การออกแบบก่อสร้างมหาวิทยาลัยชินวัตร" : วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน 2541 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ Material Type: electronic document Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2541 Pagination: 2 แผ่น (18 นาที) เสียง, สี Size: (4 3/4 นิ้ว) Price: 200 Baht General note: ห้องสมุดมี : VDO 2 ตลับ (18 นาที). Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การออกแบบสถาปัตยกรรม
[LCSH]มหาวิทยาลัย -- การออกแบบและการสร้าง
[LCSH]สถาปัตยกรรม -- การออกแบบและการสร้าง
[LCSH]อาคาร -- การออกแบบและการสร้างRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=11174 SIU Archives Collection. งานแถลงข่าว "การออกแบบก่อสร้างมหาวิทยาลัยชินวัตร" : วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน 2541 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ [electronic document] . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2541 . - 2 แผ่น (18 นาที) เสียง, สี ; (4 3/4 นิ้ว).
200 Baht
ห้องสมุดมี : VDO 2 ตลับ (18 นาที).
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การออกแบบสถาปัตยกรรม
[LCSH]มหาวิทยาลัย -- การออกแบบและการสร้าง
[LCSH]สถาปัตยกรรม -- การออกแบบและการสร้าง
[LCSH]อาคาร -- การออกแบบและการสร้างRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=11174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000184380 TH4811 ง25 2541 Video Master Main Library SIU Archives Available 32002000184398 TH4811 ง25 2541 Video Master Main Library SIU Archives Available 32002000184406 TH4811 ง25 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184414 TH4811 ง25 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184422 TH4811 ง25 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184430 TH4811 ง25 2541 c.2 Computer File Main Library SIU Archives Available SIU Archives Collection. การสัมมนากึ่งปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ 2001 มหาวิทยาลัยใหม่เพื่อศตวรรษใหม่ / การสัมมนากึ่งปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ 2001 มหาวิทยาลัยใหม่เพื่อศตวรรษใหม่ (2541 : กาญจนบุรี) / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2541
Collection Title: SIU Archives Collection Title : การสัมมนากึ่งปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ 2001 มหาวิทยาลัยใหม่เพื่อศตวรรษใหม่ : 30 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน 2541 โรงแรมกาสะลองรีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี Material Type: electronic document Authors: การสัมมนากึ่งปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ 2001 มหาวิทยาลัยใหม่เพื่อศตวรรษใหม่ (2541 : กาญจนบุรี), Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2541 Pagination: 9 แผ่น (535 นาที) เสียง, สี Size: (4 3/4 นิ้ว) Price: 500 Baht General note: ห้องสมุดมี : VDO 4 ตลับ (535 นาที). Languages : Thai (tha) Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=11176 SIU Archives Collection. การสัมมนากึ่งปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ 2001 มหาวิทยาลัยใหม่เพื่อศตวรรษใหม่ : 30 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน 2541 โรงแรมกาสะลองรีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี [electronic document] / การสัมมนากึ่งปฏิบัติการ วิสัยทัศน์ 2001 มหาวิทยาลัยใหม่เพื่อศตวรรษใหม่ (2541 : กาญจนบุรี), . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2541 . - 9 แผ่น (535 นาที) เสียง, สี ; (4 3/4 นิ้ว).
500 Baht
ห้องสมุดมี : VDO 4 ตลับ (535 นาที).
Languages : Thai (tha)
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=11176 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000184026 TH4811 ก26 2541 Video Master Main Library SIU Archives Available 32002000184034 TH4811 ก26 2541 Video Master Main Library SIU Archives Available 32002000184042 TH4811 ก26 2541 Video Master Main Library SIU Archives Available 32002000184059 TH4811 ก26 2541 Video Master Main Library SIU Archives Available 32002000184067 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184075 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184083 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184109 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184125 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184158 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184174 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184190 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184216 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184232 TH4811 ก26 2541 c.1 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184091 TH4811 ก26 2541 c.2 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184117 TH4811 ก26 2541 c.3 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184133 TH4811 ก26 2541 c.4 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184166 TH4811 ก26 2541 c.5 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184182 TH4811 ก26 2541 c.6 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184208 TH4811 ก26 2541 c.7 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184224 TH4811 ก26 2541 c.8 Computer File Main Library SIU Archives Available 32002000184240 TH4811 ก26 2541 c.9 Computer File Main Library SIU Archives Available แผนปฏิบัติการและงบประมาณประจำปี ปีการศึกษา 2551 / มหาวิทยาลัยชินวัตร / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร
Title : แผนปฏิบัติการและงบประมาณประจำปี ปีการศึกษา 2551 : (1 มิถุนายน 2551-31 พฤษภาคม 2552) Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยชินวัตร, Author Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Languages : Thai (tha) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=20059 แผนปฏิบัติการและงบประมาณประจำปี ปีการศึกษา 2551 : (1 มิถุนายน 2551-31 พฤษภาคม 2552) [printed text] / มหาวิทยาลัยชินวัตร, Author . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, [s.d.].
Languages : Thai (tha)
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=20059 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000340099 LG395.T5.S55 ผ932 2552 c.1 Book Graduate Library General Shelf Available SIU THE-T. ยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล / ธีรยุทธ์ จงศิริ / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Strategic Cooperation Development of Crime Prevention In Responsible area of Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ธีรยุทธ์ จงศิริ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 182 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-16
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบังคับใช้กฎหมาย
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม
[LCSH]การพัฒนา -- ยุทธศาสตร์Keywords: การป้องกันอาชญากรรม, ยุทธศาสตร์การพัฒนา, การบังคับใช้กฎหมาย Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) เพื่อศึกษาระดับเกี่ยวกับปัจจัยการป้องกันปัญหาอาชญากรรมที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) เพื่อศึกษาระดับของการบริหารจัดการเพื่อการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี
(Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน จากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณเส้นตรง
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ด้านสังคม คือปัญหายาเสพติดที่รุนแรง จากจำนวนครั้งของการจับกุม และปริมาณยาเสพติดที่จับได้ในแต่ละครั้งมีมากขึ้น ด้านการบังคับใช้กฎหมาย จากหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์จะต้องมีการบูรณการให้การบังคับใช้กฎหมาย เป็นไปด้วยความแน่นอน รวดเร็ว เสมอภาคและงานวิจัยในเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านสังคม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.31,S.D. = 0.46)
ปัจจัยการป้องกันปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านการพัฒนาการศึกษามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.15,S.D. = 0.57) การบริหารจัดการเพื่อการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านการสื่อสาร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.30,S.D. = 0.57) และยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือ การป้องกันอาชญากรรม คือ การสร้างความไว้วางใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.24,S.D. = 0.85)
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาถึงศึกษารูปแบบของผู้นำและทีมงานของสำนักงานตำรวจ ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28272 SIU THE-T. ยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล = Strategic Cooperation Development of Crime Prevention In Responsible area of Metropolitan Police Bureau [printed text] / ธีรยุทธ์ จงศิริ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 182 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-16
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบังคับใช้กฎหมาย
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม
[LCSH]การพัฒนา -- ยุทธศาสตร์Keywords: การป้องกันอาชญากรรม, ยุทธศาสตร์การพัฒนา, การบังคับใช้กฎหมาย Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) เพื่อศึกษาระดับเกี่ยวกับปัจจัยการป้องกันปัญหาอาชญากรรมที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) เพื่อศึกษาระดับของการบริหารจัดการเพื่อการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี
(Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน จากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณเส้นตรง
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ด้านสังคม คือปัญหายาเสพติดที่รุนแรง จากจำนวนครั้งของการจับกุม และปริมาณยาเสพติดที่จับได้ในแต่ละครั้งมีมากขึ้น ด้านการบังคับใช้กฎหมาย จากหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์จะต้องมีการบูรณการให้การบังคับใช้กฎหมาย เป็นไปด้วยความแน่นอน รวดเร็ว เสมอภาคและงานวิจัยในเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านสังคม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.31,S.D. = 0.46)
ปัจจัยการป้องกันปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านการพัฒนาการศึกษามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.15,S.D. = 0.57) การบริหารจัดการเพื่อการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านการสื่อสาร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.30,S.D. = 0.57) และยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือ การป้องกันอาชญากรรม คือ การสร้างความไว้วางใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.24,S.D. = 0.85)
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาถึงศึกษารูปแบบของผู้นำและทีมงานของสำนักงานตำรวจ ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28272 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607511 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-16 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607518 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-16 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 / พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 Original title : The Abbot’s Roles in Monasteries Management towards Good Governance Principles under the Sangha Region 10 Material Type: printed text Authors: พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 140 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]เจ้าอาวาสKeywords: เจ้าอาวาส, คณะสงฆ์ภาค 10, ธรรมาภิบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ว่าด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 3) เพื่อศึกษาบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 24 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของประชาชนในสังกัดคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ปัญหามิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์และหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10
1) การเผยแผ่ศาสนา ขาดการวางแผนเชิงรุก 2) การศาสนศึกษา ขาดแคลนงบประมาณอุดหนุน 3) การศึกษาสงเคราะห์ ขาดการมีส่วนร่วม 4) การสาธารณะสงเคราะห์ ขาดการวางแผน 5) การสาธารณูปการ การขัดแย้งกับชุมชน 6) การปกครอง ขาดโครงสร้างที่เหมาะสม และงานวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยมิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์ที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือ ด้านการศาสนศึกษา (x̄ = 4.52, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ ด้านศาสนศึกษา ด้านสาธารณสงเคราะห์ ด้านสาธารณูปการ และด้านการปกครอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.513 มีอำนาจทำนายร้อยละ 25.20 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.990 และปัจจัยธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือหลักความโปร่งใสและหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.57, 0.66) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านความคุ้มค่า และด้านหลักการตอบสนอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.691 มีอำนาจทำนายร้อยละ 47.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.863
ข้อเสนอแนะ ศึกษาทัศนคติของชุมชนที่มีภูมิลำเนาฐานรอบศาสนสถาน นำงานวิจัยมาปรับปรุงและยกระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์และนำสู่ภาคปฏิบัติร่วมกันเพื่อสร้างสันติสุขให้กับชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28273 SIU THE-T. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 = The Abbot’s Roles in Monasteries Management towards Good Governance Principles under the Sangha Region 10 [printed text] / พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 140 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]เจ้าอาวาสKeywords: เจ้าอาวาส, คณะสงฆ์ภาค 10, ธรรมาภิบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ว่าด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 3) เพื่อศึกษาบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 24 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของประชาชนในสังกัดคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ปัญหามิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์และหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10
1) การเผยแผ่ศาสนา ขาดการวางแผนเชิงรุก 2) การศาสนศึกษา ขาดแคลนงบประมาณอุดหนุน 3) การศึกษาสงเคราะห์ ขาดการมีส่วนร่วม 4) การสาธารณะสงเคราะห์ ขาดการวางแผน 5) การสาธารณูปการ การขัดแย้งกับชุมชน 6) การปกครอง ขาดโครงสร้างที่เหมาะสม และงานวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยมิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์ที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือ ด้านการศาสนศึกษา (x̄ = 4.52, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ ด้านศาสนศึกษา ด้านสาธารณสงเคราะห์ ด้านสาธารณูปการ และด้านการปกครอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.513 มีอำนาจทำนายร้อยละ 25.20 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.990 และปัจจัยธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือหลักความโปร่งใสและหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.57, 0.66) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านความคุ้มค่า และด้านหลักการตอบสนอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.691 มีอำนาจทำนายร้อยละ 47.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.863
ข้อเสนอแนะ ศึกษาทัศนคติของชุมชนที่มีภูมิลำเนาฐานรอบศาสนสถาน นำงานวิจัยมาปรับปรุงและยกระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์และนำสู่ภาคปฏิบัติร่วมกันเพื่อสร้างสันติสุขให้กับชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28273 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607503 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607514 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ธานินทร์ มุมทอง / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Title : ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Management Efficiency of the Emergency Notification Center 191 Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ธานินทร์ มุมทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xv, 258 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 -- การบริหาร
[LCSH]องค์กร -- การจัดการKeywords: ประสิทธิภาพการบริหาร, แนวทางการบริหาร, ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 Curricular : MBA/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28274 ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Management Efficiency of the Emergency Notification Center 191 Metropolitan Police Bureau [printed text] / ธานินทร์ มุมทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xv, 258 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 -- การบริหาร
[LCSH]องค์กร -- การจัดการKeywords: ประสิทธิภาพการบริหาร, แนวทางการบริหาร, ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 Curricular : MBA/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28274 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32 002000607502 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607501 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available การบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี / ฉัตรชัย นามเสนาะ / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Title : การบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี Original title : Traffic Management in the Areas of Metropolitan Police Bureau According to Good Governance Material Type: printed text Authors: ฉัตรชัย นามเสนาะ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 142 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-18
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]การบังคับใช้กฎหมาย
[LCSH]จราจร -- การจัดการKeywords: การจราจร, การบังคับใช้กฎหมาย, การขนส่งสาธารณะ Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยนำไปสู่การเกิดปัญหาการจราจรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) เพื่อศึกษาปัจจัยแก้ไขปัญหาการจราจรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจราจร ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการที่ดี ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน จากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ปัจจัยสาเหตุสำคัญของการเกิดปัญหาการจราจร คือด้านผู้ขับขี่ยานพาหนะ ที่นิยมการใช้รถส่วนตัวมากกว่าการใช้ขนส่งสาธารณะ ปัจจัยการแก้ไขปัญหาจราจรคือด้านกฎหมายจราจร ต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดและจริงจัง แนวทางการบริหารจัดการที่ดีในการแก้ไขปัญหาการจราจร คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชน ในการสอดส่องตรวจตราการบังคับใช้กฎหมายจราจรให้มีความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง และงานวิจัยในเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเกิดปัญหาการจราจรในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านสภาพของรถ ยานพาหนะ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.38, S.D. = 0.54) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัว ได้แก่ ด้านผู้ขับขี่ยานพาหนะ ด้านสภาพของยานพาหนะ ด้านโครงสร้างถนน และด้านกำลังพลตำรวจจราจร สามารถร่วมกันทำนายการบริหารจัดการในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.582 มีอำนาจทำนายร้อยละ 33.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตฐานของการทำนายมีค่า 2.230 ปัจจัยที่แก้ไขปัญหาการจราจรในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านขนส่งสาธารณะ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.30, S.D. = 0.51) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัว ได้แก่ ด้านกฎหมายจราจร ด้านขนส่งสาธารณะ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และด้านงานอาสาจราจร มีตัวแปรทำนาย 2 ตัว คือ ด้านกฎหมายจราจร และด้านการขนส่งสาธารณะ สามารถทำนายการบริหารจัดการ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดีอย่างมีนัยสำคัญหางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.539 มีอำนาจทำนายร้อยละ 29.00 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 2.174 และการบริหารจัดการที่ดี ในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.53, S.D. = 0.59) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 6 ตัวได้แก่ ด้านกฎหมาย ด้านหลักความเป็นธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และด้านหลักความรับผิดชอบ มีตัวแปรทำนาย 5 ตัว คือ ด้านหลักความเป็นธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และด้านหลักความรับผิดชอบ สามารถทำนายการบริหารจัดการ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคุณเท่กับ 0.786 มีอำนาจทำนายร้อยละ 61.70 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 2.034
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาด้านหลักความโปร่งใส เนื่องจากสำนักงานตำรวจมักถูกมองจากสังคมภายนอกว่าเป็นองค์กรที่เอื้อต่อการทุจริตคอร์รัปชั่นCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28275 การบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี = Traffic Management in the Areas of Metropolitan Police Bureau According to Good Governance [printed text] / ฉัตรชัย นามเสนาะ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 142 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-18
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]การบังคับใช้กฎหมาย
[LCSH]จราจร -- การจัดการKeywords: การจราจร, การบังคับใช้กฎหมาย, การขนส่งสาธารณะ Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยนำไปสู่การเกิดปัญหาการจราจรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) เพื่อศึกษาปัจจัยแก้ไขปัญหาการจราจรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจราจร ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการที่ดี ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน จากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ปัจจัยสาเหตุสำคัญของการเกิดปัญหาการจราจร คือด้านผู้ขับขี่ยานพาหนะ ที่นิยมการใช้รถส่วนตัวมากกว่าการใช้ขนส่งสาธารณะ ปัจจัยการแก้ไขปัญหาจราจรคือด้านกฎหมายจราจร ต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดและจริงจัง แนวทางการบริหารจัดการที่ดีในการแก้ไขปัญหาการจราจร คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชน ในการสอดส่องตรวจตราการบังคับใช้กฎหมายจราจรให้มีความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง และงานวิจัยในเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเกิดปัญหาการจราจรในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านสภาพของรถ ยานพาหนะ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.38, S.D. = 0.54) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัว ได้แก่ ด้านผู้ขับขี่ยานพาหนะ ด้านสภาพของยานพาหนะ ด้านโครงสร้างถนน และด้านกำลังพลตำรวจจราจร สามารถร่วมกันทำนายการบริหารจัดการในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.582 มีอำนาจทำนายร้อยละ 33.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตฐานของการทำนายมีค่า 2.230 ปัจจัยที่แก้ไขปัญหาการจราจรในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านขนส่งสาธารณะ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.30, S.D. = 0.51) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัว ได้แก่ ด้านกฎหมายจราจร ด้านขนส่งสาธารณะ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และด้านงานอาสาจราจร มีตัวแปรทำนาย 2 ตัว คือ ด้านกฎหมายจราจร และด้านการขนส่งสาธารณะ สามารถทำนายการบริหารจัดการ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดีอย่างมีนัยสำคัญหางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.539 มีอำนาจทำนายร้อยละ 29.00 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 2.174 และการบริหารจัดการที่ดี ในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.53, S.D. = 0.59) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 6 ตัวได้แก่ ด้านกฎหมาย ด้านหลักความเป็นธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และด้านหลักความรับผิดชอบ มีตัวแปรทำนาย 5 ตัว คือ ด้านหลักความเป็นธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และด้านหลักความรับผิดชอบ สามารถทำนายการบริหารจัดการ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคุณเท่กับ 0.786 มีอำนาจทำนายร้อยละ 61.70 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 2.034
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาด้านหลักความโปร่งใส เนื่องจากสำนักงานตำรวจมักถูกมองจากสังคมภายนอกว่าเป็นองค์กรที่เอื้อต่อการทุจริตคอร์รัปชั่นCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28275 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607513 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-18 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607504 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-18 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available