Collection Title: | SIU THE-T | Title : | ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล | Original title : | Vehicle Theft Prevention Factors Responsible Area Metropolitan Police Bureau | Material Type: | printed text | Authors: | สัมฤทธิ์ กระสังข์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2020 | Pagination: | xi, 139 น. | Layout: | ตาราง, ภาพประกอบ | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 บาท | General note: | SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]โจรกรรมรถยนต์ -- การป้องกัน
| Keywords: | การป้องกัน,
การโจรกรรมรถยนต์,
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์,
ปัจจัยการป้องกัน | Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยแวดล้อมปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายของการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) ศึกษาความสัมระหว่างปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี คือการวิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 รวมทั้งหมด 26,750 คน คำนวนกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณาที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับปัจจัยโดยภาพรวมมีค่าในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยเชิงนโยบาย มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.67 รองลงมาคือ ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.55 และปัจจัยภายในองค์การ มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.46
2) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านครอบครัว และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ มีค่า (r=0.67, r=0.52 และ r=0.40) ตามลำดับ ปัจจัยภายในองค์การ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (r=0.90) และตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านวัฒนธรรมองค์การ (r=0.019) ปัจจัยเชิงนโยบาย ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการวางแผนและการควบคุม (r=0.80) และตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านระบบการวัดผล (r=0.80)
3) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคลตัวแปรที่ส่งผล คือ ด้านครอบครัว และสังคม ปัจจัยภายในองค์การตัวแปรที่ส่งผลคือ ด้านการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูล และปัจจัยเชิงนโยบายมีตัว 5 ตัวแปรที่ส่งผล ได้แก่ ด้านการวางแผนและการควบคุม ด้านการกำหนดภารกิจ และมอบหมายงาน ด้านวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านมาตรฐานการให้คุณ-โทษ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงาน | Curricular : | MPA/DPA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28107 |
SIU THE-T. ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล = Vehicle Theft Prevention Factors Responsible Area Metropolitan Police Bureau [printed text] / สัมฤทธิ์ กระสังข์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 139 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม. 500.00 บาท SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]โจรกรรมรถยนต์ -- การป้องกัน
| Keywords: | การป้องกัน,
การโจรกรรมรถยนต์,
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์,
ปัจจัยการป้องกัน | Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยแวดล้อมปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายของการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) ศึกษาความสัมระหว่างปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี คือการวิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 รวมทั้งหมด 26,750 คน คำนวนกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณาที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับปัจจัยโดยภาพรวมมีค่าในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยเชิงนโยบาย มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.67 รองลงมาคือ ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.55 และปัจจัยภายในองค์การ มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.46
2) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านครอบครัว และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ มีค่า (r=0.67, r=0.52 และ r=0.40) ตามลำดับ ปัจจัยภายในองค์การ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (r=0.90) และตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านวัฒนธรรมองค์การ (r=0.019) ปัจจัยเชิงนโยบาย ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการวางแผนและการควบคุม (r=0.80) และตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านระบบการวัดผล (r=0.80)
3) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคลตัวแปรที่ส่งผล คือ ด้านครอบครัว และสังคม ปัจจัยภายในองค์การตัวแปรที่ส่งผลคือ ด้านการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูล และปัจจัยเชิงนโยบายมีตัว 5 ตัวแปรที่ส่งผล ได้แก่ ด้านการวางแผนและการควบคุม ด้านการกำหนดภารกิจ และมอบหมายงาน ด้านวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านมาตรฐานการให้คุณ-โทษ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงาน | Curricular : | MPA/DPA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28107 |
|