From this page you can:
Home |
Author details
Author อัมพรสถิร เฟื่องฟ้า
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสระแก้ว / วรรณพร พุทธภูมิพิทักษ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสระแก้ว Original title : Strategy for Innovation Development, Management and Success of Small Business Entrepreneurs, Community Enterprise Groups in Sa Kaeo Province Material Type: printed text Authors: วรรณพร พุทธภูมิพิทักษ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 158 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธุรกิจขนาดย่อม -- การบริหาร
[LCSH]นวัตกรรมทางธุรกิจ -- การจัดการKeywords: กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการ,
ความสำเร็จ,
ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เพื่อศึกษาลักษณะของนวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสระแก้ว 2.) เพื่อศึกษานวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกับความสำเร็จของผู้ประกอบการ และ 3.) เพื่อหากลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสระแก้ว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) ผสมผสานกับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR)
ผลจากการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1.) พบว่าลักษณะของนวัตกรรมนวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อยู่ในลักษณะผู้ผลิตเชิงเดี่ยวแบบธุรกิจครอบครัว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีลักษณะการรวมกลุ่มของแต่ละหมู่บ้าน มีการประสานงานกับส่วนราชการจังหวัดสระแก้ว โดยมีผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้านเป็นตัวแทน ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2.) พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีความตื่นตัวในการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันเชิงธุรกิจ มีการใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการตลาดonline ประสบความสำเร็จในระดับปานกลาง ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3.) พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันอยู่ตลอดเวลาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่สำคัญของความสำเร็จ
คือ การสร้างนวัตกรรมการจัดการที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของผู้นำและผู้ประกอบการ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี แผนการตลาด การจำแนกกลุ่มลูกค้าตามความต้องการ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ราคา และความสะดวกของลูกค้า และการสร้างแบรนด์ที่เกี่ยวโยงกับวัฒนธรรมชุมชนCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28047 SIU THE-T. กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสระแก้ว = Strategy for Innovation Development, Management and Success of Small Business Entrepreneurs, Community Enterprise Groups in Sa Kaeo Province [printed text] / วรรณพร พุทธภูมิพิทักษ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 158 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธุรกิจขนาดย่อม -- การบริหาร
[LCSH]นวัตกรรมทางธุรกิจ -- การจัดการKeywords: กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการ,
ความสำเร็จ,
ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เพื่อศึกษาลักษณะของนวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสระแก้ว 2.) เพื่อศึกษานวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกับความสำเร็จของผู้ประกอบการ และ 3.) เพื่อหากลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการจัดการและความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสระแก้ว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) ผสมผสานกับการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR)
ผลจากการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1.) พบว่าลักษณะของนวัตกรรมนวัตกรรมการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อยู่ในลักษณะผู้ผลิตเชิงเดี่ยวแบบธุรกิจครอบครัว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีลักษณะการรวมกลุ่มของแต่ละหมู่บ้าน มีการประสานงานกับส่วนราชการจังหวัดสระแก้ว โดยมีผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้านเป็นตัวแทน ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2.) พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีความตื่นตัวในการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันเชิงธุรกิจ มีการใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการตลาดonline ประสบความสำเร็จในระดับปานกลาง ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3.) พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันอยู่ตลอดเวลาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่สำคัญของความสำเร็จ
คือ การสร้างนวัตกรรมการจัดการที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของผู้นำและผู้ประกอบการ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี แผนการตลาด การจำแนกกลุ่มลูกค้าตามความต้องการ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ราคา และความสะดวกของลูกค้า และการสร้างแบรนด์ที่เกี่ยวโยงกับวัฒนธรรมชุมชนCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28047 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607382 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607379 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง / สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง Original title : Creative Economic Marketing and Participatory Development Paradigm: The Model Community of the Royal Project Material Type: printed text Authors: สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xix, 375 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การพัฒนาอาชีพ
[LCSH]เศรษฐกิจสร้างสรรค์Keywords: การพัฒนากลุ่มอาชีพ,
เศรษฐกิจสร้างสรรค์,
ชุมชนแม่จันใต้Abstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และรูปแบบเส้นทางผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพทางการตลาดที่สามารถสนองตอบต่อความต้องการตามสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมทางการตลาดยุคปัจจุบัน รวมถึงศึกษาบริบทชุมชนบ้านแม่จันใต้ ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซึ่งกำหนดเป็นชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง และตลอดจนศึกษาคุณลักษณะ กระบวนการและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพ ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพของเกษตรกรในชุมชนต้นแบบ จากกลุ่มตัวอย่างที่ 1 เกษตรกรชุมชนต้นแบบ จำนวน 36 ครัวเรือน และกลุ่มตัวอย่างที่ 2 คือ ประชากร เพศชายและเพศหญิง อายุ 20 ปีขึ้นไปและเป็นผู้ที่มีประสบการณ์บริโภคผลิตภัณฑ์โครงการหลวง จำนวน 300 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างในกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานการวิจัยโดยการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรในชุมชนต้นแบบมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งกลุ่มอาชีพอยู่ในระดับมากที่สุด มีความต้องการจัดตั้งกลุ่มอาชีพและมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ (POSDCoRB) อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการวิจัยด้านการตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พบว่าผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุด มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการตลาด 4.0 เส้นทางผู้บริโภคอยู่ในระดับมาก ทั้งยังพบว่ารูปแบบของเส้นทางผู้บริโภคเป็น “รูปแบบทรัมเป็ต (Trumpet)” ผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย พบว่า
1. ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้านสถานะภาพและด้านประสบการณ์ทำงาน มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่แตกต่างกันในทุกปัจจัย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
2. ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) (1) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการรับรู้ปัญหา (Aware) (2) ด้านการสร้างสรรค์งาน การสร้างสรรค์ และด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการประเมินทางเลือก (Appeal) (3) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา และ ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการค้นหาข้อมูล (Ask) และ (4) ด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการตัดสินใจซื้อ (Act)
การนำผลจากการศึกษาวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์ในด้านการพัฒนารูปแบบกลุ่มอาชีพและเครือข่ายชุมชนโดยรอบ และเครือข่ายภายนอก ควรการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างปัจจัยอันจะเอื้อและก่อให้เกิดคุณลักษณะของธุรกิจชุมชนที่มีกรอบชัดเจน และมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ซึ่งควรเป็นไปในลักษณะของการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการร่วมกับการจัดการความรู้ในชุมชน (Knowledge Management) ควบคู่ไปกับการจัดให้มีระบบพี่เลี้ยงในระหว่างกระบวนการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องให้แก่ชุมชนด้วยอีกประการCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28046 SIU THE-T. การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง = Creative Economic Marketing and Participatory Development Paradigm: The Model Community of the Royal Project [printed text] / สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xix, 375 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การพัฒนาอาชีพ
[LCSH]เศรษฐกิจสร้างสรรค์Keywords: การพัฒนากลุ่มอาชีพ,
เศรษฐกิจสร้างสรรค์,
ชุมชนแม่จันใต้Abstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และรูปแบบเส้นทางผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพทางการตลาดที่สามารถสนองตอบต่อความต้องการตามสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมทางการตลาดยุคปัจจุบัน รวมถึงศึกษาบริบทชุมชนบ้านแม่จันใต้ ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซึ่งกำหนดเป็นชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง และตลอดจนศึกษาคุณลักษณะ กระบวนการและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพ ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพของเกษตรกรในชุมชนต้นแบบ จากกลุ่มตัวอย่างที่ 1 เกษตรกรชุมชนต้นแบบ จำนวน 36 ครัวเรือน และกลุ่มตัวอย่างที่ 2 คือ ประชากร เพศชายและเพศหญิง อายุ 20 ปีขึ้นไปและเป็นผู้ที่มีประสบการณ์บริโภคผลิตภัณฑ์โครงการหลวง จำนวน 300 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างในกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานการวิจัยโดยการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรในชุมชนต้นแบบมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งกลุ่มอาชีพอยู่ในระดับมากที่สุด มีความต้องการจัดตั้งกลุ่มอาชีพและมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ (POSDCoRB) อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการวิจัยด้านการตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พบว่าผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุด มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการตลาด 4.0 เส้นทางผู้บริโภคอยู่ในระดับมาก ทั้งยังพบว่ารูปแบบของเส้นทางผู้บริโภคเป็น “รูปแบบทรัมเป็ต (Trumpet)” ผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย พบว่า
1. ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้านสถานะภาพและด้านประสบการณ์ทำงาน มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่แตกต่างกันในทุกปัจจัย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
2. ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) (1) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการรับรู้ปัญหา (Aware) (2) ด้านการสร้างสรรค์งาน การสร้างสรรค์ และด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการประเมินทางเลือก (Appeal) (3) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา และ ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการค้นหาข้อมูล (Ask) และ (4) ด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการตัดสินใจซื้อ (Act)
การนำผลจากการศึกษาวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์ในด้านการพัฒนารูปแบบกลุ่มอาชีพและเครือข่ายชุมชนโดยรอบ และเครือข่ายภายนอก ควรการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างปัจจัยอันจะเอื้อและก่อให้เกิดคุณลักษณะของธุรกิจชุมชนที่มีกรอบชัดเจน และมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ซึ่งควรเป็นไปในลักษณะของการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการร่วมกับการจัดการความรู้ในชุมชน (Knowledge Management) ควบคู่ไปกับการจัดให้มีระบบพี่เลี้ยงในระหว่างกระบวนการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องให้แก่ชุมชนด้วยอีกประการCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28046 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607381 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607384 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล / สันติราชย์ เลิศมณี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล Original title : The Development of Holograms as Educational Media for Nursing Students Material Type: printed text Authors: สันติราชย์ เลิศมณี, Author ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 74 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]โฮโลแกรมKeywords: Holograms,
สื่อการสอน,
นักศึกษาพยาบาลAbstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการสอนด้วยการใช้ Holograms มีกระบวนการสร้างดังนี้
1) ผู้วิจัยศึกษาวิธีการฉีดยาจากหนังสือเรียน และศึกษาโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างภาพ Holograms 2) ผู้วิจัยสร้างอุปกรณ์ Holograms จากวัสดุต่าง ๆ และนำมาทดลอง และบันทึกผล 3) ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามใช้เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบความพึงพอใจจากการใช้ Holograms วิธีการฉีดยา โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาพยาบาล 43 คน มาวิเคราะห์ผล
การใช้เครื่องมือทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิทยาชินวัตร โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 27 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 16 คน รวมจำนวน 43 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา
ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อการสอนจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 43 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ ด้านคุณค่า และโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แต่ระดับความพึงพอใจด้านอุปกรณ์ อยู่ในระดับมาก
จากความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาล พบว่า จุดเด่นมีความแปลกใหม่ ทันสมัย และน่าสนใจ การนำเสนอภาพสามารถมองเห็นภาพร่างกายได้ชัดเจนและเรียนรู้วิธีการฉีดยาที่กล้ามเนื้อมีมุมองศาแตกต่างกัน มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเกิดประโยชน์กับการเรียนการสอนสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง และพบว่ามีข้อบกพร่อง ได้แก่ ภาพมีขนาดเล็กและไม่ชัดเจน ประกอบกับเสียงบรรยายไม่ชัดเจนและขาดความนุ่มนวลของเสียง มีรายละเอียดและคำบรรยายในการสอนของเนื้อหาน้อยเกินไป การแสดงเนื้อหามีระยะเวลาสั้น ตลอดจนอุปกรณ์มีขนาดเล็กทำให้ขาดความน่าสนใจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27854 SIU IS-T. การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล = The Development of Holograms as Educational Media for Nursing Students [printed text] / สันติราชย์ เลิศมณี, Author ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 74 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]โฮโลแกรมKeywords: Holograms,
สื่อการสอน,
นักศึกษาพยาบาลAbstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการสอนด้วยการใช้ Holograms มีกระบวนการสร้างดังนี้
1) ผู้วิจัยศึกษาวิธีการฉีดยาจากหนังสือเรียน และศึกษาโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างภาพ Holograms 2) ผู้วิจัยสร้างอุปกรณ์ Holograms จากวัสดุต่าง ๆ และนำมาทดลอง และบันทึกผล 3) ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามใช้เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบความพึงพอใจจากการใช้ Holograms วิธีการฉีดยา โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาพยาบาล 43 คน มาวิเคราะห์ผล
การใช้เครื่องมือทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิทยาชินวัตร โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 27 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 16 คน รวมจำนวน 43 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา
ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อการสอนจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 43 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ ด้านคุณค่า และโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แต่ระดับความพึงพอใจด้านอุปกรณ์ อยู่ในระดับมาก
จากความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาล พบว่า จุดเด่นมีความแปลกใหม่ ทันสมัย และน่าสนใจ การนำเสนอภาพสามารถมองเห็นภาพร่างกายได้ชัดเจนและเรียนรู้วิธีการฉีดยาที่กล้ามเนื้อมีมุมองศาแตกต่างกัน มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเกิดประโยชน์กับการเรียนการสอนสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง และพบว่ามีข้อบกพร่อง ได้แก่ ภาพมีขนาดเล็กและไม่ชัดเจน ประกอบกับเสียงบรรยายไม่ชัดเจนและขาดความนุ่มนวลของเสียง มีรายละเอียดและคำบรรยายในการสอนของเนื้อหาน้อยเกินไป การแสดงเนื้อหามีระยะเวลาสั้น ตลอดจนอุปกรณ์มีขนาดเล็กทำให้ขาดความน่าสนใจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27854 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598316 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598431 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร / อังคณา ผิวละออ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร Original title : A study of the Relationship of Factors Affecting the Administrators’ Leadership of Private Higher Education Institutions in Bangkok Area Material Type: printed text Authors: อังคณา ผิวละออ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: ix, 128 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- กรุงเทพฯKeywords: ภาวะผู้นำ,
องค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำ,
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ซึ่งปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่พัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 270 ตัวอย่าง จากผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 18 สถาบัน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการหาค่า Independent Samples t-test และ One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
1) องค์ประกอบด้านคุณลักษณะในการบริหาร ในด้านบุคลิกภาพ ด้านความรู้ความสามารถและด้านทักษะในการบริหาร มีความสัมพันธ์กันกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
2) องค์ประกอบด้านพฤติกรรมในการบริหารของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในด้านการมีส่วนร่วม ด้านความสำเร็จของงาน ด้านการให้การสนับสนุน และด้านอำนาจบารมี กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
3) องค์ประกอบด้านสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานมีความสัมพันธ์ในด้านวุฒิภาวะและความพร้อม ด้านโครงสร้างงานในมหาวิทยาลัย และด้านการสนับสนุนของผู้บริหาร กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28045 SIU THE-T. การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร = A study of the Relationship of Factors Affecting the Administrators’ Leadership of Private Higher Education Institutions in Bangkok Area [printed text] / อังคณา ผิวละออ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - ix, 128 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- กรุงเทพฯKeywords: ภาวะผู้นำ,
องค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำ,
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ซึ่งปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่พัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 270 ตัวอย่าง จากผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 18 สถาบัน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการหาค่า Independent Samples t-test และ One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
1) องค์ประกอบด้านคุณลักษณะในการบริหาร ในด้านบุคลิกภาพ ด้านความรู้ความสามารถและด้านทักษะในการบริหาร มีความสัมพันธ์กันกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
2) องค์ประกอบด้านพฤติกรรมในการบริหารของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในด้านการมีส่วนร่วม ด้านความสำเร็จของงาน ด้านการให้การสนับสนุน และด้านอำนาจบารมี กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
3) องค์ประกอบด้านสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานมีความสัมพันธ์ในด้านวุฒิภาวะและความพร้อม ด้านโครงสร้างงานในมหาวิทยาลัย และด้านการสนับสนุนของผู้บริหาร กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28045 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607383 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607385 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย / พัชรพงษ์ แพงไพรี / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย Original title : Competitive Competency for Sustainable Organization of Automotive Services Entrepreneurs in Thailand Material Type: printed text Authors: พัชรพงษ์ แพงไพรี, Author ; นริศ เพ็ญโภไคย, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 229 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-12
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสามารถในการแข่งขัน
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]ศูนย์บริการรถยนต์ -- ไทยKeywords: ความสามารถในการแข่งขัน, องค์กรแห่งความยั่งยืน, ผู้ประกอบการ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ทักษะผู้ประกอบการ ประสิทธิภาพการทำงาน นวัตกรรมการบริการ ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างกัน ของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ทักษะผู้ประกอบการ ประสิทธิภาพการทำงาน นวัตกรรมการบริการ ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน.3) เพื่อศึกษารูปแบบโมเดลของปัจจัยความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน โดยมีการดำเนินวิจัยทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ซึ่งเชิงปริมาณเป็นการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ปฏิบัติงานระดับหัวหน้างานของศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย จำนวน 480 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ประกอบด้วย คำถามทั่วไป และคำถามที่เกี่ยวกับตัวแปรต้น โดยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความเชื่อมั่น แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ สำหรับเชิงคุณภาพ ใช้การสำรวจเชิงลึก เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ จำนวน 9 ท่าน เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย
ผลการวิจัยพบว่า โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยสาเหตุที่ส่งอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย มีค่าดัชนีความสอดคล้องของโมเดลที่กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยสามารถพิจารณาได้ค่า 2= 247.36, df = 215, 2/df = 1.151, P-value = 0.064, RMSEA = 0.018, GFI = 0.962, AGFI = 0.938 และ ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้านอิทธิพลเส้นทางที่ส่งผลต่ออิทธิพลทางตรง ประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ และทักษะผู้ประกอบ และ สามารถส่งอิทธิพลทางตรงต่อนวัตกรรมการบริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.581** 0.186** และ 0.184** ตามลำดับ และประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ ทักษะผู้ประกอบ สามารถส่งอิทธิพลทางอ้อมผ่านนวัตกรรมการบริการไปยัง ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางอ้อม เท่ากับ 0.158** 0.051* และ 0.050* ตามลำดับ และประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ นวัตกรรมการบริการ และทักษะผู้ประกอบการ สามารถส่งอิทธิพลทางตรงต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.357** 0.285** 0.271** และ 0.093* ตามลำดับ สำหรับแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน ผู้ประกอบให้แนวทางการพัฒนาว่า จะต้องมีการให้ความสำคัญในเรื่อง คุณภาพการบริการ ความกระตือรือร้นของพน การมีทักษะด้านการวางแผน และการกำหนดเป้าหมาย การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ความสามารถทางด้านการตลาด ผู้ประกอบการจะต้องมีความอดทน พยายาม มุ่งมั่น ให้องค์กรประสบผลสำเร็จ และให้ความสำคัญในเรื่องการประเมินผลงานของพนักงานที่มีต่อการปรับเปลี่ยนตำแหน่งงานในตำแหน่งที่สูงขึ้น การสร้างแรงจูงใจในการทำงานเพื่อให้พนักงานมีความเต็มใจในการให้บริการกับลูกค้า มีการฝึกอบรมทักษะให้พนักงานอย่างต่อเนื่องในเรื่องการใช้เทคโนโลยี และการนำเทคโนโลยีมาใช้กับวิธีการบริการที่มีอยู่เดิมให้สะดวก และเหมาะสมมากขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการให้บริการ โดยสรุป ผู้ประกอบการเห็นว่าทุกตัวแปรมีความสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทยCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28567 SIU THE-T. ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย = Competitive Competency for Sustainable Organization of Automotive Services Entrepreneurs in Thailand [printed text] / พัชรพงษ์ แพงไพรี, Author ; นริศ เพ็ญโภไคย, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 229 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-12
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสามารถในการแข่งขัน
[LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]ศูนย์บริการรถยนต์ -- ไทยKeywords: ความสามารถในการแข่งขัน, องค์กรแห่งความยั่งยืน, ผู้ประกอบการ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ทักษะผู้ประกอบการ ประสิทธิภาพการทำงาน นวัตกรรมการบริการ ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลระหว่างกัน ของปัจจัยคุณภาพการให้บริการ ทักษะผู้ประกอบการ ประสิทธิภาพการทำงาน นวัตกรรมการบริการ ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน.3) เพื่อศึกษารูปแบบโมเดลของปัจจัยความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน โดยมีการดำเนินวิจัยทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ซึ่งเชิงปริมาณเป็นการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ปฏิบัติงานระดับหัวหน้างานของศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย จำนวน 480 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ประกอบด้วย คำถามทั่วไป และคำถามที่เกี่ยวกับตัวแปรต้น โดยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความเชื่อมั่น แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ สำหรับเชิงคุณภาพ ใช้การสำรวจเชิงลึก เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ จำนวน 9 ท่าน เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย
ผลการวิจัยพบว่า โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยสาเหตุที่ส่งอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทย มีค่าดัชนีความสอดคล้องของโมเดลที่กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยสามารถพิจารณาได้ค่า 2= 247.36, df = 215, 2/df = 1.151, P-value = 0.064, RMSEA = 0.018, GFI = 0.962, AGFI = 0.938 และ ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้านอิทธิพลเส้นทางที่ส่งผลต่ออิทธิพลทางตรง ประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ และทักษะผู้ประกอบ และ สามารถส่งอิทธิพลทางตรงต่อนวัตกรรมการบริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.581** 0.186** และ 0.184** ตามลำดับ และประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ ทักษะผู้ประกอบ สามารถส่งอิทธิพลทางอ้อมผ่านนวัตกรรมการบริการไปยัง ความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางอ้อม เท่ากับ 0.158** 0.051* และ 0.050* ตามลำดับ และประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพการบริการ นวัตกรรมการบริการ และทักษะผู้ประกอบการ สามารถส่งอิทธิพลทางตรงต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทางของอิทธิพลทางตรง เท่ากับ 0.357** 0.285** 0.271** และ 0.093* ตามลำดับ สำหรับแนวทางการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน ผู้ประกอบให้แนวทางการพัฒนาว่า จะต้องมีการให้ความสำคัญในเรื่อง คุณภาพการบริการ ความกระตือรือร้นของพน การมีทักษะด้านการวางแผน และการกำหนดเป้าหมาย การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ความสามารถทางด้านการตลาด ผู้ประกอบการจะต้องมีความอดทน พยายาม มุ่งมั่น ให้องค์กรประสบผลสำเร็จ และให้ความสำคัญในเรื่องการประเมินผลงานของพนักงานที่มีต่อการปรับเปลี่ยนตำแหน่งงานในตำแหน่งที่สูงขึ้น การสร้างแรงจูงใจในการทำงานเพื่อให้พนักงานมีความเต็มใจในการให้บริการกับลูกค้า มีการฝึกอบรมทักษะให้พนักงานอย่างต่อเนื่องในเรื่องการใช้เทคโนโลยี และการนำเทคโนโลยีมาใช้กับวิธีการบริการที่มีอยู่เดิมให้สะดวก และเหมาะสมมากขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการให้บริการ โดยสรุป ผู้ประกอบการเห็นว่าทุกตัวแปรมีความสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขันสู่องค์กรแห่งความยั่งยืนของผู้ประกอบการศูนย์บริการรถยนต์ในประเทศไทยCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28567 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607606 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-12 c.2 Book Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607618 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-12 c.1 Book Main Library General Shelf Available SIU THE-T. มโนทัศน์การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ สนามบินภาครัฐ: ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ / ณัฐพัชร์ เรืองมณีญาต์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : มโนทัศน์การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ สนามบินภาครัฐ: ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ Original title : The Concept Formation of Increased Utilization of Government Airports Design Toward on Phetchabun Airport Material Type: printed text Authors: ณัฐพัชร์ เรืองมณีญาต์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xv, 321 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2019-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สนามบิน -- ไทย -- เพชรบูรณ์
[LCSH]อุตสาหกรรมการบินKeywords: การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ, ความพร้อมรองรับอุตสาหกรรมการบิน, กิจการการบินทั่วไป, สนามบินเพชรบูรณ์ Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบและศึกษามโนทัศน์ของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ : ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์และนำผลการศึกษาที่ได้มานำเสนอมโนทัศน์ของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ ฯ โดยใช้การศึกษาด้วยวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ในระยะแรกของการศึกษาจะใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อให้ได้ผลไปกำหนดเป็นปัญหาและสมมุติฐานการวิจัย ในการทดสอบหาคำตอบด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) จากนั้นจึงนำคำตอบที่ได้ไปสรุปตีความเพื่อเสริมผลการวิจัยเชิงคุณภาพข้างต้น โดยสอบถามความเห็นกับกลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติงานหรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับสนามบินเพชรบูรณ์ ได้แก่ กลุ่มผู้กำหนดนโยบาย (Policy Maker), กลุ่มผู้กำกับดูแล (Regulator), กลุ่มผู้ประกอบการ (Operator) และกลุ่มภาคประชาชนในจังหวัดเพชรบูรณ์ที่อาศัยรอบสนามบินเพชรบูรณ์
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์สนามบินภาครัฐ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยความพร้อมรองรับอุตสาหกรรมการบิน 2) ปัจจัยการตลาดและบริการด้านบุคคล 3) ปัจจัยการบริหารจัดการสนามบินภูมิภาคจากส่วนกลางของหน่วยงานภาครัฐทั้งระบบ 4) ปัจจัยการบริหารจัดการสนามบินภูมิภาคจากการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน 5) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกด้านการเมือง และ 6) ปัจจัยการตลาดและบริการด้านลักษณะทางกายภาพ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐโดยเฉพาะกรมท่าอากาศยาน สามารถนําข้อค้นพบที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐอื่นๆ ในการกำกับดูแลให้มีความคุ้มค่าในการใช้งานเพิ่มมากขึ้นภายใต้มาตรฐานความปลอดภัยระดับสากลตามความเหมาะสม ซึ่งจะเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้กิจการด้านการบินของประเทศมีความเจริญก้าวหน้าได้ต่อไปCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27937 SIU THE-T. มโนทัศน์การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ สนามบินภาครัฐ: ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ = The Concept Formation of Increased Utilization of Government Airports Design Toward on Phetchabun Airport [printed text] / ณัฐพัชร์ เรืองมณีญาต์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xv, 321 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2019-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สนามบิน -- ไทย -- เพชรบูรณ์
[LCSH]อุตสาหกรรมการบินKeywords: การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ, ความพร้อมรองรับอุตสาหกรรมการบิน, กิจการการบินทั่วไป, สนามบินเพชรบูรณ์ Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบและศึกษามโนทัศน์ของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ : ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์และนำผลการศึกษาที่ได้มานำเสนอมโนทัศน์ของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ ฯ โดยใช้การศึกษาด้วยวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ในระยะแรกของการศึกษาจะใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อให้ได้ผลไปกำหนดเป็นปัญหาและสมมุติฐานการวิจัย ในการทดสอบหาคำตอบด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) จากนั้นจึงนำคำตอบที่ได้ไปสรุปตีความเพื่อเสริมผลการวิจัยเชิงคุณภาพข้างต้น โดยสอบถามความเห็นกับกลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติงานหรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับสนามบินเพชรบูรณ์ ได้แก่ กลุ่มผู้กำหนดนโยบาย (Policy Maker), กลุ่มผู้กำกับดูแล (Regulator), กลุ่มผู้ประกอบการ (Operator) และกลุ่มภาคประชาชนในจังหวัดเพชรบูรณ์ที่อาศัยรอบสนามบินเพชรบูรณ์
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์สนามบินภาครัฐ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยความพร้อมรองรับอุตสาหกรรมการบิน 2) ปัจจัยการตลาดและบริการด้านบุคคล 3) ปัจจัยการบริหารจัดการสนามบินภูมิภาคจากส่วนกลางของหน่วยงานภาครัฐทั้งระบบ 4) ปัจจัยการบริหารจัดการสนามบินภูมิภาคจากการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน 5) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกด้านการเมือง และ 6) ปัจจัยการตลาดและบริการด้านลักษณะทางกายภาพ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐโดยเฉพาะกรมท่าอากาศยาน สามารถนําข้อค้นพบที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐอื่นๆ ในการกำกับดูแลให้มีความคุ้มค่าในการใช้งานเพิ่มมากขึ้นภายใต้มาตรฐานความปลอดภัยระดับสากลตามความเหมาะสม ซึ่งจะเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้กิจการด้านการบินของประเทศมีความเจริญก้าวหน้าได้ต่อไปCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27937 SIU THE-T. รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย / เอกพงษ์ หริ่มเจริญ / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย Original title : Entrepreneurial Competency Development of Agribusiness Processing Business Industrial Entrepreneurs in Thailand Material Type: printed text Authors: เอกพงษ์ หริ่มเจริญ, Author ; สรณ โภชนจันทร์, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 149 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[LCSH]อุตสาหกรรมการผลิต
[LCSH]อุตสาหกรรมการเกษตร -- ไทยKeywords: สมรรถนะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, อุตสาหกรรมการผลิต, ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน และกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะอื่นๆ (Attitude) Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28564 SIU THE-T. รูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย = Entrepreneurial Competency Development of Agribusiness Processing Business Industrial Entrepreneurs in Thailand [printed text] / เอกพงษ์ หริ่มเจริญ, Author ; สรณ โภชนจันทร์, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 149 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
[LCSH]อุตสาหกรรมการผลิต
[LCSH]อุตสาหกรรมการเกษตร -- ไทยKeywords: สมรรถนะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, อุตสาหกรรมการผลิต, ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทยในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มผู้เชี่ยวชาญในการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน และกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการพัฒนารูปแบบสมรรถนะของผู้ประกอบการภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรของไทย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะอื่นๆ (Attitude) Curricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28564 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607639 SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01 c.2 Book Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607674 SIU THE-T: SOM-DBA-2021-01 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU Thesis. ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า: กรณีศึกษา บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) / อัจฉรา ฉัตรเฉลิมพล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU Thesis Title : ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า: กรณีศึกษา บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) Original title : The Impact of Social Media on Customers’ Perception: A Case Study of PTT Public Company Limited Material Type: printed text Authors: อัจฉรา ฉัตรเฉลิมพล, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xiv, 275 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2018-01
Thesis. [PhD.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)
[LCSH]สื่อสังคมออนไลน์
[LCSH]เครือข่ายสังคมแบบออนไลน์Keywords: บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หรือ “ปตท.”,
ผลกระทบ,
การรับรู้,
สื่อสังคมออนไลน์Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้า ของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (ปตท.) โดยในด้านภาพลักษณ์องค์กร ศึกษาจากความสัมพันธ์ของการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านการบริหาร และด้านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นนามธรรม ส่วนในด้านธุรกิจการค้า ศึกษาจากความสัมพันธ์ของการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ซึ่งเป็นรูปธรรม จำแนกหัวข้อได้ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ด้านบริหารและด้านกิจกรรมต่างๆ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. 2. เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ต่อการรับรู้ในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. 3. เพื่อศึกษาผลกระทบด้านลักษณะประชากรศาสตร์ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. 4. เพื่อศึกษาผลกระทบด้านเครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. และ 5. เพื่อค้นหาแบบจำลอง (Model) ในการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. และผลกระทบจากภายนอก ปตท. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ลูกค้า ปตท. ที่มีอายุ 18 ขึ้นไป และมีบัญชีผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 400 คน เพื่อตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) และลูกค้าอีกจำนวน 12 คน ที่รู้จักและมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์มากกว่า 7 ชนิด อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอเป็นระยะเวลามากกว่า 5 ปี เพื่อตอบคำถามสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) วิธีการสุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) และการสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ 1. แบบสอบถาม (Questionnaire) และ 2. การวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงปริมาณ ส่วนเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ 1. การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และ 2. การวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) ค่าสถิติอนุมาน (Inferential Statistic) ค่าสถิติ Pearson’s Correlation ค่า t-test ค่า One-way ANOVA (f-test) เทคนิคการสะสมสรุป (Cumulative Summarization Technique) การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการวิเคราะห์ตัวแปรเพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 9-30 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้เฉลี่ยน้อยกว่า 20,000 บาท/เดือน ใช้สินค้าน้ำมันมากที่สุด ใช้สื่อทั่วไป คือ โทรทัศน์มากที่สุด ใช้สื่อสังคมออนไลน์ทั่วไป ประเภท LINE มากที่สุด และใช้สื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. ประเภท LINE “PTT Group” มากที่สุด ผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือมากที่สุด ที่ความถี่ 2-3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ค่าใช้จ่าย 301-500 บาท/เดือน โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. เพื่อรับข้อมูลข่าวสาร และมีความเชื่อถือในระดับมาก เคยได้รับข้อมูลข่าวสารของ ปตท. จากช่องทางอื่น แต่มีความเชื่อถือในระดับปานกลาง มีความเชื่อถือในภาพลักษณ์องค์กรที่ดีของ ปตท. ในระดับมาก มีการรับรู้ด้านบริหารของ ปตท. ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์และบริการในระดับมาก และด้านกิจกรรมต่างๆ ในระดับปานกลาง มีการรับรู้ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการสื่อสารของ ปตท. ด้านบวกและด้านลบในระดับปานกลาง
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1. การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านบริหารและด้านกิจกรรมต่างๆ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. ในระดับสูง (r = .702) และ (r = .611) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (เป็นไปตามสมมติฐาน) 2. การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการรับรู้ในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ในระดับสูง (r = .681) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (เป็นไปตามสมมติฐาน) 3. ลักษณะประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรและในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ที่แตกต่างกัน (ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน) ยกเว้น “ด้านอาชีพ” ที่เป็นไปตามสมมติฐาน เฉพาะด้านภาพลักษณ์องค์กร 4. เครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ที่แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรและในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ที่แตกต่างกัน (ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน)
ผลการวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงปริมาณ พบว่า ในระยะเวลา 6 เดือน มีประเด็นข่าวจำนวน 5,968 ประเด็น เป็นประเด็นทั่วไป ประเด็นบวก และ ประเด็นลบ ในสัดส่วน 26.44% : 59.22% : 14.34% ตามลำดับ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพทั้งจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และจากการวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. พบว่า ส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อ ปตท. ในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ
สรุป จากผลการวิจัยโดยรวมของเครื่องมือทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ (1) ผลการวิจัยเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม (2) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และ (3) ผลการวิเคราะห์ข่าวจากสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ทั้งแบบเชิงปริมาณและแบบเชิงคุณภาพ พบว่า ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน์ ปตท. มีความสัมพันธ์และมีผลกระทบต่อการรับรู้ของลูกค้า ปตท. ในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ ส่วนผลการค้นหาแบบจำลอง (Model) ได้แก่ “3 F and 4 Steps Circle” หรือ กลยุทธ์ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ และกระบวนการเพิ่มข่าวบวกและลดข่าวลบ ถือเป็นการค้นพบทางวิชาการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ (Body of Knowledge) ซึ่งสามารถนำไปใช้กับองค์กรอื่นได้Curricular : BALA/GE/MTEIL/PhDT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27843 SIU Thesis. ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า: กรณีศึกษา บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) = The Impact of Social Media on Customers’ Perception: A Case Study of PTT Public Company Limited [printed text] / อัจฉรา ฉัตรเฉลิมพล, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xiv, 275 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2018-01
Thesis. [PhD.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)
[LCSH]สื่อสังคมออนไลน์
[LCSH]เครือข่ายสังคมแบบออนไลน์Keywords: บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หรือ “ปตท.”,
ผลกระทบ,
การรับรู้,
สื่อสังคมออนไลน์Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการรับรู้ของลูกค้า ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้า ของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (ปตท.) โดยในด้านภาพลักษณ์องค์กร ศึกษาจากความสัมพันธ์ของการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านการบริหาร และด้านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นนามธรรม ส่วนในด้านธุรกิจการค้า ศึกษาจากความสัมพันธ์ของการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ซึ่งเป็นรูปธรรม จำแนกหัวข้อได้ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ด้านบริหารและด้านกิจกรรมต่างๆ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. 2. เพื่อศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ต่อการรับรู้ในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. 3. เพื่อศึกษาผลกระทบด้านลักษณะประชากรศาสตร์ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. 4. เพื่อศึกษาผลกระทบด้านเครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ ต่อการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กร และในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. และ 5. เพื่อค้นหาแบบจำลอง (Model) ในการบริหารจัดการสื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. และผลกระทบจากภายนอก ปตท. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ลูกค้า ปตท. ที่มีอายุ 18 ขึ้นไป และมีบัญชีผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 400 คน เพื่อตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) และลูกค้าอีกจำนวน 12 คน ที่รู้จักและมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์มากกว่า 7 ชนิด อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอเป็นระยะเวลามากกว่า 5 ปี เพื่อตอบคำถามสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) วิธีการสุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) และการสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ 1. แบบสอบถาม (Questionnaire) และ 2. การวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงปริมาณ ส่วนเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ 1. การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และ 2. การวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) ค่าสถิติอนุมาน (Inferential Statistic) ค่าสถิติ Pearson’s Correlation ค่า t-test ค่า One-way ANOVA (f-test) เทคนิคการสะสมสรุป (Cumulative Summarization Technique) การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการวิเคราะห์ตัวแปรเพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 9-30 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้เฉลี่ยน้อยกว่า 20,000 บาท/เดือน ใช้สินค้าน้ำมันมากที่สุด ใช้สื่อทั่วไป คือ โทรทัศน์มากที่สุด ใช้สื่อสังคมออนไลน์ทั่วไป ประเภท LINE มากที่สุด และใช้สื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. ประเภท LINE “PTT Group” มากที่สุด ผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือมากที่สุด ที่ความถี่ 2-3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ค่าใช้จ่าย 301-500 บาท/เดือน โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ของ ปตท. เพื่อรับข้อมูลข่าวสาร และมีความเชื่อถือในระดับมาก เคยได้รับข้อมูลข่าวสารของ ปตท. จากช่องทางอื่น แต่มีความเชื่อถือในระดับปานกลาง มีความเชื่อถือในภาพลักษณ์องค์กรที่ดีของ ปตท. ในระดับมาก มีการรับรู้ด้านบริหารของ ปตท. ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์และบริการในระดับมาก และด้านกิจกรรมต่างๆ ในระดับปานกลาง มีการรับรู้ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ต่อการสื่อสารของ ปตท. ด้านบวกและด้านลบในระดับปานกลาง
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1. การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านบริหารและด้านกิจกรรมต่างๆ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. ในระดับสูง (r = .702) และ (r = .611) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (เป็นไปตามสมมติฐาน) 2. การเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการรับรู้ในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ในระดับสูง (r = .681) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (เป็นไปตามสมมติฐาน) 3. ลักษณะประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรและในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ที่แตกต่างกัน (ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน) ยกเว้น “ด้านอาชีพ” ที่เป็นไปตามสมมติฐาน เฉพาะด้านภาพลักษณ์องค์กร 4. เครื่องมือสื่อสังคมออนไลน์ที่แตกต่างกัน ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ในด้านภาพลักษณ์องค์กรและในด้านธุรกิจการค้าของ ปตท. ที่แตกต่างกัน (ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน)
ผลการวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ในเชิงปริมาณ พบว่า ในระยะเวลา 6 เดือน มีประเด็นข่าวจำนวน 5,968 ประเด็น เป็นประเด็นทั่วไป ประเด็นบวก และ ประเด็นลบ ในสัดส่วน 26.44% : 59.22% : 14.34% ตามลำดับ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพทั้งจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และจากการวิเคราะห์ข่าวในสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. พบว่า ส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อ ปตท. ในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ
สรุป จากผลการวิจัยโดยรวมของเครื่องมือทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ (1) ผลการวิจัยเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม (2) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และ (3) ผลการวิเคราะห์ข่าวจากสื่อสังคมออนไลน์ทั่วไปที่เกี่ยวกับ ปตท. ทั้งแบบเชิงปริมาณและแบบเชิงคุณภาพ พบว่า ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน์ ปตท. มีความสัมพันธ์และมีผลกระทบต่อการรับรู้ของลูกค้า ปตท. ในเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ ส่วนผลการค้นหาแบบจำลอง (Model) ได้แก่ “3 F and 4 Steps Circle” หรือ กลยุทธ์ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ และกระบวนการเพิ่มข่าวบวกและลดข่าวลบ ถือเป็นการค้นพบทางวิชาการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ (Body of Knowledge) ซึ่งสามารถนำไปใช้กับองค์กรอื่นได้Curricular : BALA/GE/MTEIL/PhDT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27843 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598282 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2018-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598258 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2018-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available