From this page you can:
Home |
Author details
Author สร้อยประเสริฐ อรพรรณ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น / อรพรรณ สร้อยประเสริฐ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น : กรณีศึกษา นักเรียนอาชีวศึกษาหญิง จังหวัดสมุทรปราการ Original title : The Effect of Life Skills Program to Prevent Teenage Pregnancy: A Case Study of Female Vocational School Students in Samutprakran Province Material Type: printed text Authors: อรพรรณ สร้อยประเสริฐ, Author ; กุลวดี โรจน์ไพศาลกิจ, Author ; วรากร เกรียงไกรศักดา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.118-129 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.118-129Keywords: ทักษะชีวิต. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น. นักเรัียนอาชีวศึกษาหญิง. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้าง
ทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยเปรียบเทียบคะแนนทักษะชีวิตทั้ง 3 ด้าน คือ
พุทธพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนอาชีวศึกษาหญิงที่มีอายุ ระหว่าง 16-18 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 42 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 42 คน โดยกลุ่มทดลองได้เข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ เป็นระยะเวลา 7 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบวัดทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ 1) แบบวัดคะแนนพุทธพิสัย ด้านความคิดวิเคราะห์ กับความคิดสร้างสรรค์2) แบบวัดคะแนนจิตพิสัย ในด้านความตระหนักรู้ในตนเองกับความเห็นใจผู้อื่น 3) แบบวัดคะแนน
ทักษะพิสัย ด้านการตัดสินใจกับการแก้ปัญหา 4) แบบวัดคะแนนทักษะพิสัย ด้านการสร้างสัมพันธ์ภาพกับการสื่อสาร 5) แบบวัดคะแนนทักษะพิสัยในด้านการจัดการกับอารมณ์ กับความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติการทดสอบค่าที่เป็นแบบไม่เป็นอิสระต่อกันแบบเป็นอิสระต่อกัน
ผลการศึกษา พบว่า 1) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิต
ด้านพุทธพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย สูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05 2) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิต ด้านพุทธพิสัย
จิตพิสัย และทักษะพิสัย สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27062 [article] ผลของโปรแกรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น = The Effect of Life Skills Program to Prevent Teenage Pregnancy: A Case Study of Female Vocational School Students in Samutprakran Province : กรณีศึกษา นักเรียนอาชีวศึกษาหญิง จังหวัดสมุทรปราการ [printed text] / อรพรรณ สร้อยประเสริฐ, Author ; กุลวดี โรจน์ไพศาลกิจ, Author ; วรากร เกรียงไกรศักดา, Author . - 2017 . - p.118-129.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.118-129Keywords: ทักษะชีวิต. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น. นักเรัียนอาชีวศึกษาหญิง. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้าง
ทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยเปรียบเทียบคะแนนทักษะชีวิตทั้ง 3 ด้าน คือ
พุทธพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนอาชีวศึกษาหญิงที่มีอายุ ระหว่าง 16-18 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 42 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 42 คน โดยกลุ่มทดลองได้เข้าร่วมโปรแกรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ เป็นระยะเวลา 7 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบวัดทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ 1) แบบวัดคะแนนพุทธพิสัย ด้านความคิดวิเคราะห์ กับความคิดสร้างสรรค์2) แบบวัดคะแนนจิตพิสัย ในด้านความตระหนักรู้ในตนเองกับความเห็นใจผู้อื่น 3) แบบวัดคะแนน
ทักษะพิสัย ด้านการตัดสินใจกับการแก้ปัญหา 4) แบบวัดคะแนนทักษะพิสัย ด้านการสร้างสัมพันธ์ภาพกับการสื่อสาร 5) แบบวัดคะแนนทักษะพิสัยในด้านการจัดการกับอารมณ์ กับความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติการทดสอบค่าที่เป็นแบบไม่เป็นอิสระต่อกันแบบเป็นอิสระต่อกัน
ผลการศึกษา พบว่า 1) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิต
ด้านพุทธพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย สูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05 2) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะชีวิต ด้านพุทธพิสัย
จิตพิสัย และทักษะพิสัย สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27062