From this page you can:
Home |
Author details
Author อัญชนา สุขอนนท์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภขนาการเกิน ในเขตเทศบาลเมือลพบุรี จังหวัดลพบุรี / อัญชนา สุขอนนท์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภขนาการเกิน ในเขตเทศบาลเมือลพบุรี จังหวัดลพบุรี Original title : The effects of perceived self-efficacy promoting program on weight control behviors among overweight children in municipality meaung Lopburi, Lopburi province Material Type: printed text Authors: อัญชนา สุขอนนท์, Author ; สมสมัย รัตนกรีฑากุล, Author ; นิสากร กรุงไกรเพชร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.26-40 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.26-40Keywords: โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง.พฤติกรรมการควบคมน้ำหนัก.นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน. Abstract: การวิจัยกุึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงมากกว่า 2 เท่า ของความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (>+2 SD) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างง่าย จำนวน 50 คน เป็นกลุ่มทดลอง 25 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประกอบด้วย กิจกรรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการเคลื่อนไหวร่างกาย บันทึกพฤติกรรมลงในคู่มือการปฏิบัติเพื่อการควบคุมน้ำหนัก ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับความรู้ในการปฏิบัติตนตามปกติ เก็บรวบรวบข้อมูลโดยผู้วิจัย ด้วยแบบสอบถามพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก และชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบคาที
ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยผลต่างคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย และน้ำหนักตัวมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value=0.001 และ 0.003 ตามลำดับ ผลการศึกษาสนับสนุนผลของการประยุกต์ทฤษฎีการรับรูู้ความสามารถของตนเองต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักส่งผลให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการเกิน มีน้ำหนักลดลงได้ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและบุคลากรสาธารณสุข สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับพฤติกรรมเพื่อการควบคุมน้ำหนักในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในโรงเรียนอื่น ๆ และในชุมชนได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26521 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภขนาการเกิน ในเขตเทศบาลเมือลพบุรี จังหวัดลพบุรี = The effects of perceived self-efficacy promoting program on weight control behviors among overweight children in municipality meaung Lopburi, Lopburi province [printed text] / อัญชนา สุขอนนท์, Author ; สมสมัย รัตนกรีฑากุล, Author ; นิสากร กรุงไกรเพชร, Author . - 2017 . - p.26-40.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.26-40Keywords: โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง.พฤติกรรมการควบคมน้ำหนัก.นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน. Abstract: การวิจัยกุึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงมากกว่า 2 เท่า ของความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (>+2 SD) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างง่าย จำนวน 50 คน เป็นกลุ่มทดลอง 25 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประกอบด้วย กิจกรรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการเคลื่อนไหวร่างกาย บันทึกพฤติกรรมลงในคู่มือการปฏิบัติเพื่อการควบคุมน้ำหนัก ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับความรู้ในการปฏิบัติตนตามปกติ เก็บรวบรวบข้อมูลโดยผู้วิจัย ด้วยแบบสอบถามพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก และชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบคาที
ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยผลต่างคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย และน้ำหนักตัวมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value=0.001 และ 0.003 ตามลำดับ ผลการศึกษาสนับสนุนผลของการประยุกต์ทฤษฎีการรับรูู้ความสามารถของตนเองต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักส่งผลให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการเกิน มีน้ำหนักลดลงได้ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและบุคลากรสาธารณสุข สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับพฤติกรรมเพื่อการควบคุมน้ำหนักในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในโรงเรียนอื่น ๆ และในชุมชนได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26521