From this page you can:
Home |
Author details
Author โภคะสุวรรณ ชัญญา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU RS-T. การทดสอบวงจรเพียโซอิเล็กทริก / รัชชานนท์ อรรถศิริปัญญา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การทดสอบวงจรเพียโซอิเล็กทริก Original title : The Test of Piezoelectric Circuits Operation Material Type: printed text Authors: รัชชานนท์ อรรถศิริปัญญา, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 25 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]เพียโซอิเล็กทริก Keywords: ทฤษฎีเพียโซอิเล็กทริกโดยตรง,
ทฤษฎีเพียโซอิเล็กทริกโดยทางอ้อม,
พลังงานจากแรงสั่นสะเทือนAbstract: เนื่องจากในปัจจุบัน ประชากรโลกมีจำนวนมากขึ้นทุกวัน มนุษย์มีการใช้พลังงานทั้ง ไฟฟ้า น้ำมัน ก๊าซ และอื่น ๆ กันเป็นจำนวนมากอยู่ทุกวัน พลังงานเหล่านี้มีการเผาไหม้และทำให้เกิดมลพิษ อีกทั้ง มนุษย์ยังจะมีจำนวนเพิ่ม ซึ่งการที่มนุษย์เพิ่มจำนวนขึ้น การใช้พลังงานก็จะต้องเพิ่มขึ้น ตามหลักการโดยทั่วไป จนกระทั่งนักวิทยาศาตร์ได้มีการคาดคะเนถึงวันที่พลังงานข้างต้นเหล่านั้นจะหมดลง เป็นสาเหตุที่ทำให้มนุษย์มีการตื่นตัวในเรื่องการหาพลังงานทดแทนต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พื้นโลก และพลังงานจากแรงสั่นสะเทือนหรือทฤษฎีเพียโซ
อิเล็กทริก ซึ่งนับว่าพลังงานเหล่านี้เป็นพลังสะอาดที่ช่วยให้โลกปลอดมลภาวะได้เป็นอย่างดี ในทฤษฎีของเพียโซอิเล็กทริกจะมีทั้งทางตรงและทางอ้อม ในงานวิจัยครั้งนี้จะหยิบเอาหลักการเพียโซอิเล็กทริกทางตรงมาศึกษาเพื่อแปลงพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยการที่มนุษย์เราขยับเขยื้อ ร่างกายจะสามารถสร้างพลังงานไฟฟ้าได้จริง ในการศึกษาครั้งนี้ผมจะหาข้อมูลวัสดุเพียโซอิเล็กทริกเพื่อหาวัสดุที่สร้างกระแสไฟฟ้าได้ดีที่สุด เพื่อที่วันข้างหน้าจะได้เอาไปประยุกต์กับสินค้าของผู้ประกอบการไทยCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27180 SIU RS-T. การทดสอบวงจรเพียโซอิเล็กทริก = The Test of Piezoelectric Circuits Operation [printed text] / รัชชานนท์ อรรถศิริปัญญา, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 25 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]เพียโซอิเล็กทริก Keywords: ทฤษฎีเพียโซอิเล็กทริกโดยตรง,
ทฤษฎีเพียโซอิเล็กทริกโดยทางอ้อม,
พลังงานจากแรงสั่นสะเทือนAbstract: เนื่องจากในปัจจุบัน ประชากรโลกมีจำนวนมากขึ้นทุกวัน มนุษย์มีการใช้พลังงานทั้ง ไฟฟ้า น้ำมัน ก๊าซ และอื่น ๆ กันเป็นจำนวนมากอยู่ทุกวัน พลังงานเหล่านี้มีการเผาไหม้และทำให้เกิดมลพิษ อีกทั้ง มนุษย์ยังจะมีจำนวนเพิ่ม ซึ่งการที่มนุษย์เพิ่มจำนวนขึ้น การใช้พลังงานก็จะต้องเพิ่มขึ้น ตามหลักการโดยทั่วไป จนกระทั่งนักวิทยาศาตร์ได้มีการคาดคะเนถึงวันที่พลังงานข้างต้นเหล่านั้นจะหมดลง เป็นสาเหตุที่ทำให้มนุษย์มีการตื่นตัวในเรื่องการหาพลังงานทดแทนต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พื้นโลก และพลังงานจากแรงสั่นสะเทือนหรือทฤษฎีเพียโซ
อิเล็กทริก ซึ่งนับว่าพลังงานเหล่านี้เป็นพลังสะอาดที่ช่วยให้โลกปลอดมลภาวะได้เป็นอย่างดี ในทฤษฎีของเพียโซอิเล็กทริกจะมีทั้งทางตรงและทางอ้อม ในงานวิจัยครั้งนี้จะหยิบเอาหลักการเพียโซอิเล็กทริกทางตรงมาศึกษาเพื่อแปลงพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยการที่มนุษย์เราขยับเขยื้อ ร่างกายจะสามารถสร้างพลังงานไฟฟ้าได้จริง ในการศึกษาครั้งนี้ผมจะหาข้อมูลวัสดุเพียโซอิเล็กทริกเพื่อหาวัสดุที่สร้างกระแสไฟฟ้าได้ดีที่สุด เพื่อที่วันข้างหน้าจะได้เอาไปประยุกต์กับสินค้าของผู้ประกอบการไทยCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27180 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594703 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-04 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594711 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-04 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การทดสอบแบบไม่ทำลายด้วยรังสีแกมม่า / เติมชัย พรดุษฎีกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การทดสอบแบบไม่ทำลายด้วยรังสีแกมม่า Original title : Nondestructive Testing by Gamma Ray Material Type: printed text Authors: เติมชัย พรดุษฎีกุล, Author ; วุฑฒิ พันธุมนาวิน, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 46 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]รังสี -- การสำรวจ
[LCSH]รังสีแกรมมา -- การทดสอบKeywords: การทดสอบแบบไม่ทำลาย (Non Destructive Testing)
รังสีแกมม่า (Gamma rays)
รังสีเอ๊กซ์ (X rays)
เทคนิคการทดสอบแบบผนังชั้นเดียว (Single wall technics)
เทคนิคการทดสอบแบบผนังสองชั้น (Double wall technics)Abstract: การทดสอบแบบไม่ทำลายเป็นเทคโนโลยีที่มีการใช้แพร่หลายมานานแล้ว ตั้งแต่คริสตศักราช 1800 โดยเทคนิคเทอร์โมกราฟฟี และมีการพัฒนาขึ้นมาโดยลำดับตามความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เพิ่มมากขึ้น จนถึงเทคโนโลยีใหม่เช่น X-rays (รังสีเอ็กซ์), Laser (เลเซอร์) ก็สามารถนำมาประยุกต์เป็นการทดสอบแบบไม่ทำลายได้ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้นำการทดสอบแบบไม่ทำลายในระบบของรังสี คือ Gamma rays (รังสีแกมม่า) และรังสีเอ็กซ์ ได้ศึกษาโดยละเอียดโดยการนำไปใช้ทดสอบรอยเชื่อมในท่อส่งน้ำมัน และได้ศึกษาการเปรียบเทียบไว้ โดยสรุปได้ว่ารังสีเอ็กซ์เป็นที่น่าสนใจมากกว่า นอกเหนือจากการนำรังสีเอ็กซ์ไปใช้ในทางการแพทย์ ในประเทศไทยควรมีการนำเอารังสีเอ็กซ์มาใช้ในการทดสอบแบบไม่ทำลายในอุตสาหกรรม เช่น การทดสอบความบกพร่องในท่อส่งน้ำมัน และอื่นๆ Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26547 SIU RS-T. การทดสอบแบบไม่ทำลายด้วยรังสีแกมม่า = Nondestructive Testing by Gamma Ray [printed text] / เติมชัย พรดุษฎีกุล, Author ; วุฑฒิ พันธุมนาวิน, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 46 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]รังสี -- การสำรวจ
[LCSH]รังสีแกรมมา -- การทดสอบKeywords: การทดสอบแบบไม่ทำลาย (Non Destructive Testing)
รังสีแกมม่า (Gamma rays)
รังสีเอ๊กซ์ (X rays)
เทคนิคการทดสอบแบบผนังชั้นเดียว (Single wall technics)
เทคนิคการทดสอบแบบผนังสองชั้น (Double wall technics)Abstract: การทดสอบแบบไม่ทำลายเป็นเทคโนโลยีที่มีการใช้แพร่หลายมานานแล้ว ตั้งแต่คริสตศักราช 1800 โดยเทคนิคเทอร์โมกราฟฟี และมีการพัฒนาขึ้นมาโดยลำดับตามความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เพิ่มมากขึ้น จนถึงเทคโนโลยีใหม่เช่น X-rays (รังสีเอ็กซ์), Laser (เลเซอร์) ก็สามารถนำมาประยุกต์เป็นการทดสอบแบบไม่ทำลายได้ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้นำการทดสอบแบบไม่ทำลายในระบบของรังสี คือ Gamma rays (รังสีแกมม่า) และรังสีเอ็กซ์ ได้ศึกษาโดยละเอียดโดยการนำไปใช้ทดสอบรอยเชื่อมในท่อส่งน้ำมัน และได้ศึกษาการเปรียบเทียบไว้ โดยสรุปได้ว่ารังสีเอ็กซ์เป็นที่น่าสนใจมากกว่า นอกเหนือจากการนำรังสีเอ็กซ์ไปใช้ในทางการแพทย์ ในประเทศไทยควรมีการนำเอารังสีเอ็กซ์มาใช้ในการทดสอบแบบไม่ทำลายในอุตสาหกรรม เช่น การทดสอบความบกพร่องในท่อส่งน้ำมัน และอื่นๆ Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26547 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591899 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-03 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000591923 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-03 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ / ประยุทธ เกียรติการัณย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ Original title : Carbon Footprint Assessment of Water Hyacinth - Natural Rubber Composite Material Production Material Type: printed text Authors: ประยุทธ เกียรติการัณย์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 34 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-10
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]คาร์บอนฟุตพริ้นท์Keywords: คาร์บอนฟุตพริ้นท์,
วัสดุคอมโพสิทจากใยผักตบชวาและยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ เป็นการส่งเสริมการผลิตวัสดุทดแทนที่ใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ เพื่อช่วยลดปัญหาการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิต ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเกิดปัญหาสภาวะโลกร้อน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทียบเท่า ของวัสดุคอมโพสิตจากเส้นใยผักตบชวาและยางพารา จะมีค่าเท่ากับ 0.8729Kg CO2eq ต่อปริมาณผลิตภัณฑ์จำนวน 393 กรัมหรือเท่ากับ 2.2211Kg CO2eq ปริมาณผลิตภัณฑ์จำนวน 1000 กรัมทั้งนี้ยังพบว่า ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะลดลง เมื่อมีการใช้เส้นใยผักตบชวาเป็นส่วนประกอบในการผลิตมากขึ้น นอกจากนี้ผลการศึกษาวิจัยยังพบว่าการใช้พลังงานในการบดใยผักตบชวา และการอบผลิตภัณฑ์ มีการปลดปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจกมากกว่า 77% ดังนั้นการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในขั้นตอนการบดใยผักตบชวาและขั้นตอนการอบผลิตภัณฑ์ จะสามารถลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้น้อยลงได้
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27181 SIU RS-T. การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ = Carbon Footprint Assessment of Water Hyacinth - Natural Rubber Composite Material Production [printed text] / ประยุทธ เกียรติการัณย์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 34 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-10
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]คาร์บอนฟุตพริ้นท์Keywords: คาร์บอนฟุตพริ้นท์,
วัสดุคอมโพสิทจากใยผักตบชวาและยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ เป็นการส่งเสริมการผลิตวัสดุทดแทนที่ใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ เพื่อช่วยลดปัญหาการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิต ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเกิดปัญหาสภาวะโลกร้อน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทียบเท่า ของวัสดุคอมโพสิตจากเส้นใยผักตบชวาและยางพารา จะมีค่าเท่ากับ 0.8729Kg CO2eq ต่อปริมาณผลิตภัณฑ์จำนวน 393 กรัมหรือเท่ากับ 2.2211Kg CO2eq ปริมาณผลิตภัณฑ์จำนวน 1000 กรัมทั้งนี้ยังพบว่า ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะลดลง เมื่อมีการใช้เส้นใยผักตบชวาเป็นส่วนประกอบในการผลิตมากขึ้น นอกจากนี้ผลการศึกษาวิจัยยังพบว่าการใช้พลังงานในการบดใยผักตบชวา และการอบผลิตภัณฑ์ มีการปลดปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจกมากกว่า 77% ดังนั้นการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในขั้นตอนการบดใยผักตบชวาและขั้นตอนการอบผลิตภัณฑ์ จะสามารถลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้น้อยลงได้
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27181 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594687 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-10 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594695 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-10 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ / พีรวัฒน์ ดวงอาจ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ Original title : A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method Material Type: printed text Authors: พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ = A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method [printed text] / พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594570 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594554 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน Original title : A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas Material Type: printed text Authors: นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 31 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน = A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas [printed text] / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 31 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594620 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594638 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมด / ชวิน ครองสิริวัฒน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมด Original title : Carbon Footprint Assessment of Handmade Soap Production Material Type: printed text Authors: ชวิน ครองสิริวัฒน์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 33 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-10
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]คาร์บอนฟุตพริ้นท์ -- การลดปริมาณ
[LCSH]สบู่ -- การผลิตKeywords: คาร์บอนฟุตพริ้นท์,
สบู่ สบู่แฮนด์เมด,
การผลิตสบู่ในครัวเรือนAbstract: เนื่องจากก๊าซเรือนกระจกถือเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนที่มีผลมาจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้การอุปโภคบริโภคเป็นส่วนหนึ่งที่ผลักดันการผลิตที่ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อน ยกตัวอย่างการใช้สบู่เพื่อชำระล้างร้างกายก็สามารถก่อเกิดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ทว่าปัจจุบันมีการส่งเสริมให้ลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง โดยหนึ่งในกระบวนการนั้นคือการศึกษาค่าคาร์บอนฟูตพริ้นท์เพื่อหาปริมาณคาร์บอนที่ถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตเชิงอุตสาหกรรม จึงนำมาซึ่งการศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมดที่ผู้ผลิตสามารถผลิตใช้ได้เองในครัวเรือน อีกทั้งเมื่อทราบถึงอัตราส่นของจำนวนคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปล่อยออกมาแล้ว จะทำให้ทราบว่า ในกระบวนการผลิต ผู้ผลิตสามารถปรับเปลี่ยนวัตถุดิบใดได้บ้างเพื่อให้ผลิตของการปล่อยจำนวนคาร์บอนนั้นลดน้อยลงได้ ถือเป็นการปรับปรุงคุณภาพการผลิตเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26429 SIU RS-T. การศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมด = Carbon Footprint Assessment of Handmade Soap Production [printed text] / ชวิน ครองสิริวัฒน์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 33 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-10
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]คาร์บอนฟุตพริ้นท์ -- การลดปริมาณ
[LCSH]สบู่ -- การผลิตKeywords: คาร์บอนฟุตพริ้นท์,
สบู่ สบู่แฮนด์เมด,
การผลิตสบู่ในครัวเรือนAbstract: เนื่องจากก๊าซเรือนกระจกถือเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนที่มีผลมาจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้การอุปโภคบริโภคเป็นส่วนหนึ่งที่ผลักดันการผลิตที่ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อน ยกตัวอย่างการใช้สบู่เพื่อชำระล้างร้างกายก็สามารถก่อเกิดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ทว่าปัจจุบันมีการส่งเสริมให้ลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง โดยหนึ่งในกระบวนการนั้นคือการศึกษาค่าคาร์บอนฟูตพริ้นท์เพื่อหาปริมาณคาร์บอนที่ถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตเชิงอุตสาหกรรม จึงนำมาซึ่งการศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมดที่ผู้ผลิตสามารถผลิตใช้ได้เองในครัวเรือน อีกทั้งเมื่อทราบถึงอัตราส่นของจำนวนคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปล่อยออกมาแล้ว จะทำให้ทราบว่า ในกระบวนการผลิต ผู้ผลิตสามารถปรับเปลี่ยนวัตถุดิบใดได้บ้างเพื่อให้ผลิตของการปล่อยจำนวนคาร์บอนนั้นลดน้อยลงได้ ถือเป็นการปรับปรุงคุณภาพการผลิตเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26429 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591378 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-10 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000591402 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-10 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา / สุริยาวุธ กิตติภูวดล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา Original title : Solar PV Rooftop Financial Feasibility and End-of-Life Management: A Case Study of Sena Park Grand Ramindhra Housing Project Material Type: printed text Authors: สุริยาวุธ กิตติภูวดล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 69 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงานทดแทน
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: Solar Rooftop,
การจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานAbstract: การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานกรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) และเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ณ พื้นที่โครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว จังหวัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสอบถามบุคลากรของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อมูลจากบริษัทเอกชน และข้อมูลจากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) รวบรวมจากบทความ เอกสารวิชาการ รายงานประจำปี วารสาร และเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์เป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ และวิธีการที่จะกำจัดแผงโซล่าเซล ในกรณีระยะเวลาของโครงการ 25 ปี โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 25 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2581 ผลการศึกษาพบว่า โครงการคุ้มค่าน่าลงทุน ณ ระดับอัตราคิดลดร้อยละ 9.303 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 260,637.15 บาท อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการเท่ากับร้อยละ 13.93 ต่อปีอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการที่มีการปรับแล้วเท่ากับร้อยละ 10.69 ต่อปี อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนเท่ากับ 1.25 อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนสุทธิต่อการลงทุนเท่ากับ 1.37 มีระยะเวลาคืนทุนของโครงการเท่ากับ 7 ปี ส่วนการทดสอบค่าความแปรเปลี่ยนของการลงทุนพบว่า
ผลตอบแทนของโครงการสามารถลดลงได้มากที่สุดร้อยละ 20.16 ต้นทุนเงินรวมสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 25.25 ต้นทุนการลงทุนของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุด ร้อยละ 36.95 ต้นทุนการดำเนินงานของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 79.76 แสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน ภายใต้ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27186 SIU RS-T. การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา = Solar PV Rooftop Financial Feasibility and End-of-Life Management: A Case Study of Sena Park Grand Ramindhra Housing Project [printed text] / สุริยาวุธ กิตติภูวดล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 69 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงานทดแทน
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: Solar Rooftop,
การจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานAbstract: การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานกรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) และเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ณ พื้นที่โครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว จังหวัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสอบถามบุคลากรของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อมูลจากบริษัทเอกชน และข้อมูลจากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) รวบรวมจากบทความ เอกสารวิชาการ รายงานประจำปี วารสาร และเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์เป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ และวิธีการที่จะกำจัดแผงโซล่าเซล ในกรณีระยะเวลาของโครงการ 25 ปี โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 25 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2581 ผลการศึกษาพบว่า โครงการคุ้มค่าน่าลงทุน ณ ระดับอัตราคิดลดร้อยละ 9.303 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 260,637.15 บาท อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการเท่ากับร้อยละ 13.93 ต่อปีอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการที่มีการปรับแล้วเท่ากับร้อยละ 10.69 ต่อปี อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนเท่ากับ 1.25 อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนสุทธิต่อการลงทุนเท่ากับ 1.37 มีระยะเวลาคืนทุนของโครงการเท่ากับ 7 ปี ส่วนการทดสอบค่าความแปรเปลี่ยนของการลงทุนพบว่า
ผลตอบแทนของโครงการสามารถลดลงได้มากที่สุดร้อยละ 20.16 ต้นทุนเงินรวมสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 25.25 ต้นทุนการลงทุนของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุด ร้อยละ 36.95 ต้นทุนการดำเนินงานของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 79.76 แสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน ภายใต้ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27186 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594786 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594448 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด / ไพรัตน์ สุทธิพล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด Original title : Composition and Abundance of Marine Debris on Beaches of Thailand Material Type: printed text Authors: ไพรัตน์ สุทธิพล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 59 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะในทะเล
[LCSH]ทะเล -- ไทย -- การจัดการ
[LCSH]สิ่งแวดล้อม -- การจัดการKeywords: ขยะทะเล
การจัดการขยะAbstract: ขยะทะเลจำนวน 175,640 ชิ้น ถูกเก็บและบันทึกข้อมูลภายใต้กิจกรรมเก็บขยะสากล ตลอดความยาวชายหาด 38.8 กิโลเมตรทั่วประเทศไทยระหว่างปี 2552 – 2554 ข้อมูลขยะทะเลจากกิจกรรมเก็บขยะ ชี้ให้เห็นว่าขยะทะเลที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ เชือก ฝา/จุก ถุงพลาสติก กระดาษ/หนังสือพิมพ์/ใบปลิว และถ้วย/จาน/ช้อน/ส้อม/มีด ตามลำดับ ขยะทะเลประเภทวัสดุ พลาสติก มีสัดส่วนมากที่สุดถึง 56% และขยะทะเลมีแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมชายฝั่งและการพักผ่อน มีสัดส่วนถึง 55% มากที่สุดเมื่อเทียบกับกิจกรรมด้านอื่นๆ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับขยะทะเลของประเทศไทยคือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2550 – 2554 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยงานหลักประสานงานจัดทำฐานข้อมูล ขยะทะเลของไทย ในปัจจุบันหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ ในปัจจุบันยังไม่มีการประสานงานและส่งต่อข้อมูลขยะทะเลให้แก่กัน
เสนอแนะให้ดำเนินการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล โดยเร่งด่วน ควบคู่ไปกับโครงการ ระยะยาวด้านการพัฒนาระบบการจัดการขยะ และปรับปรุงกฎหมาย โดยให้จัดลำดับความสำคัญให้การลดขยะพลาสติกและโพลีสไตรีนไว้เป็นลำดับแรกที่มีความสำคัญสูง แนวทางการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล สำหรับประเทศไทยถูกเสนอแนะไว้ในการศึกษานี้ มีความจำเป็นที่จะต้องนำแนวคิดการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมและการแก้ไขปัญหาทั้งระบบมาปฏิบัติใช้ไปด้วยกันCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26227 SIU RS-T. การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด = Composition and Abundance of Marine Debris on Beaches of Thailand [printed text] / ไพรัตน์ สุทธิพล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 59 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะในทะเล
[LCSH]ทะเล -- ไทย -- การจัดการ
[LCSH]สิ่งแวดล้อม -- การจัดการKeywords: ขยะทะเล
การจัดการขยะAbstract: ขยะทะเลจำนวน 175,640 ชิ้น ถูกเก็บและบันทึกข้อมูลภายใต้กิจกรรมเก็บขยะสากล ตลอดความยาวชายหาด 38.8 กิโลเมตรทั่วประเทศไทยระหว่างปี 2552 – 2554 ข้อมูลขยะทะเลจากกิจกรรมเก็บขยะ ชี้ให้เห็นว่าขยะทะเลที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ เชือก ฝา/จุก ถุงพลาสติก กระดาษ/หนังสือพิมพ์/ใบปลิว และถ้วย/จาน/ช้อน/ส้อม/มีด ตามลำดับ ขยะทะเลประเภทวัสดุ พลาสติก มีสัดส่วนมากที่สุดถึง 56% และขยะทะเลมีแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมชายฝั่งและการพักผ่อน มีสัดส่วนถึง 55% มากที่สุดเมื่อเทียบกับกิจกรรมด้านอื่นๆ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับขยะทะเลของประเทศไทยคือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2550 – 2554 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยงานหลักประสานงานจัดทำฐานข้อมูล ขยะทะเลของไทย ในปัจจุบันหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ ในปัจจุบันยังไม่มีการประสานงานและส่งต่อข้อมูลขยะทะเลให้แก่กัน
เสนอแนะให้ดำเนินการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล โดยเร่งด่วน ควบคู่ไปกับโครงการ ระยะยาวด้านการพัฒนาระบบการจัดการขยะ และปรับปรุงกฎหมาย โดยให้จัดลำดับความสำคัญให้การลดขยะพลาสติกและโพลีสไตรีนไว้เป็นลำดับแรกที่มีความสำคัญสูง แนวทางการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล สำหรับประเทศไทยถูกเสนอแนะไว้ในการศึกษานี้ มีความจำเป็นที่จะต้องนำแนวคิดการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมและการแก้ไขปัญหาทั้งระบบมาปฏิบัติใช้ไปด้วยกันCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26227 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591006 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000590974 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด / ขนิษฐา สุขสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Original title : Energy Saving Behavior of Employees for CO2 Emission Reduction: Case Study of Toshiba Consumer Product (Thailand) Co., Ltd. Material Type: printed text Authors: ขนิษฐา สุขสวัสดิ์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]พลังงาน -- การจัดการKeywords: การประหยัดพลังงานไฟฟ้า,
พฤติกรรมการประหยัดพลังงาน,
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลและศึกษาแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลกิจกรรมที่เป็นสาเหตุของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHGs emission) ในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อทำให้ทราบถึงความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้าของพนักงานในบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26226 SIU RS-T. การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด = Energy Saving Behavior of Employees for CO2 Emission Reduction: Case Study of Toshiba Consumer Product (Thailand) Co., Ltd. [printed text] / ขนิษฐา สุขสวัสดิ์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]พลังงาน -- การจัดการKeywords: การประหยัดพลังงานไฟฟ้า,
พฤติกรรมการประหยัดพลังงาน,
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลและศึกษาแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลกิจกรรมที่เป็นสาเหตุของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHGs emission) ในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อทำให้ทราบถึงความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้าของพนักงานในบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26226 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590958 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000590982 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาลักษณะทางกายภาพและทางเคมี เพื่อหาแนวทางจัดการขยะที่เหมาะสม กรณีศึกษา : สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยหายยา จังหวัดเชียงใหม่ / กมลลักษณ์ อมรสวาทศิลป์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาลักษณะทางกายภาพและทางเคมี เพื่อหาแนวทางจัดการขยะที่เหมาะสม กรณีศึกษา : สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยหายยา จังหวัดเชียงใหม่ Original title : A study of physical and chemical characteristics of municipal solid waste : Case study of Hai Ya Transfer Station,Chiangmai Province Material Type: printed text Authors: กมลลักษณ์ อมรสวาทศิลป์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vi, 39 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะ -- การจัดการ -- เชียงใหม่
[LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- กรณีศึกษาCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26583 SIU RS-T. การศึกษาลักษณะทางกายภาพและทางเคมี เพื่อหาแนวทางจัดการขยะที่เหมาะสม กรณีศึกษา : สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยหายยา จังหวัดเชียงใหม่ = A study of physical and chemical characteristics of municipal solid waste : Case study of Hai Ya Transfer Station,Chiangmai Province [printed text] / กมลลักษณ์ อมรสวาทศิลป์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vi, 39 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะ -- การจัดการ -- เชียงใหม่
[LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- กรณีศึกษาCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26583 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592293 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-06 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592301 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-06 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) / วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) Original title : (Research Study of the progressive Technology between Hydrogen Fuel Cell (HFC) and Plug in Electric vehicle (PEV)) Material Type: printed text Authors: วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: 50 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- แง่สิ่งแวดล้อม
[LCSH]รถยนต์ -- การผลิต
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: โตโยต้า มิไรอิ,
เทสล่า โมเดล เอส
เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน,
รถไฟฟ้าแบบปลั๊กอิน,
การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์Abstract: นับตั้งแต่มีการประดิษฐ์รถยนต์ขึ้นมาใช้คันแรกในปี 1886 รถยนต์นับเป็นปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งในปัจจุบันและยังคงมีความสำคัญต่ออนาคต มีการคิดค้นวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อให้รถยนต์มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการพัฒนาเพื่อให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยลง รวมทั้งลดต้นทุนการผลิต จึงเป็นวัตถุประสงค์หลักของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต์จะคำนึงถึงนอกเหนือจากผลประกอบการทางด้านธุรกิจ
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีได้จำแนกการพัฒนารถยนต์ในอนาคตออกเป็นหลายแบบตามชนิดของเชื้อเพลิง และหลักการทำงานของรถยนต์นั้นๆ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้ทำการเปรียบเทียบเทคโนโลยีของรถยนต์สองแบบ ได้แก่รถยนต์ที่ผลิตโดยบริษัท โตโยต้า รุ่น มิไร (Mirai) ที่ใช้ระบบเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell – HFC) เป็นแหล่งพลังงานและรถที่ผลิตโดยบริษัท เทสล่า รุ่น โมเดล เอส (Tesla Model S)รถไฟฟ้าที่ใช้ระบบแบตเตอรี่(Plug in Electric Vehicle – PEV) เป็นแหล่งพลังงานขับเคลื่อน
ผลการวิจัยพบว่า ในแง่ของเทคโนโลยีแล้ว HFC จะมีหัวข้อที่มีข้อดีมากกว่า PEV แต่สำหรับการใช้งานที่เป็นความจริงในปัจจุบัน รถ HFC คงยังมีปัญหาในเรื่องของการหาเชื้อเพลิงและสถานีบริการไม่ได้เท่ากับรถ PEVCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26575 SIU RS-T. การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) = (Research Study of the progressive Technology between Hydrogen Fuel Cell (HFC) and Plug in Electric vehicle (PEV)) [printed text] / วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - 50 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- แง่สิ่งแวดล้อม
[LCSH]รถยนต์ -- การผลิต
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: โตโยต้า มิไรอิ,
เทสล่า โมเดล เอส
เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน,
รถไฟฟ้าแบบปลั๊กอิน,
การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์Abstract: นับตั้งแต่มีการประดิษฐ์รถยนต์ขึ้นมาใช้คันแรกในปี 1886 รถยนต์นับเป็นปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งในปัจจุบันและยังคงมีความสำคัญต่ออนาคต มีการคิดค้นวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อให้รถยนต์มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการพัฒนาเพื่อให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยลง รวมทั้งลดต้นทุนการผลิต จึงเป็นวัตถุประสงค์หลักของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต์จะคำนึงถึงนอกเหนือจากผลประกอบการทางด้านธุรกิจ
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีได้จำแนกการพัฒนารถยนต์ในอนาคตออกเป็นหลายแบบตามชนิดของเชื้อเพลิง และหลักการทำงานของรถยนต์นั้นๆ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้ทำการเปรียบเทียบเทคโนโลยีของรถยนต์สองแบบ ได้แก่รถยนต์ที่ผลิตโดยบริษัท โตโยต้า รุ่น มิไร (Mirai) ที่ใช้ระบบเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell – HFC) เป็นแหล่งพลังงานและรถที่ผลิตโดยบริษัท เทสล่า รุ่น โมเดล เอส (Tesla Model S)รถไฟฟ้าที่ใช้ระบบแบตเตอรี่(Plug in Electric Vehicle – PEV) เป็นแหล่งพลังงานขับเคลื่อน
ผลการวิจัยพบว่า ในแง่ของเทคโนโลยีแล้ว HFC จะมีหัวข้อที่มีข้อดีมากกว่า PEV แต่สำหรับการใช้งานที่เป็นความจริงในปัจจุบัน รถ HFC คงยังมีปัญหาในเรื่องของการหาเชื้อเพลิงและสถานีบริการไม่ได้เท่ากับรถ PEVCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26575 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592244 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592269 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาสัมประสิทธิ์สมรรถนะพลังงานของปั๊มความร้อน แบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง / วีระชัย จีระนันตสิน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาสัมประสิทธิ์สมรรถนะพลังงานของปั๊มความร้อน แบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง Original title : Study Coefficient of Performance of Multisource Heat Pump Material Type: printed text Authors: วีระชัย จีระนันตสิน, Author ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 44 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ปั๊มความร้อน
[LCSH]วิทยาศาสตร์ -- การทดลองKeywords: ปั๊มความร้อนแบบดึงพลังงานความร้อนจากหลายแหล่ง,
ปั๊มความร้อนแบบแหล่งความร้อนจากอากาศ,
ปั๊มความร้อนแบบแหล่งความร้อนจากน้ำ,
สัมประสิทธิ์สมรรถนะAbstract: การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาหาสัมประสิทธิ์สมรรถนะของปั๊มความร้อนแบบประเภทที่สามารถดึงพลังงานความร้อนหลายแหล่งจากแหล่งความร้อน ทั้งแหล่งความร้อนจากอากาศที่ 35 องศาเซลเซียส และแหล่งความร้อนจาก น้ำเย็น 12 องศาเซลเซียสออก 7 องศาเซลเซียส ในขณะที่เครื่องปั๊มความร้อนสามารถผลิตน้ำร้อนได้สูง 60 องศาเซลเซียส โดย การออกแบบสร้างเครื่องปั๊มความร้อนแบบดึงพลังงานจากแหล่งความร้อนจากอากาศหรือจากน้ำ ถ่ายเทให้แก่น้ำ หรืออากาศ สลับเลือกตามการทดสอบวิจัยนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก
1) คอมเพรสเซอร์ ขนาด กำลังไฟฟ้า 1.52 kW ใช้สารทำความเย็น R134a
2) เครื่องควบแน่น ภาระทำความร้อน 3.16 kW
3) เครื่องระเหย ภาระการทำความเย็น 1.95 kW
4) คอล์ยแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยอากาศ ทำหน้าที่ทั้งเป็นเครื่องระเหยหรือเครื่องควบแน่น
ผลการทดลองนำมาหาค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของเครื่องในแต่ละระบบ ได้ดังนี้
1) ระบบปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนจากน้ำเย็น ได้ค่า COP = 2.52
2) ระบบน้ำเย็นระบายความร้อนด้วยอากาศ ได้ค่า COP = 2.42
3) ระบบปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนจากน้ำเย็น ได้ค่า COP = 3.5
จากผลการทดลอง ปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง สามารถทำงานผลิตน้ำร้อนและน้ำเย็นในขณะเดียวกัน ตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26642 SIU RS-T. การศึกษาสัมประสิทธิ์สมรรถนะพลังงานของปั๊มความร้อน แบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง = Study Coefficient of Performance of Multisource Heat Pump [printed text] / วีระชัย จีระนันตสิน, Author ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 44 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ปั๊มความร้อน
[LCSH]วิทยาศาสตร์ -- การทดลองKeywords: ปั๊มความร้อนแบบดึงพลังงานความร้อนจากหลายแหล่ง,
ปั๊มความร้อนแบบแหล่งความร้อนจากอากาศ,
ปั๊มความร้อนแบบแหล่งความร้อนจากน้ำ,
สัมประสิทธิ์สมรรถนะAbstract: การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาหาสัมประสิทธิ์สมรรถนะของปั๊มความร้อนแบบประเภทที่สามารถดึงพลังงานความร้อนหลายแหล่งจากแหล่งความร้อน ทั้งแหล่งความร้อนจากอากาศที่ 35 องศาเซลเซียส และแหล่งความร้อนจาก น้ำเย็น 12 องศาเซลเซียสออก 7 องศาเซลเซียส ในขณะที่เครื่องปั๊มความร้อนสามารถผลิตน้ำร้อนได้สูง 60 องศาเซลเซียส โดย การออกแบบสร้างเครื่องปั๊มความร้อนแบบดึงพลังงานจากแหล่งความร้อนจากอากาศหรือจากน้ำ ถ่ายเทให้แก่น้ำ หรืออากาศ สลับเลือกตามการทดสอบวิจัยนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก
1) คอมเพรสเซอร์ ขนาด กำลังไฟฟ้า 1.52 kW ใช้สารทำความเย็น R134a
2) เครื่องควบแน่น ภาระทำความร้อน 3.16 kW
3) เครื่องระเหย ภาระการทำความเย็น 1.95 kW
4) คอล์ยแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยอากาศ ทำหน้าที่ทั้งเป็นเครื่องระเหยหรือเครื่องควบแน่น
ผลการทดลองนำมาหาค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของเครื่องในแต่ละระบบ ได้ดังนี้
1) ระบบปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนจากน้ำเย็น ได้ค่า COP = 2.52
2) ระบบน้ำเย็นระบายความร้อนด้วยอากาศ ได้ค่า COP = 2.42
3) ระบบปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนจากน้ำเย็น ได้ค่า COP = 3.5
จากผลการทดลอง ปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง สามารถทำงานผลิตน้ำร้อนและน้ำเย็นในขณะเดียวกัน ตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26642 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592988 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-02 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000593002 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-02 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี / หทัยรัตน์ สนสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี Original title : Economic Losses in Agriculture, Reduce Adverse Conditions, Surrounded Case Study: Community Enterprise in the Pillow. Sub-Tribes Popular Sai Noi, Nonthaburi Material Type: printed text Authors: หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 76 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]เกษตรกรรม -- นนทบุรี -- ไทรน้อย
[LCSH]เกษตรกรรม -- เศรษฐกิจKeywords: สภาวะแวดล้อมเกษตรอินทรีย์
เกษตรกรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานความรู้ให้แก่ผู้สนใจทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึง สถานการณ์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในปัจจุบัน ทั้งด้านการผลิต การตลาด การส่งเสริม และแนวทางสู่ความสำเร็จในการทำเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งมีเป้าหมายให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากเกษตรอินทรีย์เป็นรูปแบบการทำการเกษตรที่กำลังได้รับความสนใจ ทั้งในแง่การสร้างความยั่งยืนในการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ให้อาหารที่ปลอดภัยทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจและการตลาดเติบโตอย่างรวดเร็ว ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลดีต่อไป Curricular : GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26224 SIU RS-T. การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี = Economic Losses in Agriculture, Reduce Adverse Conditions, Surrounded Case Study: Community Enterprise in the Pillow. Sub-Tribes Popular Sai Noi, Nonthaburi [printed text] / หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 76 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]เกษตรกรรม -- นนทบุรี -- ไทรน้อย
[LCSH]เกษตรกรรม -- เศรษฐกิจKeywords: สภาวะแวดล้อมเกษตรอินทรีย์
เกษตรกรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานความรู้ให้แก่ผู้สนใจทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึง สถานการณ์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในปัจจุบัน ทั้งด้านการผลิต การตลาด การส่งเสริม และแนวทางสู่ความสำเร็จในการทำเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งมีเป้าหมายให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากเกษตรอินทรีย์เป็นรูปแบบการทำการเกษตรที่กำลังได้รับความสนใจ ทั้งในแง่การสร้างความยั่งยืนในการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ให้อาหารที่ปลอดภัยทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจและการตลาดเติบโตอย่างรวดเร็ว ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลดีต่อไป Curricular : GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26224 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590941 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000591881 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592087 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.3 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นสารตัวเพิ่มในยางธรรมชาติ / สมพงศ์ พงศ์ประภากรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การใช้ผักตบชวาเป็นสารตัวเพิ่มในยางธรรมชาติ Original title : Using Water Hyacinth as Filler for Natural Rubber Material Type: printed text Authors: สมพงศ์ พงศ์ประภากรณ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 24 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-09
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา
[LCSH]ยางธรรมชาติKeywords: ผักตบชวา,
สารตัวเติมAbstract: งานวิจัยได้ทําการศึกษาการเตรียมผักตบชวาในรูปแบบที่ถูกแปรรูปโดยการตากแห้งและบดเป็นผงเพื่อเป็นสารตัวเติม (Filler) ในยางธรรมชาติที่อยูในรูปแบบของน้ำยางขนแอมโนเนียสูง (Concentrated Latex-HA) โดยมีตัวแปรที่สารตัวเติมอย่างเดียว คือ สารเส้นใยผักตบชวาในอัตราส่วน 0,20,30,40,50 phr
การศึกษาวิจัยนี้การทดสอบการใช้ผงเส้นใยผักตบชวาในการเป็นสารตัวเติมทำให้ความสามารถในการรับแรงเพิ่มขึ้นและสามรถเป็นสารตัวเติมเพื่อลดปริมาณเนื้อย่างได้
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27192 SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นสารตัวเพิ่มในยางธรรมชาติ = Using Water Hyacinth as Filler for Natural Rubber [printed text] / สมพงศ์ พงศ์ประภากรณ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 24 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-09
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา
[LCSH]ยางธรรมชาติKeywords: ผักตบชวา,
สารตัวเติมAbstract: งานวิจัยได้ทําการศึกษาการเตรียมผักตบชวาในรูปแบบที่ถูกแปรรูปโดยการตากแห้งและบดเป็นผงเพื่อเป็นสารตัวเติม (Filler) ในยางธรรมชาติที่อยูในรูปแบบของน้ำยางขนแอมโนเนียสูง (Concentrated Latex-HA) โดยมีตัวแปรที่สารตัวเติมอย่างเดียว คือ สารเส้นใยผักตบชวาในอัตราส่วน 0,20,30,40,50 phr
การศึกษาวิจัยนี้การทดสอบการใช้ผงเส้นใยผักตบชวาในการเป็นสารตัวเติมทำให้ความสามารถในการรับแรงเพิ่มขึ้นและสามรถเป็นสารตัวเติมเพื่อลดปริมาณเนื้อย่างได้
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27192 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594737 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-09 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594729 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-09 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดการขยะติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลปทุมธานี / พีรพงศ์ ตั้งจิตเจริญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดการขยะติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลปทุมธานี Original title : Factors Affecting on the Efficiency of Infectious Waste Management of Nursing Division Personnel, Pathumthani Hospital Material Type: printed text Authors: พีรพงศ์ ตั้งจิตเจริญ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 101 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะติดเชื้อ -- การจัดการ -- ปทุมธานี Keywords: ประสิทธิภาพการจัดการ,
ขยะติดเชื้อ,
บุคลากรกลุ่มการพยาบาลAbstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโดยวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อและเพื่อหาวิธีการหรือมาตรการที่เหมาะสมในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาลในโรงพยาบาลปทุมธานีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลปทุมธานี จำนวน199 คนซึ่งทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามโดยสอบถามในประเด็นที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปฏิบัติความรู้และการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคจากมูลฝอยติดเชื้อรวมถึงแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขและทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ความถี่และร้อยละการวิเคราะห์ความแตกต่างของตัวแปรใช้ค่าสถิติค่าเฉลี่ย ( Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27182 SIU RS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดการขยะติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลปทุมธานี = Factors Affecting on the Efficiency of Infectious Waste Management of Nursing Division Personnel, Pathumthani Hospital [printed text] / พีรพงศ์ ตั้งจิตเจริญ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 101 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะติดเชื้อ -- การจัดการ -- ปทุมธานี Keywords: ประสิทธิภาพการจัดการ,
ขยะติดเชื้อ,
บุคลากรกลุ่มการพยาบาลAbstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโดยวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อและเพื่อหาวิธีการหรือมาตรการที่เหมาะสมในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาลในโรงพยาบาลปทุมธานีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลปทุมธานี จำนวน199 คนซึ่งทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามโดยสอบถามในประเด็นที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปฏิบัติความรู้และการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคจากมูลฝอยติดเชื้อรวมถึงแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขและทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ความถี่และร้อยละการวิเคราะห์ความแตกต่างของตัวแปรใช้ค่าสถิติค่าเฉลี่ย ( Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27182 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594463 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-07 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594455 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-07 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan