From this page you can:
Home |
Author details
Author เปียซื่อ นพวรรณ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการพยาบาลอนามัยชุมชน / นพวรรณ เปียซื่อ / นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล - 2565
Title : การพยาบาลอนามัยชุมชน : นโยบาย และทฤษฏีสู่การปฏิบัติ Material Type: printed text Authors: นพวรรณ เปียซื่อ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2565 Pagination: xvi, 470 หน้า Layout: ภ่าพประกอบ Size: 24 cm. ISBN (or other code): 978-6-16-443693-0 Price: 499.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาล
[NLM]การพยาบาลอนามัยชุมชน -- นโยบาย
[NLM]อนามัยชุมชน
[NLM]อนามัยชุมชน, การพยาบาลClass number: WY106 ก492 2565 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28738 การพยาบาลอนามัยชุมชน : นโยบาย และทฤษฏีสู่การปฏิบัติ [printed text] / นพวรรณ เปียซื่อ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - [S.l.] : นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล, 2565 . - xvi, 470 หน้า : ภ่าพประกอบ ; 24 cm.
ISBN : 978-6-16-443693-0 : 499.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาล
[NLM]การพยาบาลอนามัยชุมชน -- นโยบาย
[NLM]อนามัยชุมชน
[NLM]อนามัยชุมชน, การพยาบาลClass number: WY106 ก492 2565 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28738 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000604031 WY106 ก492 2565 C.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000604047 WY106 ก492 2565 C.10 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 02/05/2025 32002000604032 WY106 ก492 2565 C.2 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 04/30/2025 32002000604033 WY106 ก492 2565 C.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000604034 WY106 ก492 2565 C.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000604035 WY106 ก492 2565 C.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000604048 WY106 ก492 2565 C.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000604044 WY106 ก492 2565 C.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000604045 WY106 ก492 2565 C.8 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 02/06/2025 32002000604046 WY106 ก492 2565 C.9 Book Main Library Nursing Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
สุขภาพดีขึ้นทุกด้าน หมอน้ำหวาน รู้ทันสุขภาพวัยทำงาน สุรีรักษ์, ประสาทพร Foundations for health promotion Wills,, Jane การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง / สุชาดา เจะดอเลาะ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง : สำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง Original title : A computer assisted self care programme for Thai muslims with Hypertension Material Type: printed text Authors: สุชาดา เจะดอเลาะ, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.83-94 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.83-94Keywords: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การดูแลตนเอง.ชาวไทยมุสลิม.โรคความดันโลหิตสูง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25653 [article] การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการดูแลตนเอง = A computer assisted self care programme for Thai muslims with Hypertension : สำหรับชาวไทยมุสลิมที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง [printed text] / สุชาดา เจะดอเลาะ, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author . - 2016 . - p.83-94.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.83-94Keywords: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.การดูแลตนเอง.ชาวไทยมุสลิม.โรคความดันโลหิตสูง. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25653 การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม / สาคร เหล็กแย้ม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ Material Type: printed text Authors: สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.126-137 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 [article] การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ [printed text] / สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author . - 2017 . - p.126-137.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 การใช้ฉลากโภชนาการและภาวะโภชนาการของประชาชนในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / อมรรัตน์ นธะสนธิ์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/14/2016])
[article]
Title : การใช้ฉลากโภชนาการและภาวะโภชนาการของประชาชนในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Original title : Use of the nutrition label and nutritional status in community dwellers in a northeastern province of Thailand Material Type: printed text Authors: อมรรัตน์ นธะสนธิ์, Author ; ไพลิน พิณทอง, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.80-91 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/14/2016] . - p.80-91Keywords: การใช้ฉลาก.โภชนการ.ประชาชน.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25546 [article] การใช้ฉลากโภชนาการและภาวะโภชนาการของประชาชนในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ = Use of the nutrition label and nutritional status in community dwellers in a northeastern province of Thailand [printed text] / อมรรัตน์ นธะสนธิ์, Author ; ไพลิน พิณทอง, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author . - 2016 . - p.80-91.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล / ธัชมน สินสูงสุด in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล Original title : Factors predicting preventive behavior for the osteroporosis in university students Material Type: printed text Authors: ธัชมน สินสูงสุด, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.244-257 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.244-257Keywords: โรคกระดูกพรุน.ึความเชื่อมั่นในตนเอง.พฤติกรรมการป้องกันโรค.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การศึกษาเชิงทำนาpบครั้งนี้ เพื่อ 1.สำรวจความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อโลกกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกะรโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล 2.ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล ประชากร คือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 746 ราย เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง พบว่า นักศึกษาพยาบาล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98.30) อายุเฉลี่ย 19.86 1.26 ปี มีความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนและระดับการศึกษาร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาลได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุรได้ร้อยละ35.20 ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางในการ จัดโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยเพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาพยาบาลในด้านการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และธำรงไว้ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคกกระดูกพรุน รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24992 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล = Factors predicting preventive behavior for the osteroporosis in university students [printed text] / ธัชมน สินสูงสุด, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author . - 2015 . - pp.244-257.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.244-257Keywords: โรคกระดูกพรุน.ึความเชื่อมั่นในตนเอง.พฤติกรรมการป้องกันโรค.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การศึกษาเชิงทำนาpบครั้งนี้ เพื่อ 1.สำรวจความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อโลกกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกะรโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล 2.ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล ประชากร คือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 746 ราย เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง พบว่า นักศึกษาพยาบาล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98.30) อายุเฉลี่ย 19.86 1.26 ปี มีความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนและระดับการศึกษาร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาลได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุรได้ร้อยละ35.20 ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางในการ จัดโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยเพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาพยาบาลในด้านการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และธำรงไว้ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคกกระดูกพรุน รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24992 แนวคิดและบทบาทพยาบาลในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ / สุพรรณา ครองแถว in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : แนวคิดและบทบาทพยาบาลในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ Material Type: printed text Authors: สุพรรณา ครองแถว, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.141-157 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.141-157Keywords: วงจรการเกิดภัยพิบัติ.การเตรียมรับภัยพิบัติ.สมรรถนะด้านการพยาบาลใยภาวะภัยพิบัติ. Abstract: ภัยพิบัติมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาลทุกประเทศทั่วโลกต่่างให้ความสในใจร่วมมือกันจัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อการจัดการภัยพิบัติโดยมีแนวคิด คือ การป้องกัน การลดความรุนแรง การเตรียมพร้อมรับมือ การรับสถานการณ์ฉุกเฉิน การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนา ซึ่งแต่ละขั้นตอนประกอบด้วยการปฏิบัติหน้าที่เหมาะสมกับวงจรการเกิดภัยพิบัติ ได้แก่ ระยะก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภัยพิบัติ ประเทศไทยประสบภัยพิบัติต่าง ๆ มากมาย และได้ถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย ดังนั้น พยาบาลซึ่งเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติควรได้รับการส่งเสริมให้มีสมรรถนะด้านการพยาบาลในภาวะภัยพิบัติ 4 ด้าน ได้แก่ การป้องกัน/การลดความรุนแรง การเรียมพร้อมรับมือ การตอบสนองต่อภัยพิบัติในทันที และการพักฟื้น ฟื้นฟูสภาพ เพื่อท่ี่จะสามารถนำความรู้ และทักษะมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติได้ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางในการจัดการภัยพิบัติ เพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นและช่วยบุคคลและชุมชุนให้ฟื้นตัวจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้เร็วที่สุด Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24984 [article] แนวคิดและบทบาทพยาบาลในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ [printed text] / สุพรรณา ครองแถว, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author . - 2015 . - pp.141-157.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.141-157Keywords: วงจรการเกิดภัยพิบัติ.การเตรียมรับภัยพิบัติ.สมรรถนะด้านการพยาบาลใยภาวะภัยพิบัติ. Abstract: ภัยพิบัติมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาลทุกประเทศทั่วโลกต่่างให้ความสในใจร่วมมือกันจัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อการจัดการภัยพิบัติโดยมีแนวคิด คือ การป้องกัน การลดความรุนแรง การเตรียมพร้อมรับมือ การรับสถานการณ์ฉุกเฉิน การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนา ซึ่งแต่ละขั้นตอนประกอบด้วยการปฏิบัติหน้าที่เหมาะสมกับวงจรการเกิดภัยพิบัติ ได้แก่ ระยะก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภัยพิบัติ ประเทศไทยประสบภัยพิบัติต่าง ๆ มากมาย และได้ถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศที่มีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย ดังนั้น พยาบาลซึ่งเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติควรได้รับการส่งเสริมให้มีสมรรถนะด้านการพยาบาลในภาวะภัยพิบัติ 4 ด้าน ได้แก่ การป้องกัน/การลดความรุนแรง การเรียมพร้อมรับมือ การตอบสนองต่อภัยพิบัติในทันที และการพักฟื้น ฟื้นฟูสภาพ เพื่อท่ี่จะสามารถนำความรู้ และทักษะมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติได้ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางในการจัดการภัยพิบัติ เพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นและช่วยบุคคลและชุมชุนให้ฟื้นตัวจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้เร็วที่สุด Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24984