From this page you can:
Home |
Author details
Author เกียรติวัฒนเจริญ สมจิต
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของสื่อมัลติมีเดียและการฝึกปฎิบัติกับหุ่นต่อความรู้และความมั่นใจในการปฎิบัติการพยาบาล / สธิศา ล่ามช้าง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 ([09/17/2015])
[article]
Title : ผลของสื่อมัลติมีเดียและการฝึกปฎิบัติกับหุ่นต่อความรู้และความมั่นใจในการปฎิบัติการพยาบาล : เด็กป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันของนักศึกษาพยาบาล Material Type: printed text Authors: สธิศา ล่ามช้าง, Author ; สมจิต เกียรติวัฒนเจริญ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.29-42 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 [09/17/2015] . - p.29-42Keywords: สื่อมัลติมีเดีย.การฝึกปฏิบัติกับหุ่น.การพยาบาลเด็ก.โรคทางเดินหายใจ. นักศึกษาพยาบาล. Abstract: สื่อมัลติมีเดียเป็นสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่สามารถส่งเสริมความรู้ของนักศึกษาพยาบาลการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสื่อมัลติมีเดีย และการฝึกปฏิบัติกับหุ่นต่อความรู้และความมั่นใจในการปฏบัติการพยาบาลเด็กป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลัยของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเป็นนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 ซึ่งลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษา 2556 คณะพยาบาลศษสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 76 คน สุ่มเข้ากลุ่มเปรียบเทียบและกลุ่มทดลองตามตารางการฝึกปฏิบัติการพยาบาล กลุ่มละ 38 คน โดยนักศึกษาทั้งสองกลุ่มม่ีเกรดเฉลี่ยสะสม (GPA)ไม่แตกต่างกัน กลุ่มทดลองคือ กลุ่มที่ได้รับการสอนก่อนการฝึกปฎิบัติการพยาบาลเด็ก จากอาจารย์ร่วมกันกับการใช้สื่อมัลติมีเดียและการฝึกปฏิบัติกับหุ่น และกลุ่มเปรียบเทียบคือ กลุ่มที่ได้รับการสอนก่อนการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กจากอาจารย์คนเดียวกัน เคริื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ สื่อมัลติมีเดียเรื่องการปฏิบัติการพยาบาลเด็กป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลัน แบบสอบถามความคิดเห็นต่อสื่อมัลติมีเดัย และแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติเด็กป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลัน ซึ่งพัฒนาโดย สุธิศา ล่ามช้าง และอุษณีย์ จินตะเวช และแบบวัดความมั่นใจในการปฎิบัติพยาบาลเด็กที่ป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันพัฒนาโดยผู้วิจัย ซึ่งมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน เท่ากับ 0.81 ค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความรู้และแบบวัดความมั่นใจเท่ากับ 0.08 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสถิติทดสอบที Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24964 [article] ผลของสื่อมัลติมีเดียและการฝึกปฎิบัติกับหุ่นต่อความรู้และความมั่นใจในการปฎิบัติการพยาบาล : เด็กป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / สธิศา ล่ามช้าง, Author ; สมจิต เกียรติวัฒนเจริญ, Author . - 2015 . - p.29-42.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 [09/17/2015] . - p.29-42Keywords: สื่อมัลติมีเดีย.การฝึกปฏิบัติกับหุ่น.การพยาบาลเด็ก.โรคทางเดินหายใจ. นักศึกษาพยาบาล. Abstract: สื่อมัลติมีเดียเป็นสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่สามารถส่งเสริมความรู้ของนักศึกษาพยาบาลการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสื่อมัลติมีเดีย และการฝึกปฏิบัติกับหุ่นต่อความรู้และความมั่นใจในการปฏบัติการพยาบาลเด็กป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลัยของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเป็นนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 ซึ่งลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษา 2556 คณะพยาบาลศษสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 76 คน สุ่มเข้ากลุ่มเปรียบเทียบและกลุ่มทดลองตามตารางการฝึกปฏิบัติการพยาบาล กลุ่มละ 38 คน โดยนักศึกษาทั้งสองกลุ่มม่ีเกรดเฉลี่ยสะสม (GPA)ไม่แตกต่างกัน กลุ่มทดลองคือ กลุ่มที่ได้รับการสอนก่อนการฝึกปฎิบัติการพยาบาลเด็ก จากอาจารย์ร่วมกันกับการใช้สื่อมัลติมีเดียและการฝึกปฏิบัติกับหุ่น และกลุ่มเปรียบเทียบคือ กลุ่มที่ได้รับการสอนก่อนการฝึกปฏิบัติการพยาบาลเด็กจากอาจารย์คนเดียวกัน เคริื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ สื่อมัลติมีเดียเรื่องการปฏิบัติการพยาบาลเด็กป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลัน แบบสอบถามความคิดเห็นต่อสื่อมัลติมีเดัย และแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติเด็กป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลัน ซึ่งพัฒนาโดย สุธิศา ล่ามช้าง และอุษณีย์ จินตะเวช และแบบวัดความมั่นใจในการปฎิบัติพยาบาลเด็กที่ป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันพัฒนาโดยผู้วิจัย ซึ่งมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน เท่ากับ 0.81 ค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความรู้และแบบวัดความมั่นใจเท่ากับ 0.08 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสถิติทดสอบที Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24964