From this page you can:
Home |
Author details
Author พิชยภิญโญ ปาหนัน
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesOld book collection. ทฤษฎีการพยาบาลและการประยุกต์ / ปาหนัน พิชยภิญโญ / แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น - 2556
Collection Title: Old book collection Title : ทฤษฎีการพยาบาลและการประยุกต์ : บุคคล ครอบครัว และชุมชน Original title : Nursing theory and appliction individual family and community Material Type: printed text Authors: ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น Publication Date: 2556 Pagination: x, 198 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 25 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-335796-0 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ทฤษฎีการพยาบาลKeywords: ทฤษฎีการพยาบาล. Class number: WY86 ท160 2556 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23789 Old book collection. ทฤษฎีการพยาบาลและการประยุกต์ = Nursing theory and appliction individual family and community : บุคคล ครอบครัว และชุมชน [printed text] / ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - [S.l.] : แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น, 2556 . - x, 198 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 25 ซม.
ISBN : 978-6-16-335796-0
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ทฤษฎีการพยาบาลKeywords: ทฤษฎีการพยาบาล. Class number: WY86 ท160 2556 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23789 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397131 WY86 ท160 2556 c.1 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000397123 WY86 ท160 2556 c.2 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000397115 WY86 ท160 2556 c.3 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000397107 WY86 ท160 2556 Book Graduate Library Library Counter Available 32002000543221 WY86 ท160 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000397099 WY86 ท160 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000397081 WY86 ท160 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000397180 WY86 ท160 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
การพยาบาลสตรีระยะตั้งครรภ์ ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง การพยาบาลสำหรับสตรีตั้งครรภ์ กาญจนา ศรีสวัสดิ์ สูติศาสตร์ระยะคลอด ศศิธร พุมดวง การพยาบาลพื้นฐาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.50-62 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 [article] ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน = Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.50-62.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน Original title : Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.63-75 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 [article] ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ = Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.63-75.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 โปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 / อ้อ พรมดี in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : โปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 : ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ Original title : Chronic kidney disease preventing program among uncontrolled diabetic patients Material Type: printed text Authors: อ้อ พรมดี, Author ; วีณา เที่ยงธรรม, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.102-117 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.102-117Keywords: ผู่ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. การป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง. ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรค.แรงสนับสนุนทางสังคม. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยอายุระหว่าง 40-60 ปี ที่มาตรวจรักษาที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวนกลุ่มละ 30 คน ทดลองระยะเวลา 2 สัปดาห์
เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถามในระยะก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง และระยะติดตามผล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความรุนแรงของภาวะไตวายเรื้อรังดีขึ้นกว่ากลุ่มการทดลอง และดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ (p-value<0.05)
ข้อเสนอแนะ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวร่วมกับการให้แรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลในครอบครัว สามารถทำให้ผูัป่วยมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังดีขึ้น ซึ่งสามารถนำไปปประยุกต์ใช้กับประชาชนที่มีลักษณะใกล้เคียงกันได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26873 [article] โปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 = Chronic kidney disease preventing program among uncontrolled diabetic patients : ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ [printed text] / อ้อ พรมดี, Author ; วีณา เที่ยงธรรม, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.102-117.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.102-117Keywords: ผู่ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. การป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง. ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรค.แรงสนับสนุนทางสังคม. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยอายุระหว่าง 40-60 ปี ที่มาตรวจรักษาที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวนกลุ่มละ 30 คน ทดลองระยะเวลา 2 สัปดาห์
เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถามในระยะก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง และระยะติดตามผล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความรุนแรงของภาวะไตวายเรื้อรังดีขึ้นกว่ากลุ่มการทดลอง และดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ (p-value<0.05)
ข้อเสนอแนะ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวร่วมกับการให้แรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลในครอบครัว สามารถทำให้ผูัป่วยมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังดีขึ้น ซึ่งสามารถนำไปปประยุกต์ใช้กับประชาชนที่มีลักษณะใกล้เคียงกันได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26873