From this page you can:
Home |
Author details
Author วีณา จีระแพทย์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด / เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์ / กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์ - 2554
Title : การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด Material Type: printed text Authors: เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์ ; วีณา จีระแพทย์ Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 (ฉบับปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติม) Publisher: กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 221 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-13-3349-3 General note: School of Nursing Descriptors: [LCSH]ทารกแรกเกิด--สุขภาพและอนามัย--การประเมิน Class number: RJ251 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21590 การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด [printed text] / เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์ ; วีณา จีระแพทย์ . - พิมพ์ครั้งที่ 3 (ฉบับปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติม) . - กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, 2554 . - 221 หน้า : ภาพประกอบ.
ISBN : 978-974-13-3349-3
School of Nursing
Descriptors: [LCSH]ทารกแรกเกิด--สุขภาพและอนามัย--การประเมิน Class number: RJ251 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21590 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000339612 RJ251 ก768 2554 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000339604 RJ251 ก768 2554 c.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000339638 RJ251 ก768 2554 c.4 Book Main Library General Shelf Available 32002000339620 RJ251 ก768 2554 c.5 Book Main Library General Shelf Available 32002000380632 RJ251 ก768 2554 Book Main Library Library Counter Available การบริหารความปลอดภัยของผู้ป่วย / วีณา จีระแพทย์ ; เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์ / กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์ - 2555
Title : การบริหารความปลอดภัยของผู้ป่วย : แนวคิด กระบวนการ และแนวปฏิบัติความปลอดภัยทางคลินิก / Material Type: printed text Authors: วีณา จีระแพทย์ ; เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์ Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3. Publisher: กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์ Publication Date: 2555 Pagination: 342 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-619-179-1 Price: 490.00 Languages : English (eng) Class number: RA971 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22879 การบริหารความปลอดภัยของผู้ป่วย : แนวคิด กระบวนการ และแนวปฏิบัติความปลอดภัยทางคลินิก / [printed text] / วีณา จีระแพทย์ ; เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์ . - พิมพ์ครั้งที่ 3. . - กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, 2555 . - 342 หน้า : ภาพประกอบ.
ISBN : 978-974-619-179-1 : 490.00
Languages : English (eng)
Class number: RA971 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22879 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000350528 RA971 ก459 2555 Book Main Library General Shelf Available การประเมินภาวะ / เกรียงศีกดิ์ จีระแพทย์ / กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2565
Title : การประเมินภาวะ : สุขภาพทารกแรกเกิด Material Type: printed text Authors: เกรียงศีกดิ์ จีระแพทย์, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 4 (ฉบับปรับปรุง) Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2565 Pagination: 219 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-593371-1 Price: 750.00 General note: รางวัลตำราศิริราชพยาบาล ฉบับปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติม. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ทารกแรกเกิด -- การตรวจร่างกาย
[NLM]ทารกแรกเกิด -- การประเมินภาวะสุขภาพ
[NLM]ทารกแรกเกิด -- สุขภาพ และอนามัยClass number: WS141 ก768ก 2565 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28556 การประเมินภาวะ : สุขภาพทารกแรกเกิด [printed text] / เกรียงศีกดิ์ จีระแพทย์, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 4 (ฉบับปรับปรุง) . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565 . - 219 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-6-16-593371-1 : 750.00
รางวัลตำราศิริราชพยาบาล ฉบับปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติม.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ทารกแรกเกิด -- การตรวจร่างกาย
[NLM]ทารกแรกเกิด -- การประเมินภาวะสุขภาพ
[NLM]ทารกแรกเกิด -- สุขภาพ และอนามัยClass number: WS141 ก768ก 2565 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28556 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000609104 WS141 ก768ก 2565 C.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000609105 WS141 ก768ก 2565 C.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000609106 WS141 ก768ก 2565 C.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000609107 WS141 ก768ก 2565 C.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000609108 WS141 ก768ก 2565 C.5 Book Main Library Nursing Shelf Available การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด / เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์ / กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์ - 2554
Title : การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด Material Type: printed text Authors: เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 (ฉบับปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม) Publisher: กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 221 หน้า Layout: ภาพประกอบ. Size: 23 ซม. ISBN (or other code): 9789741333498 Price: 420.00 General note: ได้รับรางวัลตำราศิริราช-มหิดล Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตรวจร่างกาย -- ในวัยทารกและวัยเด็ก
[LCSH]ทารกแรกเกิด
[LCSH]สุขภาพ -- การประเมินClass number: WS420 ก491 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25467 การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด [printed text] / เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 3 (ฉบับปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม) . - กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, 2554 . - 221 หน้า : ภาพประกอบ. ; 23 ซม.
ISSN : 9789741333498 : 420.00
ได้รับรางวัลตำราศิริราช-มหิดล
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตรวจร่างกาย -- ในวัยทารกและวัยเด็ก
[LCSH]ทารกแรกเกิด
[LCSH]สุขภาพ -- การประเมินClass number: WS420 ก491 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25467 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000501914 WS420 ก491 2554 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000501922 WS420 ก491 2554 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000501930 WS420 ก491 2554 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000501948 WS420 ก491 2554 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000501955 WS420 ก491 2554 c.5 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
การพยาบาลสำหรับสตรีตั้งครรภ์ กาญจนา ศรีสวัสดิ์ การพยาบาลพื้นฐาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น วราภรณ์ บุญเชียง การพยาบาลสตรีระยะตั้งครรภ์ ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน / โสภา ตั้งทีฆกูล in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน Original title : The effect of integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in community Material Type: printed text Authors: โสภา ตั้งทีฆกูล, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.133-147 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.133-147Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิต ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศร้า.Perceived stressful life event. Depression. Depressive disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน
วิธีดำเนินการ: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 20-59 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่ให้มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุ เพศ และคะแนนภาวะซึมเศร้า จากนั้นได้รับการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน 2) แบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และ 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ซึ่งโปรแกรมฯ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที
ผลการศึกษา: 1) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 29.442, p < .05) 2) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 12.668, p <.05).
Objective: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to determine the effect of the integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in the community.
Method: The subjects were 40 patients diagnosed with depressive disorder, aged of 20-59 years, at the psychiatric clinic, out-patient department of a community hospital. They were matched pairs by sex, similar age and depression scores and then randomly assigned into the experimental and control groups, 20 subjects in each group. The experimental group received the integrated perceived stressful life event management program whereas the control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the integrated perceived stressful life event management program, life stress event questionnaire and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression. The integrated perceived stressful life event management program was validated for content validity by 5 professional experts. Reliability of the life stress event and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression were reported by Cronbach,s Alpha coefficient as of .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent and independent t-tests.
Results:1) The depression of patients with depressive disorder in the community after receiving the integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that before (t = 29.442, p < .05) 2) The depression of depressive disorder patients in the community after received integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that of those who receiving routine nursing care (t = 12.668, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27476 [article] ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน = The effect of integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in community [printed text] / โสภา ตั้งทีฆกูล, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.133-147.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.133-147Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิต ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศร้า.Perceived stressful life event. Depression. Depressive disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน
วิธีดำเนินการ: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 20-59 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่ให้มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุ เพศ และคะแนนภาวะซึมเศร้า จากนั้นได้รับการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน 2) แบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และ 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ซึ่งโปรแกรมฯ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที
ผลการศึกษา: 1) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 29.442, p < .05) 2) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 12.668, p <.05).
Objective: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to determine the effect of the integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in the community.
Method: The subjects were 40 patients diagnosed with depressive disorder, aged of 20-59 years, at the psychiatric clinic, out-patient department of a community hospital. They were matched pairs by sex, similar age and depression scores and then randomly assigned into the experimental and control groups, 20 subjects in each group. The experimental group received the integrated perceived stressful life event management program whereas the control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the integrated perceived stressful life event management program, life stress event questionnaire and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression. The integrated perceived stressful life event management program was validated for content validity by 5 professional experts. Reliability of the life stress event and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression were reported by Cronbach,s Alpha coefficient as of .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent and independent t-tests.
Results:1) The depression of patients with depressive disorder in the community after receiving the integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that before (t = 29.442, p < .05) 2) The depression of depressive disorder patients in the community after received integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that of those who receiving routine nursing care (t = 12.668, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27476 ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน Original title : Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in Material Type: printed text Authors: ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.36-51 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม = Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน [printed text] / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.36-51.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 สารสนเทศทางการพยาบาลและทางสุขภาพ / วีณา จีระแพทย์ ; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : สารสนเทศทางการพยาบาลและทางสุขภาพ Material Type: printed text Authors: วีณา จีระแพทย์ ; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: 255 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 974-13-1388-8 Price: 220.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ -- การพยาบาล
[LCSH]ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ -- สุขภาพ
[LCSH]สารสนเทศทางการพยาบาลKeywords: สารสนเทศทางการพยาบาล Class number: RT50.5 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22856 สารสนเทศทางการพยาบาลและทางสุขภาพ [printed text] / วีณา จีระแพทย์ ; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - 255 หน้า : ภาพประกอบ.
ISBN : 974-13-1388-8 : 220.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ -- การพยาบาล
[LCSH]ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ -- สุขภาพ
[LCSH]สารสนเทศทางการพยาบาลKeywords: สารสนเทศทางการพยาบาล Class number: RT50.5 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22856 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000350452 RT50.5 ส674 2544 Book Main Library Library Counter Not for loan หลักการการดูแลทารกแรกเกิดขั้นพื้นฐาน / เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์ / สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข - 2545
Title : หลักการการดูแลทารกแรกเกิดขั้นพื้นฐาน Original title : Principle of basic newborn care Material Type: printed text Authors: เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2545 Pagination: [ก-ซ] 133 หน้า Layout: ภาพประกอบสี Size: 29 ซม ISBN (or other code): 978-974-050-197-4 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ทารกแรกเกิด
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแลKeywords: ทารกแรกเกิด Class number: RJ253 ห321 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22954 หลักการการดูแลทารกแรกเกิดขั้นพื้นฐาน = Principle of basic newborn care [printed text] / เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2545 . - [ก-ซ] 133 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-050-197-4 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ทารกแรกเกิด
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแลKeywords: ทารกแรกเกิด Class number: RJ253 ห321 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22954 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000352383 RJ253 ห321 2545 Book Main Library Library Counter Not for loan