From this page you can:
Home |
Author details
Author รอดลอยทุกข์ ปาลพล
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU IS. การศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง / ศิริวดี ไกรสโมสร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS Title : การศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง Original title : A Study of the Behavioral Acceptability in Cashless Society of Middle-aged Persons Material Type: printed text Authors: ศิริวดี ไกรสโมสร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 44 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมมนุษย์
[LCSH]พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Keywords: สังคมไร้เงินสด,
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง และพฤติกรรมในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางที่ส่งผลต่อการไม่ยอมรับสังคมไร้เงินสด ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมสำคัญของกลุ่มเป้าหมายที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
การศึกษาใช้วิธีการทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาเพื่อศึกษาลักษระทางประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ และเหตุผลที่ส่งต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสด ของวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง ผู้วิจัยเลือกกลุ่มเป้าหมายคือ วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง ที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัท/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน/ธุรกิจส่วนตัว หรือ อื่น ๆ และมีอายุระหว่าง 35 – 60 ปี ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า พฤติกรรมที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง มี 3 ส่วน โดยแบ่งเป็นส่วนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ และรายได้เฉลี่ยรวมต่อเดือน ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสด ได้แก่ รูปแบบ และความถี่ของทำธุรกรรมทางการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนที่ 3 ความคิดเห็นที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนกลางได้แก่ ทัศนคติ ประโยชน์ ความเชื่อมั่นและความปลอดภัยในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 ส่วน พบว่าพฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27857 SIU IS. การศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง = A Study of the Behavioral Acceptability in Cashless Society of Middle-aged Persons [printed text] / ศิริวดี ไกรสโมสร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 44 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมมนุษย์
[LCSH]พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Keywords: สังคมไร้เงินสด,
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง และพฤติกรรมในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางที่ส่งผลต่อการไม่ยอมรับสังคมไร้เงินสด ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมสำคัญของกลุ่มเป้าหมายที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
การศึกษาใช้วิธีการทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาเพื่อศึกษาลักษระทางประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ และเหตุผลที่ส่งต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสด ของวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง ผู้วิจัยเลือกกลุ่มเป้าหมายคือ วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง ที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัท/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน/ธุรกิจส่วนตัว หรือ อื่น ๆ และมีอายุระหว่าง 35 – 60 ปี ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า พฤติกรรมที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง มี 3 ส่วน โดยแบ่งเป็นส่วนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ และรายได้เฉลี่ยรวมต่อเดือน ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสด ได้แก่ รูปแบบ และความถี่ของทำธุรกรรมทางการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนที่ 3 ความคิดเห็นที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนกลางได้แก่ ทัศนคติ ประโยชน์ ความเชื่อมั่นและความปลอดภัยในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 ส่วน พบว่าพฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27857 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598365 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598480 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย / กรฎา บุตรชน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย Original title : Development of the Model for Teaching and Learning Thai Chess through www.playok.com Case Study: Board Game Clubs in Thai Universities Material Type: printed text Authors: กรฎา บุตรชน, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xv, 91 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]หมากรุกไทยKeywords: การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย,
ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทยAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของผู้เล่นหมากรุกไทย
ที่มีความต้องการูปแบบการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 2) เพื่อกระตุ้นอาจารย์ นักศึกษา เกิดความสนใจในการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้รูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย และ 3) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหมากรุกไทยของผู้สอน โดยรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เรียนชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 5 สถาบัน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t- test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way analysis of variance--ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
ด้านลักษณะประชากร พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ช่วงอายุ 20-24 ปี เรียนปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา นับถือศาสนาพุทธ
ด้านพฤติกรรม ส่วนใหญ่เล่นหมากรุกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่เล่นผ่านเว็บ www.playok.com นาน ๆ ครั้ง ในแต่ละครั้ง 1-2 ชั่วโมง ช่วงเวลา 18.01-20.00 น. บุคคลที่เล่นด้วยมากสุด คือ เพื่อน/รุ่นพี่/รุ่นน้อง
ด้านความสนใจนิยมเล่นเพราะสนุกสนาน ประสบการณ์เล่นหมากรุกไทย 1-2 ปี มีพัฒนาการในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าช่วยให้พัฒนาฝีมือขึ้น ถ้าฝึกซ้อมผ่านเว็บ www.playok.com และส่วนใหญ่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาลัย ผลการแข่งขันอยู่ในระดับดีมาก
ด้านเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอน พบว่า ส่วนใหญ่ควรเสริมความรู้ และเพิ่มหัวข้อ ด้านการเปิดหมาก ในแต่ละครั้งควรฝึกซ้อม นานมากกว่า 6 ชั่วโมง และควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ด้านการบันทึกหมากและวิเคราะห์เกมของท่านหลังฝึกซ้อมเสร็จ และนำบันทึกหมากที่เหมาะกับสไตล์ของท่านมาฝึกฝน
ด้านการจัดกิจกรรการเรียนการสอน ผู้เรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับฝีมือ เริ่มต้น-ปานกลาง รองลงมา ดี-ดีมาก
ระดับฝีมือเริ่มต้น-ปานกลาง ข้อที่มากที่สุดคือ การทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ การฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ การนำเสนอภาพประกอบการเล่น เช่น
รูปหมากต่าง ๆ เป็นต้น
ระดับฝีมือดี-ดีมาก ข้อที่มากที่สุดคือ ปัจจัยด้านการทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ ปัจจัยด้านเว็บไซด์มีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนออนไลน์จะได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ก็ไม่สามารถทดแทนการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวได้หรือการฝึกในรูปแบบชมรมที่มีการพบปะกันอย่างสม่ำเสมอ แต่สามารถควบคู่ไปในทิศทางเดียวกันได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27447 SIU IS-T. การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย = Development of the Model for Teaching and Learning Thai Chess through www.playok.com Case Study: Board Game Clubs in Thai Universities [printed text] / กรฎา บุตรชน, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xv, 91 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]หมากรุกไทยKeywords: การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย,
ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทยAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของผู้เล่นหมากรุกไทย
ที่มีความต้องการูปแบบการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 2) เพื่อกระตุ้นอาจารย์ นักศึกษา เกิดความสนใจในการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้รูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย และ 3) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหมากรุกไทยของผู้สอน โดยรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เรียนชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 5 สถาบัน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t- test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way analysis of variance--ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
ด้านลักษณะประชากร พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ช่วงอายุ 20-24 ปี เรียนปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา นับถือศาสนาพุทธ
ด้านพฤติกรรม ส่วนใหญ่เล่นหมากรุกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่เล่นผ่านเว็บ www.playok.com นาน ๆ ครั้ง ในแต่ละครั้ง 1-2 ชั่วโมง ช่วงเวลา 18.01-20.00 น. บุคคลที่เล่นด้วยมากสุด คือ เพื่อน/รุ่นพี่/รุ่นน้อง
ด้านความสนใจนิยมเล่นเพราะสนุกสนาน ประสบการณ์เล่นหมากรุกไทย 1-2 ปี มีพัฒนาการในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าช่วยให้พัฒนาฝีมือขึ้น ถ้าฝึกซ้อมผ่านเว็บ www.playok.com และส่วนใหญ่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาลัย ผลการแข่งขันอยู่ในระดับดีมาก
ด้านเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอน พบว่า ส่วนใหญ่ควรเสริมความรู้ และเพิ่มหัวข้อ ด้านการเปิดหมาก ในแต่ละครั้งควรฝึกซ้อม นานมากกว่า 6 ชั่วโมง และควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ด้านการบันทึกหมากและวิเคราะห์เกมของท่านหลังฝึกซ้อมเสร็จ และนำบันทึกหมากที่เหมาะกับสไตล์ของท่านมาฝึกฝน
ด้านการจัดกิจกรรการเรียนการสอน ผู้เรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับฝีมือ เริ่มต้น-ปานกลาง รองลงมา ดี-ดีมาก
ระดับฝีมือเริ่มต้น-ปานกลาง ข้อที่มากที่สุดคือ การทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ การฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ การนำเสนอภาพประกอบการเล่น เช่น
รูปหมากต่าง ๆ เป็นต้น
ระดับฝีมือดี-ดีมาก ข้อที่มากที่สุดคือ ปัจจัยด้านการทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ ปัจจัยด้านเว็บไซด์มีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนออนไลน์จะได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ก็ไม่สามารถทดแทนการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวได้หรือการฝึกในรูปแบบชมรมที่มีการพบปะกันอย่างสม่ำเสมอ แต่สามารถควบคู่ไปในทิศทางเดียวกันได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27447 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595775 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595783 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การยอมรับนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยที่ต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ : กรณีศึกษาผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ / ปัญจรัตน์ หาญพานิช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การยอมรับนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยที่ต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ : กรณีศึกษาผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ Original title : Adoption of Internet of Things by the Elderly for Health Care for Health Care Android Platform: Case Study of Aging in Samutprakarn province Material Type: printed text Authors: ปัญจรัตน์ หาญพานิช, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 72 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-02
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นวัตกรรม
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย -- สมุทรปราการKeywords: สูงวัย, เบบี้บูมเมอร์, สุขภาพ, อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง, แอนดรอยด์, การยอมรับ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทราบถึงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของ
ผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 2) เพื่อทราบถึงความต้องการในการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 4) เพื่อทราบถึงความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย โดยกลุ่มตัวอย่างคือประชากรผู้สูงวัยทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ใน 23 อำเภอของจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 400 คน
ผลของการศึกษาพบว่า 1) ทราบถึงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าผู้สูงอายุส่วนมากมีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบเป็นครั้งคราว คิดเป็นร้อยละ 38.0 รองลงมาคือใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแต่ไม่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เนื่องจากกลัวสิ้นเปลือง 2) พบความต้องการในการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 75.6 3) พบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าไม่ว่าจะเป็นเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ ไม่ใช่ปัจจัยที่จะทำให้ผู้สูงวัยมีการยอมรับการใช้เทคโนโลยี และจากการสัมภาษณ์ผู้สูงวัยทำให้ผู้วิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยี คือ ลูก-หลานที่เป็นผู้จัดหา และจัดการให้ผู้สูงวัยได้ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 4) ทราบถึงความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย คือต้องการให้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์มีระบบแจ้งเตือนไปยังญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน และความต้องการให้มีระบบเตือนความจำ เช่น วันเกิด ทานยา ทานข้าว นัดหมาย ซึ่งจากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้สูงวัยบางท่านเริ่มมีสุขภาพไม่ค่อยดี จึงทำให้เกิดความกังวลว่าเมื่อมีเหตุร้ายอะไรเกิดขึ้นก็ขอให้มีการแจ้งเตือนไปบอกเพื่อจะได้รีบพาไปพบแพทย์ และผู้สูงวัยบางท่านอาจจะมีอาการหลงลืม ต้องการตัวช่วยในเรื่องของการแจ้งเตือน
จากสมมุติฐานในการวิจัย พบว่า 1) ระดับความรู้และความเข้าใจของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพได้มากขึ้นนั้น พบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยด้านการศึกษา ไม่มีผลต่อการยอมรับการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับการยอมรับนวัตกรรมเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพพบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ ไม่ได้มีผลต่อการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ต มีการยอมรับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ตมีการยอมรับ และให้ความเชื่อมั่นในเทคโนโลยี ตามผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผู้สูงวัยที่มีการยอมรับเทคโนโลยี Internet of Things กับระดับการยอมรับ โดยใช้สถิติ Chi-Square Test (X 2) ด้วยวิธีของ Pearson Chi-Square และค่า Exact ในการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยค่า Chi-Square ตามวิธีของ Pearson พบว่าเป็นความถี่ที่คาดหวังที่
มีค่าน้อยกว่า 5 ซึ่งมีอยู่จำนวน 2 เซลล์คิดเป็น 33.3% ของเซลล์ทั้งหมด และค่าความถี่ที่คาดหวังต่ำสุดคือ 2.27 4) กลุ่มผู้สูงอายุที่ยอมรับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมีความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพในวัตถุประสงค์ในการพูดคุยมากที่สุด จากการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจความต้องการใช้แพลตฟอร์มเพื่อดูแลสุขภาพในรูปแบบต่าง ๆ ได้ทำการจำแนกตามเพศเอาไว้ พบว่าค่า P-value ของความต้องการให้มีการแจ้งเตือนไปยังญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินกับตนเอง = 0.87 > 0.05 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความต้องการให้มีระบบเตือนความจำ เช่น วันเกิด ทานยา ทานข้าว นัดหมาย = 0.83 > 0.05 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27964 SIU THE-T. การยอมรับนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยที่ต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ : กรณีศึกษาผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ = Adoption of Internet of Things by the Elderly for Health Care for Health Care Android Platform: Case Study of Aging in Samutprakarn province [printed text] / ปัญจรัตน์ หาญพานิช, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 72 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-02
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นวัตกรรม
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย -- สมุทรปราการKeywords: สูงวัย, เบบี้บูมเมอร์, สุขภาพ, อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง, แอนดรอยด์, การยอมรับ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทราบถึงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของ
ผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 2) เพื่อทราบถึงความต้องการในการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 4) เพื่อทราบถึงความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย โดยกลุ่มตัวอย่างคือประชากรผู้สูงวัยทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ใน 23 อำเภอของจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 400 คน
ผลของการศึกษาพบว่า 1) ทราบถึงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าผู้สูงอายุส่วนมากมีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบเป็นครั้งคราว คิดเป็นร้อยละ 38.0 รองลงมาคือใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแต่ไม่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เนื่องจากกลัวสิ้นเปลือง 2) พบความต้องการในการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 75.6 3) พบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าไม่ว่าจะเป็นเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ ไม่ใช่ปัจจัยที่จะทำให้ผู้สูงวัยมีการยอมรับการใช้เทคโนโลยี และจากการสัมภาษณ์ผู้สูงวัยทำให้ผู้วิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยี คือ ลูก-หลานที่เป็นผู้จัดหา และจัดการให้ผู้สูงวัยได้ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 4) ทราบถึงความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย คือต้องการให้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์มีระบบแจ้งเตือนไปยังญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน และความต้องการให้มีระบบเตือนความจำ เช่น วันเกิด ทานยา ทานข้าว นัดหมาย ซึ่งจากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้สูงวัยบางท่านเริ่มมีสุขภาพไม่ค่อยดี จึงทำให้เกิดความกังวลว่าเมื่อมีเหตุร้ายอะไรเกิดขึ้นก็ขอให้มีการแจ้งเตือนไปบอกเพื่อจะได้รีบพาไปพบแพทย์ และผู้สูงวัยบางท่านอาจจะมีอาการหลงลืม ต้องการตัวช่วยในเรื่องของการแจ้งเตือน
จากสมมุติฐานในการวิจัย พบว่า 1) ระดับความรู้และความเข้าใจของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพได้มากขึ้นนั้น พบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยด้านการศึกษา ไม่มีผลต่อการยอมรับการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับการยอมรับนวัตกรรมเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพพบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ ไม่ได้มีผลต่อการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ต มีการยอมรับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ตมีการยอมรับ และให้ความเชื่อมั่นในเทคโนโลยี ตามผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผู้สูงวัยที่มีการยอมรับเทคโนโลยี Internet of Things กับระดับการยอมรับ โดยใช้สถิติ Chi-Square Test (X 2) ด้วยวิธีของ Pearson Chi-Square และค่า Exact ในการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยค่า Chi-Square ตามวิธีของ Pearson พบว่าเป็นความถี่ที่คาดหวังที่
มีค่าน้อยกว่า 5 ซึ่งมีอยู่จำนวน 2 เซลล์คิดเป็น 33.3% ของเซลล์ทั้งหมด และค่าความถี่ที่คาดหวังต่ำสุดคือ 2.27 4) กลุ่มผู้สูงอายุที่ยอมรับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมีความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพในวัตถุประสงค์ในการพูดคุยมากที่สุด จากการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจความต้องการใช้แพลตฟอร์มเพื่อดูแลสุขภาพในรูปแบบต่าง ๆ ได้ทำการจำแนกตามเพศเอาไว้ พบว่าค่า P-value ของความต้องการให้มีการแจ้งเตือนไปยังญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินกับตนเอง = 0.87 > 0.05 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความต้องการให้มีระบบเตือนความจำ เช่น วันเกิด ทานยา ทานข้าว นัดหมาย = 0.83 > 0.05 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27964 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607479 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607480 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ / ปภัสร จันทร์อร่าม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ Original title : Measurement and Evaluation of Satisfaction of Facebook Website Visitors with the ACSI Model Material Type: printed text Authors: ปภัสร จันทร์อร่าม, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 58 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความพอใจ
[LCSH]เฟซบุ๊ค -- การวิเคราะห์
[LCSH]เว็บไซต์ -- การประเมินKeywords: การวัดและประเมินผล,
ความพึงพอใจ,
เว็บไซต์เฟซบุ๊ก,
แบบจำลอง เอ ซี เอส ไอAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคล และศึกษาระดับความพึงพอใจของ ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ ในปัจจัย 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังของลูกค้า ด้านคุณภาพของสินค้า ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ เครื่องมือที่ใช้สำหรับงานวิจัย คือ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจชองผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 26 - 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้มากกว่า 15,000 – 35,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านความคาดหวัง พบว่า มีร้านค้าที่ขายสินค้าอยู่จริง สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ได้พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณภาพ พบว่า มีคุณภาพสินค้าตรงตามที่ให้ข้อมูลไว้ สามารถออกความคิดเห็น ติชม หรือร้องเรียนต่อคุณภาพสินค้าได้ พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้บริโภค พบว่า มีการตอบสนองต่อการสื่อสารที่รวดเร็วในด้านข้อมูลของสินค้า ผู้ใช้บริการนิยมใช้บริการ เฟซบุ๊ก มีความสะดวกในการหาข้อมูลของสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กมีทิศทางด้านบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการ โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก (Mean = 4.01 และ S.D. = 0.76) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ เพศ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณภาพ ระดับการศึกษา แตกต่างกันด้านคุณภาพ อาชีพ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ รายได้ แตกต่างกัน ด้านคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BSCS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27268 SIU THE-T. การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ = Measurement and Evaluation of Satisfaction of Facebook Website Visitors with the ACSI Model [printed text] / ปภัสร จันทร์อร่าม, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 58 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความพอใจ
[LCSH]เฟซบุ๊ค -- การวิเคราะห์
[LCSH]เว็บไซต์ -- การประเมินKeywords: การวัดและประเมินผล,
ความพึงพอใจ,
เว็บไซต์เฟซบุ๊ก,
แบบจำลอง เอ ซี เอส ไอAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคล และศึกษาระดับความพึงพอใจของ ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ ในปัจจัย 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังของลูกค้า ด้านคุณภาพของสินค้า ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ เครื่องมือที่ใช้สำหรับงานวิจัย คือ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจชองผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 26 - 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้มากกว่า 15,000 – 35,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านความคาดหวัง พบว่า มีร้านค้าที่ขายสินค้าอยู่จริง สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ได้พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณภาพ พบว่า มีคุณภาพสินค้าตรงตามที่ให้ข้อมูลไว้ สามารถออกความคิดเห็น ติชม หรือร้องเรียนต่อคุณภาพสินค้าได้ พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้บริโภค พบว่า มีการตอบสนองต่อการสื่อสารที่รวดเร็วในด้านข้อมูลของสินค้า ผู้ใช้บริการนิยมใช้บริการ เฟซบุ๊ก มีความสะดวกในการหาข้อมูลของสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กมีทิศทางด้านบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการ โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก (Mean = 4.01 และ S.D. = 0.76) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ เพศ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณภาพ ระดับการศึกษา แตกต่างกันด้านคุณภาพ อาชีพ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ รายได้ แตกต่างกัน ด้านคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BSCS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27268 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594901 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594893 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา / พาณี ชูบุญทรัพย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา Original title : Improvement of Business Process Management in Student Admission, Registration and Payment Processes Material Type: printed text Authors: พาณี ชูบุญทรัพย์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vi, 40 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-02
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สถาบันอุดมศึกษา -- การรับนักศึกษา Keywords: การรับนักศึกษา,
การลงทะเบียน,
การชำระค่าลงทะเบียนAbstract: การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการทำงานด้านการรับนักศึกษา ประกอบด้วย 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การรับนักศึกษา การลงทะเบียน และการชำระค่าลงทะเบียน ซึ่งเป็นข้อมูลตั้งต้นที่สำคัญ และเป็นกิจกรรมหลักสำคัญที่จำเป็นต้องใช้ตลอดหลักสูตรจนกระทั่งสำเร็จการศึกษา งานดังกล่าวมีปัญหาด้านข้อมูล ขั้นตอนการทำงาน รวมถึงการติดตามงาน โดยการวิจัยนี้จะมุ่งเน้นไปที่การศึกษา ออกแบบ และปรับปรุงกระบวนงานด้านการรับนักศึกษา ซึ่งจำเป็นต้องวิเคราะห์ถึงกระบวนการทำงานในลักษณะ Workflow หรือ แผนผังการทำงานที่ชัดเจน เพื่อให้เห็นถึงขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน รวมถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนงานด้านการรับนักศึกษา ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดียิ่งขึ้น
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27855 SIU IS-T. การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา = Improvement of Business Process Management in Student Admission, Registration and Payment Processes [printed text] / พาณี ชูบุญทรัพย์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vi, 40 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-02
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สถาบันอุดมศึกษา -- การรับนักศึกษา Keywords: การรับนักศึกษา,
การลงทะเบียน,
การชำระค่าลงทะเบียนAbstract: การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการทำงานด้านการรับนักศึกษา ประกอบด้วย 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การรับนักศึกษา การลงทะเบียน และการชำระค่าลงทะเบียน ซึ่งเป็นข้อมูลตั้งต้นที่สำคัญ และเป็นกิจกรรมหลักสำคัญที่จำเป็นต้องใช้ตลอดหลักสูตรจนกระทั่งสำเร็จการศึกษา งานดังกล่าวมีปัญหาด้านข้อมูล ขั้นตอนการทำงาน รวมถึงการติดตามงาน โดยการวิจัยนี้จะมุ่งเน้นไปที่การศึกษา ออกแบบ และปรับปรุงกระบวนงานด้านการรับนักศึกษา ซึ่งจำเป็นต้องวิเคราะห์ถึงกระบวนการทำงานในลักษณะ Workflow หรือ แผนผังการทำงานที่ชัดเจน เพื่อให้เห็นถึงขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน รวมถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนงานด้านการรับนักศึกษา ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดียิ่งขึ้น
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27855 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598340 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598464 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร / วิไลรัตน์ อารยะสมสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร Original title : A Study of the Behavioral Acceptability in Cashless Societies of Middle-aged Persons Material Type: printed text Authors: วิไลรัตน์ อารยะสมสกุล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 34 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-05
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
[LCSH]ผู้สูงอายุKeywords: สังคมไร้เงินสด,
ธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมสำคัญที่มีผลต่อการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ของวัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่ทำงานในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีดำเนินการโดยการจัดทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาเพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยคือ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ได้แก่ นักศึกษา และวัยทำงาน ที่มีอายุระหว่าง 18 - 30 ปี จำนวน 100 คน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร มี 3 ตอน โดยแบ่งเป็นตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ตอนที่ 2 พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ได้แก่ ช่องทาง ปริมาณการใช้งานช่องทางความถี่ ประเภท และเหตุผลในการทำธุรกรรมทางการเงิน และตอนที่ 3 เหตุผลการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 ตอน พบว่าพฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครCurricular : BALA/GE/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27858 SIU IS-T. การศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร = A Study of the Behavioral Acceptability in Cashless Societies of Middle-aged Persons [printed text] / วิไลรัตน์ อารยะสมสกุล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 34 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-05
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
[LCSH]ผู้สูงอายุKeywords: สังคมไร้เงินสด,
ธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมสำคัญที่มีผลต่อการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ของวัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่ทำงานในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีดำเนินการโดยการจัดทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาเพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยคือ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ได้แก่ นักศึกษา และวัยทำงาน ที่มีอายุระหว่าง 18 - 30 ปี จำนวน 100 คน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร มี 3 ตอน โดยแบ่งเป็นตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ตอนที่ 2 พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ได้แก่ ช่องทาง ปริมาณการใช้งานช่องทางความถี่ ประเภท และเหตุผลในการทำธุรกรรมทางการเงิน และตอนที่ 3 เหตุผลการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 ตอน พบว่าพฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครCurricular : BALA/GE/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27858 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598357 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-05 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598456 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การสื่อสารกับสาธารณชนเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรค ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย / ดลยา วิโรจน์วรรธนะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การสื่อสารกับสาธารณชนเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรค ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย Original title : Communication with Segments of the Public about Problems and Barriers in Disseminating Social News and Information by Digital TV Stations in Thailand Material Type: printed text Authors: ดลยา วิโรจน์วรรธนะ, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 40 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-02
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข่าว -- การนำเสนอ
[LCSH]ผู้สื่อข่าว
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ไทยKeywords: ข่าวสังคม,
ผู้สื่อข่าวสายสังคม,
สถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทยAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย 2) เพื่อเผยแพร่ปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทยแก่สาธารณชน 3) เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้สื่อข่าวสังคมของแต่ละสถานีที่มีต่อปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สื่อข่าวอาวุโส และผู้สื่อข่าวสายสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอล 3 สถานี ตามประเภทช่อง ได้แก่ ประเภทรายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง (HD), ประเภทรายการข่าวสาร และสาระ (SD) และประเภทบริการสาธารณะ ประเภท 1 สถานี จำนวน 18 คน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย มีเวลาในการทำข่าวจำกัด จึงต้องลงพื้นที่ทำงานแข่งกับเวลา และแข่งกับสื่อออนไลน์ที่เข้าถึงสาธารณชนได้รวดเร็วกว่า ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น มือถือ ขณะที่การทำข่าวสังคมเป็นประเภทข่าวที่มีเนื้อหาใกล้ตัวประชาชนมากกว่าข่าวประเภทอื่น ในกระบวนการผลิตจึงต้องอาศัยข้อมูลหลากหลายด้าน เพื่อนำข้อมูลเหล่านั้นมาเรียบเรียง เพื่อตอบโจทย์ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาของสังคม นอกจากนี้ ยังพบว่า นโยบายของสถานียังส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตข่าวก่อนออกเผยแพร่สู่สาธารณชนด้วย
Curricular : BALA/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27200 SIU IS-T. การสื่อสารกับสาธารณชนเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรค ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย = Communication with Segments of the Public about Problems and Barriers in Disseminating Social News and Information by Digital TV Stations in Thailand [printed text] / ดลยา วิโรจน์วรรธนะ, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 40 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-02
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข่าว -- การนำเสนอ
[LCSH]ผู้สื่อข่าว
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ไทยKeywords: ข่าวสังคม,
ผู้สื่อข่าวสายสังคม,
สถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทยAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย 2) เพื่อเผยแพร่ปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทยแก่สาธารณชน 3) เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้สื่อข่าวสังคมของแต่ละสถานีที่มีต่อปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สื่อข่าวอาวุโส และผู้สื่อข่าวสายสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอล 3 สถานี ตามประเภทช่อง ได้แก่ ประเภทรายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง (HD), ประเภทรายการข่าวสาร และสาระ (SD) และประเภทบริการสาธารณะ ประเภท 1 สถานี จำนวน 18 คน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย มีเวลาในการทำข่าวจำกัด จึงต้องลงพื้นที่ทำงานแข่งกับเวลา และแข่งกับสื่อออนไลน์ที่เข้าถึงสาธารณชนได้รวดเร็วกว่า ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น มือถือ ขณะที่การทำข่าวสังคมเป็นประเภทข่าวที่มีเนื้อหาใกล้ตัวประชาชนมากกว่าข่าวประเภทอื่น ในกระบวนการผลิตจึงต้องอาศัยข้อมูลหลากหลายด้าน เพื่อนำข้อมูลเหล่านั้นมาเรียบเรียง เพื่อตอบโจทย์ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาของสังคม นอกจากนี้ ยังพบว่า นโยบายของสถานียังส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตข่าวก่อนออกเผยแพร่สู่สาธารณชนด้วย
Curricular : BALA/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27200 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594489 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594430 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การสื่อสารโน้มน้าวใจเพื่อชักชวนนักลงทุน กรณีศึกษาการพัฒนาภาพยนตร์ Visual Effect (VFX) / พรรษวุฒิ เปาอินทร์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การสื่อสารโน้มน้าวใจเพื่อชักชวนนักลงทุน กรณีศึกษาการพัฒนาภาพยนตร์ Visual Effect (VFX) Original title : Persuasive Communication towards Investors: Case Study of the Development of Visual Effect (VFX) Movies Material Type: printed text Authors: พรรษวุฒิ เปาอินทร์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; สุขสวัสดิ์ ณัฐวุฒิสิทธิ์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักลงทุน -- ไทย -- การตัดสินใจ
[LCSH]ภาพยนตร์ -- การตลาด
[LCSH]ภาพยนตร์ไทย -- การพัฒนา -- สถาบันKeywords: เทคโนโลยีทันสมัย,
นักลงทุน,
ทฤษฎีการสื่อสารโน้มน้าวใจAbstract: ปัจจุบันเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทั่วโลกมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการผลิตภาพยนตร์ที่ให้ความสมจริงแล้ว การใช้เทคโนโลยี VFX มาช่วยการผลิตเพื่อลดระยะเวลาการถ่ายทำของบริษัทผลิตภาพยนตร์ สิ่งที่ทำให้เกิดการพัฒนานั่นคือเทคโนโลยีทันสมัยนั้นสามารถตอบสอบสนองจินตนาการของผู้กำกับ คนเขียนบท หรือผู้บริหารกองถ่ายทำภาพยนตร์ให้เห็นภาพ การเล่าเรื่อง และความสมจริงของภาพยนตร์เพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ดีในขอบเขตของการพัฒนาโลกทัศน์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของบริษัทที่ใช้เทคโนโลยี VFX จากทั่วโลกโดยเฉพาะฝั่งตะวันตกนั้นมีการอภิปรายเชิงลึก จนถึงการจัดหาบริบทในหัวข้อนี้
การค้นคว้าอิสระนี้ (IS) ความน่าสนใจอยู่ที่การพัฒนาแนวความคิดและกรอบแนวคิดเพื่อการลงทุนในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่จะนำเทคโนโลยี VFX เข้ามาใช้ ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์นั้นต้องมีบทบาทหรือส่วนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนที่ให้สัมภาษณ์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ประกอบด้วยผู้บริหารบริษัทภาพยนตร์ ผู้ผลิตภาพยนตร์ นักลงทุน และคนเขียนบท ซึ่งพวกเขาเหล่านั้นให้การยอมรับกับเทคโนโลยี VFX เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในการผลิตภาพยนตร์ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่ดียิ่งขึ้นในวงการภาพยนตร์ไทย สามารถบอกกล่าวได้ว่านวัตกรรมของเทคโนโลยีทันสมัยนั้นมีความจำเป็นของคนในวงการภาพยนตร์ และทำให้นักลงทุนสามารถตัดสินใจลงทุนในสิ่งที่คนในวงการภาพยนตร์ต้องการ
งานค้นคว้าอิสระนี้เป็นรากฐานของทฤษฎีการสื่อสาร(a)การโน้มน้าวใจ(b)ความเป็นผู้นำ(c)การตัดสินใจ ประกอบกับทฤษฎีการสื่อสารของมาสโลว์ หรือที่เรียกกันว่าทฤษฎีลำดับความต้องการ ค้นพบว่าลักษณะนิสัยเฉพาะของผู้นำแต่ละประเภทนั้นมีรูปแบบของการตัดสินใจ อิทธิพลของกระบวนการโน้มน้าวใจ และกลวิธีความต้องการที่จะทำให้พวกเขาเหล่านั้นสนใจร่วมลงทุนในโครงการ สิ่งที่มากกว่านั้นคือความต้องการความมั่นคง ปลอดภัยในทุกด้าน (ความเหมาะสมของเทคโนโลยีทันสมัย การปรับตัวตามสภาวะของเหตุการณ์ การฝึกอบรมบุคลากรได้อย่างมีประสิทธิผลในการใช้เทคโนโลยี ความคุ้มค่าในการลงทุนเทคโนโลยีทันสมัย) สามารถสรุปได้ว่างานค้นคว้าอิสระเกี่ยวกับ VFX นี้เป็นการเตรียมการหนทางที่จะนำไปสู่การยอมรับในวงการอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยยกระดับไปสู่สากล อย่างไรก็ตามสิ่งที่เป็นอุปสรรคด้านความขาดแคลนของนโยบาย สิ่งกระตุ้นมาสนับสนุนบริษัทผลิตภาพยนตร์ที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และความร่วมมือในการสนับสนุนของผู้ร่วมลงทุนนั้นมีไม่มากพอที่จะขับเคลื่อนอุตสาหกรรมตามที่กำหนด
Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26619 SIU IS-T. การสื่อสารโน้มน้าวใจเพื่อชักชวนนักลงทุน กรณีศึกษาการพัฒนาภาพยนตร์ Visual Effect (VFX) = Persuasive Communication towards Investors: Case Study of the Development of Visual Effect (VFX) Movies [printed text] / พรรษวุฒิ เปาอินทร์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; สุขสวัสดิ์ ณัฐวุฒิสิทธิ์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักลงทุน -- ไทย -- การตัดสินใจ
[LCSH]ภาพยนตร์ -- การตลาด
[LCSH]ภาพยนตร์ไทย -- การพัฒนา -- สถาบันKeywords: เทคโนโลยีทันสมัย,
นักลงทุน,
ทฤษฎีการสื่อสารโน้มน้าวใจAbstract: ปัจจุบันเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทั่วโลกมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการผลิตภาพยนตร์ที่ให้ความสมจริงแล้ว การใช้เทคโนโลยี VFX มาช่วยการผลิตเพื่อลดระยะเวลาการถ่ายทำของบริษัทผลิตภาพยนตร์ สิ่งที่ทำให้เกิดการพัฒนานั่นคือเทคโนโลยีทันสมัยนั้นสามารถตอบสอบสนองจินตนาการของผู้กำกับ คนเขียนบท หรือผู้บริหารกองถ่ายทำภาพยนตร์ให้เห็นภาพ การเล่าเรื่อง และความสมจริงของภาพยนตร์เพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ดีในขอบเขตของการพัฒนาโลกทัศน์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของบริษัทที่ใช้เทคโนโลยี VFX จากทั่วโลกโดยเฉพาะฝั่งตะวันตกนั้นมีการอภิปรายเชิงลึก จนถึงการจัดหาบริบทในหัวข้อนี้
การค้นคว้าอิสระนี้ (IS) ความน่าสนใจอยู่ที่การพัฒนาแนวความคิดและกรอบแนวคิดเพื่อการลงทุนในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่จะนำเทคโนโลยี VFX เข้ามาใช้ ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์นั้นต้องมีบทบาทหรือส่วนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนที่ให้สัมภาษณ์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ประกอบด้วยผู้บริหารบริษัทภาพยนตร์ ผู้ผลิตภาพยนตร์ นักลงทุน และคนเขียนบท ซึ่งพวกเขาเหล่านั้นให้การยอมรับกับเทคโนโลยี VFX เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในการผลิตภาพยนตร์ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่ดียิ่งขึ้นในวงการภาพยนตร์ไทย สามารถบอกกล่าวได้ว่านวัตกรรมของเทคโนโลยีทันสมัยนั้นมีความจำเป็นของคนในวงการภาพยนตร์ และทำให้นักลงทุนสามารถตัดสินใจลงทุนในสิ่งที่คนในวงการภาพยนตร์ต้องการ
งานค้นคว้าอิสระนี้เป็นรากฐานของทฤษฎีการสื่อสาร(a)การโน้มน้าวใจ(b)ความเป็นผู้นำ(c)การตัดสินใจ ประกอบกับทฤษฎีการสื่อสารของมาสโลว์ หรือที่เรียกกันว่าทฤษฎีลำดับความต้องการ ค้นพบว่าลักษณะนิสัยเฉพาะของผู้นำแต่ละประเภทนั้นมีรูปแบบของการตัดสินใจ อิทธิพลของกระบวนการโน้มน้าวใจ และกลวิธีความต้องการที่จะทำให้พวกเขาเหล่านั้นสนใจร่วมลงทุนในโครงการ สิ่งที่มากกว่านั้นคือความต้องการความมั่นคง ปลอดภัยในทุกด้าน (ความเหมาะสมของเทคโนโลยีทันสมัย การปรับตัวตามสภาวะของเหตุการณ์ การฝึกอบรมบุคลากรได้อย่างมีประสิทธิผลในการใช้เทคโนโลยี ความคุ้มค่าในการลงทุนเทคโนโลยีทันสมัย) สามารถสรุปได้ว่างานค้นคว้าอิสระเกี่ยวกับ VFX นี้เป็นการเตรียมการหนทางที่จะนำไปสู่การยอมรับในวงการอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยยกระดับไปสู่สากล อย่างไรก็ตามสิ่งที่เป็นอุปสรรคด้านความขาดแคลนของนโยบาย สิ่งกระตุ้นมาสนับสนุนบริษัทผลิตภาพยนตร์ที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และความร่วมมือในการสนับสนุนของผู้ร่วมลงทุนนั้นมีไม่มากพอที่จะขับเคลื่อนอุตสาหกรรมตามที่กำหนด
Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26619 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592657 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592681 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความคาดหวังของผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอต่อสื่อสังคมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร / อรญาฎา บุญศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความคาดหวังของผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอต่อสื่อสังคมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Expectations of Users of Wedding Studios on Social Media in Bangkok Areas Material Type: printed text Authors: อรญาฎา บุญศิริ, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xii, 77 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-05
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อสังคมออนไลน์ -- กรุงเทพฯ Keywords: ความคาดหวัง,
ผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอ,
สื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 4) เพื่อศึกษาความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ประชากรคู่แต่งงานที่เป็นผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คู่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way Analysis of Variance-ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (Multiple-Comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุ 20-30 ปี มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน 20001-30000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ
2) ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ส่วนใหญ่ตั้งใจเลือกใช้ร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงานของท่าน ตั้งใจว่าต้องใช้ร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงานเท่านั้น ใช้เวลานานเท่าใดในการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงาน คิดว่าร้านเวดดิ้งสตูดิโอ ควรให้บริการในด้านใดเพิ่มเติมจากที่ให้บริการอยู่ในปัจจุบัน และคิดว่าในภาพรวมการจัดงานแต่งงานจากร้านเวดดิ้งสตูดิโอกับจัดงานแต่งงานกันเองอย่างไหนดีกว่ากัน
3) ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ส่วนใหญ่การตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
4) การทดสอบสมมุติฐาน
4.1 การเปรียบเทียบลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า จำแนกตามอายุ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ จำแนกตามอาชีพ มีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ส่วนด้านเพศ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และด้านศาสนา พบว่า ไม่แตกต่างกัน
4.2 การเปรียบเทียบลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ไม่แตกต่างกัน
4.3 การเปรียบเทียบความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อ การตัดสินใจเลือกใช้บริการ และความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27448 SIU IS-T. ความคาดหวังของผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอต่อสื่อสังคมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร = Expectations of Users of Wedding Studios on Social Media in Bangkok Areas [printed text] / อรญาฎา บุญศิริ, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xii, 77 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-05
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อสังคมออนไลน์ -- กรุงเทพฯ Keywords: ความคาดหวัง,
ผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอ,
สื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 4) เพื่อศึกษาความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ประชากรคู่แต่งงานที่เป็นผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คู่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way Analysis of Variance-ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (Multiple-Comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุ 20-30 ปี มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน 20001-30000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ
2) ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ส่วนใหญ่ตั้งใจเลือกใช้ร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงานของท่าน ตั้งใจว่าต้องใช้ร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงานเท่านั้น ใช้เวลานานเท่าใดในการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงาน คิดว่าร้านเวดดิ้งสตูดิโอ ควรให้บริการในด้านใดเพิ่มเติมจากที่ให้บริการอยู่ในปัจจุบัน และคิดว่าในภาพรวมการจัดงานแต่งงานจากร้านเวดดิ้งสตูดิโอกับจัดงานแต่งงานกันเองอย่างไหนดีกว่ากัน
3) ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ส่วนใหญ่การตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
4) การทดสอบสมมุติฐาน
4.1 การเปรียบเทียบลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า จำแนกตามอายุ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ จำแนกตามอาชีพ มีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ส่วนด้านเพศ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และด้านศาสนา พบว่า ไม่แตกต่างกัน
4.2 การเปรียบเทียบลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ไม่แตกต่างกัน
4.3 การเปรียบเทียบความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อ การตัดสินใจเลือกใช้บริการ และความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27448 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595809 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-05 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595791 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. งานวิจัยการปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา / รัตนาภา ติษยางกูร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : งานวิจัยการปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา Original title : Improvement of Business Process Management in the Procurement and Maintenance of Educational Institutions Material Type: printed text Authors: รัตนาภา ติษยางกูร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 43 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-03
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดซื้อ
[LCSH]การบำรุงรักษา
[LCSH]สถานศึกษาKeywords: สถาบันการศึกษา,
การจัดซื้อ,
การจองห้องประชุม,
การซ่อมบำรุงAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำงานของสถาบันการศึกษาในกระบวนการจัดซื้อ กระบวนการจองห้องประชุม และกระบวนการซ่อมบำรุง เนื่องจากในปัจจุบันสถาบันการศึกษาส่วนใหญ่มีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการงานด้านต่าง ๆ มากขึ้น ทำให้ประสบปัญหาการทำงานที่ไม่สอดรับกับเทคโนโลยีที่เข้ามา การศึกษาใช้รูปแบบการศึกษาเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลบนเว็บไซต์ และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงาน ดำเนินการวิจัยโดย (1) ศึกษาขั้นตอนกระบวนการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ฝ่ายจัดซื้อและพัสดุ และฝ่ายอาคาร (2) นำเสนอกระบวนการทำงานของแต่ละกระบวนการในรูปแบบของ Workflow เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในแต่ละกระบวนการทำงาน (3) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้วยหลักการ APQC เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการทำงานของสถาบันการศึกษา
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า การปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา โดยนำแนวคิดของ Workflow มาใช้ช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการทำงานแบบ Manual ได้ เป็นการลดขั้นตอนการทำงาน ช่วยในการจัดเก็บข้อมูล และการประมวลผลออกรายงานที่จำเป็นภายในสถาบัน สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้มีความถูกต้อง แม่นยำ สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27856 SIU IS-T. งานวิจัยการปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา = Improvement of Business Process Management in the Procurement and Maintenance of Educational Institutions [printed text] / รัตนาภา ติษยางกูร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 43 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-03
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดซื้อ
[LCSH]การบำรุงรักษา
[LCSH]สถานศึกษาKeywords: สถาบันการศึกษา,
การจัดซื้อ,
การจองห้องประชุม,
การซ่อมบำรุงAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำงานของสถาบันการศึกษาในกระบวนการจัดซื้อ กระบวนการจองห้องประชุม และกระบวนการซ่อมบำรุง เนื่องจากในปัจจุบันสถาบันการศึกษาส่วนใหญ่มีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการงานด้านต่าง ๆ มากขึ้น ทำให้ประสบปัญหาการทำงานที่ไม่สอดรับกับเทคโนโลยีที่เข้ามา การศึกษาใช้รูปแบบการศึกษาเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลบนเว็บไซต์ และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงาน ดำเนินการวิจัยโดย (1) ศึกษาขั้นตอนกระบวนการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ฝ่ายจัดซื้อและพัสดุ และฝ่ายอาคาร (2) นำเสนอกระบวนการทำงานของแต่ละกระบวนการในรูปแบบของ Workflow เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในแต่ละกระบวนการทำงาน (3) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้วยหลักการ APQC เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการทำงานของสถาบันการศึกษา
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า การปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา โดยนำแนวคิดของ Workflow มาใช้ช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการทำงานแบบ Manual ได้ เป็นการลดขั้นตอนการทำงาน ช่วยในการจัดเก็บข้อมูล และการประมวลผลออกรายงานที่จำเป็นภายในสถาบัน สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้มีความถูกต้อง แม่นยำ สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27856 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598332 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598472 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท / อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท Original title : Factors Affecting the Selection of Mobile Networks of People in Bangkok Metropolis Case Study: Areas of Phayathai District Material Type: printed text Authors: อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 71 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พฤติกรรมผู้ใช้บริการKeywords: เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่,
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่,
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ของประชาชนที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนกับการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร เขตพญาไท จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (One-way analysis of variance – ANOVA) และเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ Scheffe ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-24 ปี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่มีจำนวนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้งาน 1 เครือข่าย เป็นระบบรายเดือน (Postpaid) เครือข่าย AIS และไม่เคยเปลี่ยนเครือข่ายการใช้งาน ปัจจัยที่ทำให้มีแนวโน้มการเปลี่ยนเครือข่าย คือ ประสิทธิภาพเครือข่ายที่ดีกว่า โดยระยะเวลาในการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ยต่อวัน มากกว่า 4 ชั่วโมง ใช้งานในช่วงเวลา 16.01 – 21.00 น. ค่าใช้บริการเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 501 – 1,000 บาท กิจกรรมที่ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้งานสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ คือตนเอง ส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถเรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิภาพสัญญาณ รองลงมา คือ ด้านความสะดวกและการให้บริการ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านภาพลักษณ์ของเครือข่ายผู้ให้บริการ ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27449 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท = Factors Affecting the Selection of Mobile Networks of People in Bangkok Metropolis Case Study: Areas of Phayathai District [printed text] / อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 71 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พฤติกรรมผู้ใช้บริการKeywords: เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่,
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่,
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ของประชาชนที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนกับการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร เขตพญาไท จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (One-way analysis of variance – ANOVA) และเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ Scheffe ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-24 ปี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่มีจำนวนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้งาน 1 เครือข่าย เป็นระบบรายเดือน (Postpaid) เครือข่าย AIS และไม่เคยเปลี่ยนเครือข่ายการใช้งาน ปัจจัยที่ทำให้มีแนวโน้มการเปลี่ยนเครือข่าย คือ ประสิทธิภาพเครือข่ายที่ดีกว่า โดยระยะเวลาในการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ยต่อวัน มากกว่า 4 ชั่วโมง ใช้งานในช่วงเวลา 16.01 – 21.00 น. ค่าใช้บริการเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 501 – 1,000 บาท กิจกรรมที่ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้งานสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ คือตนเอง ส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถเรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิภาพสัญญาณ รองลงมา คือ ด้านความสะดวกและการให้บริการ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านภาพลักษณ์ของเครือข่ายผู้ให้บริการ ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27449 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595817 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595825 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. พฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร / สาลินี จันทวงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : พฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร Original title : Behaviors of Purchasing On-Line Game Products and Using Game Services on Smartphones by Teenagers Who Study in Areas in Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: สาลินี จันทวงศ์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 56 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-07
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- กรุงเทพฯ
[LCSH]เกมออนไลน์Keywords: ผู้ผลิตเกมออนไลน์,
พฤติกรรมซื้อสินค้าในเกม,
บริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของวัยรุ่นต่อการเล่นเกมบนโทรศัพท์
เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสนใจของการเลือกซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร การทำวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรวัยรุ่นที่มีอายุ 18-23 ปีที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครและเล่นเกมออนไลน์เป็นประจำจำนวน 400 คนโดยแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจำนวน 400 ชุด ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย นับถือศาสนาพุทธ เป็นช่วงอายุ 18-19 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 1-3 คน ผู้ปกครองอาชีพมีอาชีพรับจ้าง ผู้ปกครองมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 - 40,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เล่นเกม RPG (เก็บเลเวล) มีแรงบันดาลใจจากการเล่นตามเพื่อนมากที่สุด และมีปัจจัยที่ดึงดูดในเกมคือเนื้อหามากที่สุด จะเล่นเกมตามความสนใจของตนเองมากที่สุด ชื่นชอบการออกแบบการพัฒนาการของตัวละครและสนใจระบบซื้อของเพื่อพัฒนาตัวละครมากที่สุด และอยากให้บริษัทผู้ผลิตเกมออนไลน์พัฒนาภาพที่แสดงสมจริงมากขึ้น
วัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร มีพฤติกรรมซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
อยู่ในระดับสูงที่สุด คือ คาดหวังก่อนซื้อของในเกมเสมอ มีขอบเขตในการเลือกซื้อของในเกม และวางแผนการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อของในเกมทุกครั้ง มีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับสูง
ส่วนระดับพฤติกรรมซื้อสินค้าและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่ในระดับต่ำที่สุด คือ เลือกซื้อของในเกมตามกระแสนิยมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27450 SIU IS-T. พฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร = Behaviors of Purchasing On-Line Game Products and Using Game Services on Smartphones by Teenagers Who Study in Areas in Bangkok Metropolis [printed text] / สาลินี จันทวงศ์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 56 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-07
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- กรุงเทพฯ
[LCSH]เกมออนไลน์Keywords: ผู้ผลิตเกมออนไลน์,
พฤติกรรมซื้อสินค้าในเกม,
บริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของวัยรุ่นต่อการเล่นเกมบนโทรศัพท์
เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสนใจของการเลือกซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร การทำวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรวัยรุ่นที่มีอายุ 18-23 ปีที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครและเล่นเกมออนไลน์เป็นประจำจำนวน 400 คนโดยแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจำนวน 400 ชุด ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย นับถือศาสนาพุทธ เป็นช่วงอายุ 18-19 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 1-3 คน ผู้ปกครองอาชีพมีอาชีพรับจ้าง ผู้ปกครองมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 - 40,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เล่นเกม RPG (เก็บเลเวล) มีแรงบันดาลใจจากการเล่นตามเพื่อนมากที่สุด และมีปัจจัยที่ดึงดูดในเกมคือเนื้อหามากที่สุด จะเล่นเกมตามความสนใจของตนเองมากที่สุด ชื่นชอบการออกแบบการพัฒนาการของตัวละครและสนใจระบบซื้อของเพื่อพัฒนาตัวละครมากที่สุด และอยากให้บริษัทผู้ผลิตเกมออนไลน์พัฒนาภาพที่แสดงสมจริงมากขึ้น
วัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร มีพฤติกรรมซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
อยู่ในระดับสูงที่สุด คือ คาดหวังก่อนซื้อของในเกมเสมอ มีขอบเขตในการเลือกซื้อของในเกม และวางแผนการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อของในเกมทุกครั้ง มีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับสูง
ส่วนระดับพฤติกรรมซื้อสินค้าและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่ในระดับต่ำที่สุด คือ เลือกซื้อของในเกมตามกระแสนิยมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27450 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595841 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-07 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595833 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-07 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. เทคนิคการโน้มน้าวใจ ด้วยหลักการตลาด ไลฟ์สไตล์ / ธนวัฒน์ วีระถาวร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : เทคนิคการโน้มน้าวใจ ด้วยหลักการตลาด ไลฟ์สไตล์ Original title : Persuasive Techniques Using Lifestyle Marketing Concepts Material Type: printed text Authors: ธนวัฒน์ วีระถาวร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 31 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Lifestyles
[LCSH]การตลาด
[LCSH]การโน้มน้าวใจKeywords: Life style,
การตลาด,
ทฤษฎีการสื่อสารโน้มน้าวใจAbstract: การสื่อสารด้วยการโน้มน้าวใจ เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากในด้านการตลาด หากสามารถโน้มน้าวใจให้ผู้บริโภคเชื่อมัน และเห็นด้วยกับการนำเสนอของเรา จะสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมการซื้อได้อย่างง่ายดาย ในที่นี้จะทำการ Life style เป็นตัวโน้มน้าวใจ เนื่องจากยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนเราใช้ชีวิตได้สะสวกสบายมากขึ้น คนจึงติดกับวิถีชีวิตที่สะดวกสบายในการบริโภคของต่างๆ จนทำให้คำนึงเรื่องราคารองลงมา ดังนั้นการที่เราจะสามารถโน้มน้าวได้ เราต้องกำหนดว่า สินค้าของเราเชื่อมโยงกับ Life styleแบบใด และจะนำเสนออย่างไรให้ลูกค้า ยินดีที่จะใช้บริการของเรา Curricular : BALA/GE/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27300 SIU IS-T. เทคนิคการโน้มน้าวใจ ด้วยหลักการตลาด ไลฟ์สไตล์ = Persuasive Techniques Using Lifestyle Marketing Concepts [printed text] / ธนวัฒน์ วีระถาวร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 31 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Lifestyles
[LCSH]การตลาด
[LCSH]การโน้มน้าวใจKeywords: Life style,
การตลาด,
ทฤษฎีการสื่อสารโน้มน้าวใจAbstract: การสื่อสารด้วยการโน้มน้าวใจ เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากในด้านการตลาด หากสามารถโน้มน้าวใจให้ผู้บริโภคเชื่อมัน และเห็นด้วยกับการนำเสนอของเรา จะสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมการซื้อได้อย่างง่ายดาย ในที่นี้จะทำการ Life style เป็นตัวโน้มน้าวใจ เนื่องจากยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนเราใช้ชีวิตได้สะสวกสบายมากขึ้น คนจึงติดกับวิถีชีวิตที่สะดวกสบายในการบริโภคของต่างๆ จนทำให้คำนึงเรื่องราคารองลงมา ดังนั้นการที่เราจะสามารถโน้มน้าวได้ เราต้องกำหนดว่า สินค้าของเราเชื่อมโยงกับ Life styleแบบใด และจะนำเสนออย่างไรให้ลูกค้า ยินดีที่จะใช้บริการของเรา Curricular : BALA/GE/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27300 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595148 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595130 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available กว่าจะมาเป็น "สุดยอดเซียน" / บุญสืบ แซ่เฮง / ไทยบีจีดอทคอม - 2553
Content
Title : กว่าจะมาเป็น "สุดยอดเซียน" : เล่ม 1 Material Type: printed text Authors: บุญสืบ แซ่เฮง, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; โอภาส เรืองวรรักษ์ศิริ, Associated Name ; สวภพ ท้วมแสง, Associated Name Publisher: ไทยบีจีดอทคอม Publication Date: 2553 Pagination: 2 เล่ม Layout: ภาพประกอบ Size: 19 ซม. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]หมากรุก -- ไทย Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=19926 กว่าจะมาเป็น "สุดยอดเซียน" : เล่ม 1 [printed text] / บุญสืบ แซ่เฮง, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; โอภาส เรืองวรรักษ์ศิริ, Associated Name ; สวภพ ท้วมแสง, Associated Name . - [S.l.] : ไทยบีจีดอทคอม, 2553 . - 2 เล่ม : ภาพประกอบ ; 19 ซม.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]หมากรุก -- ไทย Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=19926 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000262392 GV1458.T5 บ593 2553 v.1 Book Graduate Library Chess Corner Available 32002000402931 GV1458.T5 บ593 2553 v.1 c.2 Book Graduate Library Chess Corner Available 32002000547735 GV1458.T5 บ593 2553 v.1 c.3 Book Main Library General Shelf Available กว่าจะมาเป็น "สุดยอดเซียน" / บุญสืบ แซ่เฮง / ไทยบีจีดอทคอม - 2553
in กว่าจะมาเป็น "สุดยอดเซียน" / บุญสืบ แซ่เฮง / ไทยบีจีดอทคอม - 2553
Title : กว่าจะมาเป็น "สุดยอดเซียน" : เล่ม 2 Material Type: printed text Authors: บุญสืบ แซ่เฮง, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; โอภาส เรืองวรรักษ์ศิริ, Associated Name ; สวภพ ท้วมแสง, Associated Name Publisher: ไทยบีจีดอทคอม Publication Date: 2553 Pagination: 2 เล่ม Layout: ภาพประกอบ Size: 19 ซม. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]หมากรุก -- ไทย Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=19927
in กว่าจะมาเป็น "สุดยอดเซียน" / บุญสืบ แซ่เฮง / ไทยบีจีดอทคอม - 2553
กว่าจะมาเป็น "สุดยอดเซียน" : เล่ม 2 [printed text] / บุญสืบ แซ่เฮง, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; โอภาส เรืองวรรักษ์ศิริ, Associated Name ; สวภพ ท้วมแสง, Associated Name . - [S.l.] : ไทยบีจีดอทคอม, 2553 . - 2 เล่ม : ภาพประกอบ ; 19 ซม.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]หมากรุก -- ไทย Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=19927 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000262400 GV1458.T5 บ593 2553 v.2 Book Graduate Library Chess Corner Available 32002000402923 GV1458.T5 บ593 2553 v.2 c.2 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000402907 GV1458.T5 บ593 2553 v.3 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000402915 GV1458.T5 บ593 2554 v.4 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000547727 GV1458.T5 บ593 2553 v.2 c.3 Book Main Library General Shelf Available