From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ / ปภัสร จันทร์อร่าม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ Original title : Measurement and Evaluation of Satisfaction of Facebook Website Visitors with the ACSI Model Material Type: printed text Authors: ปภัสร จันทร์อร่าม, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 58 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความพอใจ
[LCSH]เฟซบุ๊ค -- การวิเคราะห์
[LCSH]เว็บไซต์ -- การประเมินKeywords: การวัดและประเมินผล,
ความพึงพอใจ,
เว็บไซต์เฟซบุ๊ก,
แบบจำลอง เอ ซี เอส ไอAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคล และศึกษาระดับความพึงพอใจของ ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ ในปัจจัย 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังของลูกค้า ด้านคุณภาพของสินค้า ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ เครื่องมือที่ใช้สำหรับงานวิจัย คือ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจชองผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 26 - 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้มากกว่า 15,000 – 35,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านความคาดหวัง พบว่า มีร้านค้าที่ขายสินค้าอยู่จริง สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ได้พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณภาพ พบว่า มีคุณภาพสินค้าตรงตามที่ให้ข้อมูลไว้ สามารถออกความคิดเห็น ติชม หรือร้องเรียนต่อคุณภาพสินค้าได้ พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้บริโภค พบว่า มีการตอบสนองต่อการสื่อสารที่รวดเร็วในด้านข้อมูลของสินค้า ผู้ใช้บริการนิยมใช้บริการ เฟซบุ๊ก มีความสะดวกในการหาข้อมูลของสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กมีทิศทางด้านบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการ โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก (Mean = 4.01 และ S.D. = 0.76) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ เพศ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณภาพ ระดับการศึกษา แตกต่างกันด้านคุณภาพ อาชีพ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ รายได้ แตกต่างกัน ด้านคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BSCS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27268 SIU THE-T. การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ = Measurement and Evaluation of Satisfaction of Facebook Website Visitors with the ACSI Model [printed text] / ปภัสร จันทร์อร่าม, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 58 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความพอใจ
[LCSH]เฟซบุ๊ค -- การวิเคราะห์
[LCSH]เว็บไซต์ -- การประเมินKeywords: การวัดและประเมินผล,
ความพึงพอใจ,
เว็บไซต์เฟซบุ๊ก,
แบบจำลอง เอ ซี เอส ไอAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคล และศึกษาระดับความพึงพอใจของ ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ ในปัจจัย 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังของลูกค้า ด้านคุณภาพของสินค้า ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ เครื่องมือที่ใช้สำหรับงานวิจัย คือ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจชองผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 26 - 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้มากกว่า 15,000 – 35,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านความคาดหวัง พบว่า มีร้านค้าที่ขายสินค้าอยู่จริง สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ได้พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณภาพ พบว่า มีคุณภาพสินค้าตรงตามที่ให้ข้อมูลไว้ สามารถออกความคิดเห็น ติชม หรือร้องเรียนต่อคุณภาพสินค้าได้ พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้บริโภค พบว่า มีการตอบสนองต่อการสื่อสารที่รวดเร็วในด้านข้อมูลของสินค้า ผู้ใช้บริการนิยมใช้บริการ เฟซบุ๊ก มีความสะดวกในการหาข้อมูลของสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กมีทิศทางด้านบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการ โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก (Mean = 4.01 และ S.D. = 0.76) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ เพศ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณภาพ ระดับการศึกษา แตกต่างกันด้านคุณภาพ อาชีพ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ รายได้ แตกต่างกัน ด้านคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BSCS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27268 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594901 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594893 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / พรรณี ธนกรชัยมงคล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : The Satisfaction of the Parent towards the Education of the Child Development Center Nongrai Pluakdeang Distric Rayong Material Type: printed text Authors: พรรณี ธนกรชัยมงคล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 59 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารการศึกษา
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ผู้ปกครองนักเรียนKeywords: ความพึงพอใจ,
การจัดการศึกษา,
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กAbstract: การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ผู้ปกครองนักเรียนในเขตบริการ จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1) สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน101 คน คิดเป็นร้อยละ 53.20 มีอายุ 30-50 ปี จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 41.60 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีจำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 52.10 และส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 47.40
2) ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ในด้านการบริหารโรงเรียนอยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนอยู่ในระดับมาก ด้านอาคารสถานที่อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากและด้านครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ตามลำดับCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27273 SIU IS-T. ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = The Satisfaction of the Parent towards the Education of the Child Development Center Nongrai Pluakdeang Distric Rayong [printed text] / พรรณี ธนกรชัยมงคล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 59 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารการศึกษา
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ผู้ปกครองนักเรียนKeywords: ความพึงพอใจ,
การจัดการศึกษา,
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กAbstract: การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ผู้ปกครองนักเรียนในเขตบริการ จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1) สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน101 คน คิดเป็นร้อยละ 53.20 มีอายุ 30-50 ปี จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 41.60 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีจำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 52.10 และส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 47.40
2) ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ในด้านการบริหารโรงเรียนอยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนอยู่ในระดับมาก ด้านอาคารสถานที่อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากและด้านครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ตามลำดับCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27273 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595007 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594992 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน / วีณา สำราญรื่น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Original title : Factors Affecting the Job Performance Satisfaction of General Support Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: วีณา สำราญรื่น, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 135 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความพึงพอใจ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถาม วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบบสอบถามความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t-test ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One – Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
1) ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มาจากปัจจัยด้านเกี่ยวกับงานและปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหรือสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายด้านที่อยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะงานความรับผิดชอบ ด้านเงินเดือน,รายได้ เรียงตามลำดับ
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเกี่ยวกับงาน ปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อด้านบุคคล ด้านงาน และด้านการบริหารจัดการCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26487 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน = Factors Affecting the Job Performance Satisfaction of General Support Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / วีณา สำราญรื่น, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 135 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความพึงพอใจ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถาม วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบบสอบถามความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t-test ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One – Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
1) ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มาจากปัจจัยด้านเกี่ยวกับงานและปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหรือสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายด้านที่อยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะงานความรับผิดชอบ ด้านเงินเดือน,รายได้ เรียงตามลำดับ
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเกี่ยวกับงาน ปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อด้านบุคคล ด้านงาน และด้านการบริหารจัดการCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26487 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591568 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available