From this page you can:
Home |
Author details
Author วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU IS. การศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง / ศิริวดี ไกรสโมสร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS Title : การศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง Original title : A Study of the Behavioral Acceptability in Cashless Society of Middle-aged Persons Material Type: printed text Authors: ศิริวดี ไกรสโมสร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 44 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมมนุษย์
[LCSH]พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Keywords: สังคมไร้เงินสด,
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง และพฤติกรรมในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางที่ส่งผลต่อการไม่ยอมรับสังคมไร้เงินสด ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมสำคัญของกลุ่มเป้าหมายที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
การศึกษาใช้วิธีการทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาเพื่อศึกษาลักษระทางประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ และเหตุผลที่ส่งต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสด ของวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง ผู้วิจัยเลือกกลุ่มเป้าหมายคือ วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง ที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัท/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน/ธุรกิจส่วนตัว หรือ อื่น ๆ และมีอายุระหว่าง 35 – 60 ปี ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า พฤติกรรมที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง มี 3 ส่วน โดยแบ่งเป็นส่วนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ และรายได้เฉลี่ยรวมต่อเดือน ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสด ได้แก่ รูปแบบ และความถี่ของทำธุรกรรมทางการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนที่ 3 ความคิดเห็นที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนกลางได้แก่ ทัศนคติ ประโยชน์ ความเชื่อมั่นและความปลอดภัยในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 ส่วน พบว่าพฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27857 SIU IS. การศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง = A Study of the Behavioral Acceptability in Cashless Society of Middle-aged Persons [printed text] / ศิริวดี ไกรสโมสร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 44 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมมนุษย์
[LCSH]พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Keywords: สังคมไร้เงินสด,
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง และพฤติกรรมในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางที่ส่งผลต่อการไม่ยอมรับสังคมไร้เงินสด ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมสำคัญของกลุ่มเป้าหมายที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง
การศึกษาใช้วิธีการทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาเพื่อศึกษาลักษระทางประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ และเหตุผลที่ส่งต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสด ของวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง ผู้วิจัยเลือกกลุ่มเป้าหมายคือ วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง ที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัท/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน/ธุรกิจส่วนตัว หรือ อื่น ๆ และมีอายุระหว่าง 35 – 60 ปี ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า พฤติกรรมที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง มี 3 ส่วน โดยแบ่งเป็นส่วนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ และรายได้เฉลี่ยรวมต่อเดือน ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสด ได้แก่ รูปแบบ และความถี่ของทำธุรกรรมทางการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนที่ 3 ความคิดเห็นที่ส่งผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนกลางได้แก่ ทัศนคติ ประโยชน์ ความเชื่อมั่นและความปลอดภัยในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 ส่วน พบว่าพฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการยอมรับสังคมไร้เงินสดในวัยผู้ใหญ่ตอนกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27857 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598365 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598480 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) / ภราดร คงมณี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) Original title : The Smart Transportation for Smart Labor: The Worker Pickup Problems Material Type: printed text Authors: ภราดร คงมณี, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; สุชาย ธนวเสถียร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 99 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
[LCSH]ระบบขนส่งอัจฉริยะKeywords: พนักงานอัจฉริยะ,
การขนส่งอัจฉริยะ,
ปัญหาในการรับพนักงาน,
รถบัสอัจฉริยะAbstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหารูปแบบการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสื่อสังคม หรือ Social Media บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนโดยการใช้โปรแกรมทดลอง “Where ever” เป็นเครื่องมือในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการเดินทางของพนักงานที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้บริการรถรับส่งพนักงานที่โรงงานเป็นผู้จัด ซึ่งจะทำให้พนักงานสามารถติดตามการเดินทางของรถรับส่งและคาดการณ์เวลาที่รถจะมารับยังจุดนัดหมาย ทำให้พนักงานขึ้นรถได้ตามเวลาที่กำหนดโดยใช้เวลาในการรอรถน้อยที่สุด
ผลจากการทดลองโดยใช้กลุ่มตัวอย่างของพนักงานที่ใช้บริการรถรับส่งเป็นประจำจำนวน 360 คน ตามทฤษฎีของ Taro Yamane พบว่าผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ว่าพนักงานสามารถใช้และเข้าถึงสื่อสังคมผ่านโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน มีความต้องการความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการให้บริการรถรับส่งที่ทันสมัย สามารถใช้การพัฒนารูปแบบการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยในการใช้บริการรถรับส่ง เพื่อการเดินทางมาทำงาน
สิ่งที่ได้จากการวิจัยสามารถนำเสนอรูปแบบจำลอง หรือ Model “We Wer” สำหรับพนักงานอัจฉริยะในการเพิ่มประสิทธิภาพและการแก้ปัญหาการให้บริการรถรับส่งโดยมีพนักงานผู้ใช้งานสื่อสังคมที่สามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอุปกรณ์สมัยใหม่ อาทิ สมาร์โฟน แท็บเล็ต เพื่อเข้าถึงการให้บริการรถได้อย่างสะดวกและรวดเร็วCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27963 SIU THE-T. PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) = The Smart Transportation for Smart Labor: The Worker Pickup Problems [printed text] / ภราดร คงมณี, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; สุชาย ธนวเสถียร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 99 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
[LCSH]ระบบขนส่งอัจฉริยะKeywords: พนักงานอัจฉริยะ,
การขนส่งอัจฉริยะ,
ปัญหาในการรับพนักงาน,
รถบัสอัจฉริยะAbstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหารูปแบบการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสื่อสังคม หรือ Social Media บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนโดยการใช้โปรแกรมทดลอง “Where ever” เป็นเครื่องมือในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการเดินทางของพนักงานที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้บริการรถรับส่งพนักงานที่โรงงานเป็นผู้จัด ซึ่งจะทำให้พนักงานสามารถติดตามการเดินทางของรถรับส่งและคาดการณ์เวลาที่รถจะมารับยังจุดนัดหมาย ทำให้พนักงานขึ้นรถได้ตามเวลาที่กำหนดโดยใช้เวลาในการรอรถน้อยที่สุด
ผลจากการทดลองโดยใช้กลุ่มตัวอย่างของพนักงานที่ใช้บริการรถรับส่งเป็นประจำจำนวน 360 คน ตามทฤษฎีของ Taro Yamane พบว่าผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ว่าพนักงานสามารถใช้และเข้าถึงสื่อสังคมผ่านโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน มีความต้องการความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการให้บริการรถรับส่งที่ทันสมัย สามารถใช้การพัฒนารูปแบบการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยในการใช้บริการรถรับส่ง เพื่อการเดินทางมาทำงาน
สิ่งที่ได้จากการวิจัยสามารถนำเสนอรูปแบบจำลอง หรือ Model “We Wer” สำหรับพนักงานอัจฉริยะในการเพิ่มประสิทธิภาพและการแก้ปัญหาการให้บริการรถรับส่งโดยมีพนักงานผู้ใช้งานสื่อสังคมที่สามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอุปกรณ์สมัยใหม่ อาทิ สมาร์โฟน แท็บเล็ต เพื่อเข้าถึงการให้บริการรถได้อย่างสะดวกและรวดเร็วCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27963 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607478 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607477 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย / กรฎา บุตรชน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย Original title : Development of the Model for Teaching and Learning Thai Chess through www.playok.com Case Study: Board Game Clubs in Thai Universities Material Type: printed text Authors: กรฎา บุตรชน, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xv, 91 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]หมากรุกไทยKeywords: การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย,
ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทยAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของผู้เล่นหมากรุกไทย
ที่มีความต้องการูปแบบการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 2) เพื่อกระตุ้นอาจารย์ นักศึกษา เกิดความสนใจในการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้รูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย และ 3) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหมากรุกไทยของผู้สอน โดยรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เรียนชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 5 สถาบัน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t- test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way analysis of variance--ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
ด้านลักษณะประชากร พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ช่วงอายุ 20-24 ปี เรียนปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา นับถือศาสนาพุทธ
ด้านพฤติกรรม ส่วนใหญ่เล่นหมากรุกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่เล่นผ่านเว็บ www.playok.com นาน ๆ ครั้ง ในแต่ละครั้ง 1-2 ชั่วโมง ช่วงเวลา 18.01-20.00 น. บุคคลที่เล่นด้วยมากสุด คือ เพื่อน/รุ่นพี่/รุ่นน้อง
ด้านความสนใจนิยมเล่นเพราะสนุกสนาน ประสบการณ์เล่นหมากรุกไทย 1-2 ปี มีพัฒนาการในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าช่วยให้พัฒนาฝีมือขึ้น ถ้าฝึกซ้อมผ่านเว็บ www.playok.com และส่วนใหญ่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาลัย ผลการแข่งขันอยู่ในระดับดีมาก
ด้านเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอน พบว่า ส่วนใหญ่ควรเสริมความรู้ และเพิ่มหัวข้อ ด้านการเปิดหมาก ในแต่ละครั้งควรฝึกซ้อม นานมากกว่า 6 ชั่วโมง และควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ด้านการบันทึกหมากและวิเคราะห์เกมของท่านหลังฝึกซ้อมเสร็จ และนำบันทึกหมากที่เหมาะกับสไตล์ของท่านมาฝึกฝน
ด้านการจัดกิจกรรการเรียนการสอน ผู้เรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับฝีมือ เริ่มต้น-ปานกลาง รองลงมา ดี-ดีมาก
ระดับฝีมือเริ่มต้น-ปานกลาง ข้อที่มากที่สุดคือ การทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ การฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ การนำเสนอภาพประกอบการเล่น เช่น
รูปหมากต่าง ๆ เป็นต้น
ระดับฝีมือดี-ดีมาก ข้อที่มากที่สุดคือ ปัจจัยด้านการทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ ปัจจัยด้านเว็บไซด์มีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนออนไลน์จะได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ก็ไม่สามารถทดแทนการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวได้หรือการฝึกในรูปแบบชมรมที่มีการพบปะกันอย่างสม่ำเสมอ แต่สามารถควบคู่ไปในทิศทางเดียวกันได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27447 SIU IS-T. การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย ผ่านเว็บ www.playok.com กรณีศึกษา: ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย = Development of the Model for Teaching and Learning Thai Chess through www.playok.com Case Study: Board Game Clubs in Thai Universities [printed text] / กรฎา บุตรชน, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xv, 91 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]หมากรุกไทยKeywords: การพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทย,
ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทยAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของผู้เล่นหมากรุกไทย
ที่มีความต้องการูปแบบการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 2) เพื่อกระตุ้นอาจารย์ นักศึกษา เกิดความสนใจในการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้รูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอนหมากรุกไทยผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย และ 3) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหมากรุกไทยของผู้สอน โดยรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ www.playok.com ชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เรียนชมรมหมากกระดานมหาวิทยาลัยไทย 5 สถาบัน จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t- test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way analysis of variance--ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
ด้านลักษณะประชากร พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ช่วงอายุ 20-24 ปี เรียนปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา นับถือศาสนาพุทธ
ด้านพฤติกรรม ส่วนใหญ่เล่นหมากรุกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่เล่นผ่านเว็บ www.playok.com นาน ๆ ครั้ง ในแต่ละครั้ง 1-2 ชั่วโมง ช่วงเวลา 18.01-20.00 น. บุคคลที่เล่นด้วยมากสุด คือ เพื่อน/รุ่นพี่/รุ่นน้อง
ด้านความสนใจนิยมเล่นเพราะสนุกสนาน ประสบการณ์เล่นหมากรุกไทย 1-2 ปี มีพัฒนาการในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าช่วยให้พัฒนาฝีมือขึ้น ถ้าฝึกซ้อมผ่านเว็บ www.playok.com และส่วนใหญ่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาลัย ผลการแข่งขันอยู่ในระดับดีมาก
ด้านเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการสร้างสื่อการเรียนการสอน พบว่า ส่วนใหญ่ควรเสริมความรู้ และเพิ่มหัวข้อ ด้านการเปิดหมาก ในแต่ละครั้งควรฝึกซ้อม นานมากกว่า 6 ชั่วโมง และควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ด้านการบันทึกหมากและวิเคราะห์เกมของท่านหลังฝึกซ้อมเสร็จ และนำบันทึกหมากที่เหมาะกับสไตล์ของท่านมาฝึกฝน
ด้านการจัดกิจกรรการเรียนการสอน ผู้เรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับฝีมือ เริ่มต้น-ปานกลาง รองลงมา ดี-ดีมาก
ระดับฝีมือเริ่มต้น-ปานกลาง ข้อที่มากที่สุดคือ การทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ การฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ การนำเสนอภาพประกอบการเล่น เช่น
รูปหมากต่าง ๆ เป็นต้น
ระดับฝีมือดี-ดีมาก ข้อที่มากที่สุดคือ ปัจจัยด้านการทบทวนท้ายชั่วโมง รองลงมาคือ ปัจจัยด้านการฝึกฝนปลายกระดานร่วมกัน และข้อที่น้อยที่สุดคือ ปัจจัยด้านเว็บไซด์มีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะ
ถึงแม้ว่าการเรียนการสอนออนไลน์จะได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ก็ไม่สามารถทดแทนการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวได้หรือการฝึกในรูปแบบชมรมที่มีการพบปะกันอย่างสม่ำเสมอ แต่สามารถควบคู่ไปในทิศทางเดียวกันได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27447 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595775 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595783 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล / สันติราชย์ เลิศมณี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล Original title : The Development of Holograms as Educational Media for Nursing Students Material Type: printed text Authors: สันติราชย์ เลิศมณี, Author ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 74 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]โฮโลแกรมKeywords: Holograms,
สื่อการสอน,
นักศึกษาพยาบาลAbstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการสอนด้วยการใช้ Holograms มีกระบวนการสร้างดังนี้
1) ผู้วิจัยศึกษาวิธีการฉีดยาจากหนังสือเรียน และศึกษาโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างภาพ Holograms 2) ผู้วิจัยสร้างอุปกรณ์ Holograms จากวัสดุต่าง ๆ และนำมาทดลอง และบันทึกผล 3) ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามใช้เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบความพึงพอใจจากการใช้ Holograms วิธีการฉีดยา โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาพยาบาล 43 คน มาวิเคราะห์ผล
การใช้เครื่องมือทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิทยาชินวัตร โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 27 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 16 คน รวมจำนวน 43 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา
ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อการสอนจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 43 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ ด้านคุณค่า และโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แต่ระดับความพึงพอใจด้านอุปกรณ์ อยู่ในระดับมาก
จากความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาล พบว่า จุดเด่นมีความแปลกใหม่ ทันสมัย และน่าสนใจ การนำเสนอภาพสามารถมองเห็นภาพร่างกายได้ชัดเจนและเรียนรู้วิธีการฉีดยาที่กล้ามเนื้อมีมุมองศาแตกต่างกัน มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเกิดประโยชน์กับการเรียนการสอนสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง และพบว่ามีข้อบกพร่อง ได้แก่ ภาพมีขนาดเล็กและไม่ชัดเจน ประกอบกับเสียงบรรยายไม่ชัดเจนและขาดความนุ่มนวลของเสียง มีรายละเอียดและคำบรรยายในการสอนของเนื้อหาน้อยเกินไป การแสดงเนื้อหามีระยะเวลาสั้น ตลอดจนอุปกรณ์มีขนาดเล็กทำให้ขาดความน่าสนใจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27854 SIU IS-T. การพัฒนาสื่อเพื่อศึกษาด้วยการใช้ Holograms สำหรับนักศึกษาพยาบาล = The Development of Holograms as Educational Media for Nursing Students [printed text] / สันติราชย์ เลิศมณี, Author ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 74 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อการสอน
[LCSH]โฮโลแกรมKeywords: Holograms,
สื่อการสอน,
นักศึกษาพยาบาลAbstract: วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการสอนด้วยการใช้ Holograms มีกระบวนการสร้างดังนี้
1) ผู้วิจัยศึกษาวิธีการฉีดยาจากหนังสือเรียน และศึกษาโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างภาพ Holograms 2) ผู้วิจัยสร้างอุปกรณ์ Holograms จากวัสดุต่าง ๆ และนำมาทดลอง และบันทึกผล 3) ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามใช้เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบความพึงพอใจจากการใช้ Holograms วิธีการฉีดยา โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาพยาบาล 43 คน มาวิเคราะห์ผล
การใช้เครื่องมือทดสอบกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยวิทยาชินวัตร โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 27 คน และชั้นปีที่ 3 จำนวน 16 คน รวมจำนวน 43 คน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา
ผลการประเมินความพึงพอใจสื่อการสอนจากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 43 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจด้านเนื้อหาสาระ ด้านคุณค่า และโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด แต่ระดับความพึงพอใจด้านอุปกรณ์ อยู่ในระดับมาก
จากความคิดเห็นของนักศึกษาพยาบาล พบว่า จุดเด่นมีความแปลกใหม่ ทันสมัย และน่าสนใจ การนำเสนอภาพสามารถมองเห็นภาพร่างกายได้ชัดเจนและเรียนรู้วิธีการฉีดยาที่กล้ามเนื้อมีมุมองศาแตกต่างกัน มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อเกิดประโยชน์กับการเรียนการสอนสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ใช้งานง่าย และสามารถนำไปใช้งานได้จริง และพบว่ามีข้อบกพร่อง ได้แก่ ภาพมีขนาดเล็กและไม่ชัดเจน ประกอบกับเสียงบรรยายไม่ชัดเจนและขาดความนุ่มนวลของเสียง มีรายละเอียดและคำบรรยายในการสอนของเนื้อหาน้อยเกินไป การแสดงเนื้อหามีระยะเวลาสั้น ตลอดจนอุปกรณ์มีขนาดเล็กทำให้ขาดความน่าสนใจCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27854 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598316 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598431 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การยอมรับนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยที่ต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ : กรณีศึกษาผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ / ปัญจรัตน์ หาญพานิช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การยอมรับนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยที่ต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ : กรณีศึกษาผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ Original title : Adoption of Internet of Things by the Elderly for Health Care for Health Care Android Platform: Case Study of Aging in Samutprakarn province Material Type: printed text Authors: ปัญจรัตน์ หาญพานิช, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 72 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-02
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นวัตกรรม
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย -- สมุทรปราการKeywords: สูงวัย, เบบี้บูมเมอร์, สุขภาพ, อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง, แอนดรอยด์, การยอมรับ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทราบถึงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของ
ผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 2) เพื่อทราบถึงความต้องการในการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 4) เพื่อทราบถึงความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย โดยกลุ่มตัวอย่างคือประชากรผู้สูงวัยทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ใน 23 อำเภอของจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 400 คน
ผลของการศึกษาพบว่า 1) ทราบถึงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าผู้สูงอายุส่วนมากมีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบเป็นครั้งคราว คิดเป็นร้อยละ 38.0 รองลงมาคือใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแต่ไม่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เนื่องจากกลัวสิ้นเปลือง 2) พบความต้องการในการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 75.6 3) พบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าไม่ว่าจะเป็นเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ ไม่ใช่ปัจจัยที่จะทำให้ผู้สูงวัยมีการยอมรับการใช้เทคโนโลยี และจากการสัมภาษณ์ผู้สูงวัยทำให้ผู้วิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยี คือ ลูก-หลานที่เป็นผู้จัดหา และจัดการให้ผู้สูงวัยได้ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 4) ทราบถึงความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย คือต้องการให้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์มีระบบแจ้งเตือนไปยังญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน และความต้องการให้มีระบบเตือนความจำ เช่น วันเกิด ทานยา ทานข้าว นัดหมาย ซึ่งจากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้สูงวัยบางท่านเริ่มมีสุขภาพไม่ค่อยดี จึงทำให้เกิดความกังวลว่าเมื่อมีเหตุร้ายอะไรเกิดขึ้นก็ขอให้มีการแจ้งเตือนไปบอกเพื่อจะได้รีบพาไปพบแพทย์ และผู้สูงวัยบางท่านอาจจะมีอาการหลงลืม ต้องการตัวช่วยในเรื่องของการแจ้งเตือน
จากสมมุติฐานในการวิจัย พบว่า 1) ระดับความรู้และความเข้าใจของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพได้มากขึ้นนั้น พบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยด้านการศึกษา ไม่มีผลต่อการยอมรับการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับการยอมรับนวัตกรรมเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพพบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ ไม่ได้มีผลต่อการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ต มีการยอมรับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ตมีการยอมรับ และให้ความเชื่อมั่นในเทคโนโลยี ตามผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผู้สูงวัยที่มีการยอมรับเทคโนโลยี Internet of Things กับระดับการยอมรับ โดยใช้สถิติ Chi-Square Test (X 2) ด้วยวิธีของ Pearson Chi-Square และค่า Exact ในการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยค่า Chi-Square ตามวิธีของ Pearson พบว่าเป็นความถี่ที่คาดหวังที่
มีค่าน้อยกว่า 5 ซึ่งมีอยู่จำนวน 2 เซลล์คิดเป็น 33.3% ของเซลล์ทั้งหมด และค่าความถี่ที่คาดหวังต่ำสุดคือ 2.27 4) กลุ่มผู้สูงอายุที่ยอมรับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมีความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพในวัตถุประสงค์ในการพูดคุยมากที่สุด จากการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจความต้องการใช้แพลตฟอร์มเพื่อดูแลสุขภาพในรูปแบบต่าง ๆ ได้ทำการจำแนกตามเพศเอาไว้ พบว่าค่า P-value ของความต้องการให้มีการแจ้งเตือนไปยังญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินกับตนเอง = 0.87 > 0.05 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความต้องการให้มีระบบเตือนความจำ เช่น วันเกิด ทานยา ทานข้าว นัดหมาย = 0.83 > 0.05 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27964 SIU THE-T. การยอมรับนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยที่ต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ : กรณีศึกษาผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ = Adoption of Internet of Things by the Elderly for Health Care for Health Care Android Platform: Case Study of Aging in Samutprakarn province [printed text] / ปัญจรัตน์ หาญพานิช, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 72 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-02
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นวัตกรรม
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย -- สมุทรปราการKeywords: สูงวัย, เบบี้บูมเมอร์, สุขภาพ, อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง, แอนดรอยด์, การยอมรับ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทราบถึงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของ
ผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 2) เพื่อทราบถึงความต้องการในการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ 4) เพื่อทราบถึงความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย โดยกลุ่มตัวอย่างคือประชากรผู้สูงวัยทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ใน 23 อำเภอของจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 400 คน
ผลของการศึกษาพบว่า 1) ทราบถึงพฤติกรรมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าผู้สูงอายุส่วนมากมีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบมีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบเป็นครั้งคราว คิดเป็นร้อยละ 38.0 รองลงมาคือใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแต่ไม่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เนื่องจากกลัวสิ้นเปลือง 2) พบความต้องการในการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 75.6 3) พบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งของผู้สูงวัยในจังหวัดสมุทรปราการ พบว่าไม่ว่าจะเป็นเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ ไม่ใช่ปัจจัยที่จะทำให้ผู้สูงวัยมีการยอมรับการใช้เทคโนโลยี และจากการสัมภาษณ์ผู้สูงวัยทำให้ผู้วิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยี คือ ลูก-หลานที่เป็นผู้จัดหา และจัดการให้ผู้สูงวัยได้ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 4) ทราบถึงความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย คือต้องการให้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์มีระบบแจ้งเตือนไปยังญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน และความต้องการให้มีระบบเตือนความจำ เช่น วันเกิด ทานยา ทานข้าว นัดหมาย ซึ่งจากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้สูงวัยบางท่านเริ่มมีสุขภาพไม่ค่อยดี จึงทำให้เกิดความกังวลว่าเมื่อมีเหตุร้ายอะไรเกิดขึ้นก็ขอให้มีการแจ้งเตือนไปบอกเพื่อจะได้รีบพาไปพบแพทย์ และผู้สูงวัยบางท่านอาจจะมีอาการหลงลืม ต้องการตัวช่วยในเรื่องของการแจ้งเตือน
จากสมมุติฐานในการวิจัย พบว่า 1) ระดับความรู้และความเข้าใจของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมีความสัมพันธ์กับการยอมรับการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพได้มากขึ้นนั้น พบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยด้านการศึกษา ไม่มีผลต่อการยอมรับการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับการยอมรับนวัตกรรมเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพพบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตของผู้สูงวัยเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และสุขภาพ ไม่ได้มีผลต่อการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนและเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ต มีการยอมรับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และอินเทอร์เน็ตมีการยอมรับ และให้ความเชื่อมั่นในเทคโนโลยี ตามผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผู้สูงวัยที่มีการยอมรับเทคโนโลยี Internet of Things กับระดับการยอมรับ โดยใช้สถิติ Chi-Square Test (X 2) ด้วยวิธีของ Pearson Chi-Square และค่า Exact ในการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยค่า Chi-Square ตามวิธีของ Pearson พบว่าเป็นความถี่ที่คาดหวังที่
มีค่าน้อยกว่า 5 ซึ่งมีอยู่จำนวน 2 เซลล์คิดเป็น 33.3% ของเซลล์ทั้งหมด และค่าความถี่ที่คาดหวังต่ำสุดคือ 2.27 4) กลุ่มผู้สูงอายุที่ยอมรับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมีความต้องการใช้แพลตฟอร์มแอนดรอยด์เพื่อดูแลสุขภาพในวัตถุประสงค์ในการพูดคุยมากที่สุด จากการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจความต้องการใช้แพลตฟอร์มเพื่อดูแลสุขภาพในรูปแบบต่าง ๆ ได้ทำการจำแนกตามเพศเอาไว้ พบว่าค่า P-value ของความต้องการให้มีการแจ้งเตือนไปยังญาติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินกับตนเอง = 0.87 > 0.05 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความต้องการให้มีระบบเตือนความจำ เช่น วันเกิด ทานยา ทานข้าว นัดหมาย = 0.83 > 0.05 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27964 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607479 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607480 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ / ปภัสร จันทร์อร่าม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ Original title : Measurement and Evaluation of Satisfaction of Facebook Website Visitors with the ACSI Model Material Type: printed text Authors: ปภัสร จันทร์อร่าม, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 58 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความพอใจ
[LCSH]เฟซบุ๊ค -- การวิเคราะห์
[LCSH]เว็บไซต์ -- การประเมินKeywords: การวัดและประเมินผล,
ความพึงพอใจ,
เว็บไซต์เฟซบุ๊ก,
แบบจำลอง เอ ซี เอส ไอAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคล และศึกษาระดับความพึงพอใจของ ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ ในปัจจัย 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังของลูกค้า ด้านคุณภาพของสินค้า ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ เครื่องมือที่ใช้สำหรับงานวิจัย คือ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจชองผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 26 - 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้มากกว่า 15,000 – 35,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านความคาดหวัง พบว่า มีร้านค้าที่ขายสินค้าอยู่จริง สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ได้พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณภาพ พบว่า มีคุณภาพสินค้าตรงตามที่ให้ข้อมูลไว้ สามารถออกความคิดเห็น ติชม หรือร้องเรียนต่อคุณภาพสินค้าได้ พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้บริโภค พบว่า มีการตอบสนองต่อการสื่อสารที่รวดเร็วในด้านข้อมูลของสินค้า ผู้ใช้บริการนิยมใช้บริการ เฟซบุ๊ก มีความสะดวกในการหาข้อมูลของสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กมีทิศทางด้านบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการ โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก (Mean = 4.01 และ S.D. = 0.76) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ เพศ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณภาพ ระดับการศึกษา แตกต่างกันด้านคุณภาพ อาชีพ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ รายได้ แตกต่างกัน ด้านคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BSCS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27268 SIU THE-T. การวัดและประเมินผลความพึงพอใจของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊ก ด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ = Measurement and Evaluation of Satisfaction of Facebook Website Visitors with the ACSI Model [printed text] / ปภัสร จันทร์อร่าม, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 58 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความพอใจ
[LCSH]เฟซบุ๊ค -- การวิเคราะห์
[LCSH]เว็บไซต์ -- การประเมินKeywords: การวัดและประเมินผล,
ความพึงพอใจ,
เว็บไซต์เฟซบุ๊ก,
แบบจำลอง เอ ซี เอส ไอAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคล และศึกษาระดับความพึงพอใจของ ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ ในปัจจัย 3 ด้าน คือ ด้านความคาดหวังของลูกค้า ด้านคุณภาพของสินค้า ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ เครื่องมือที่ใช้สำหรับงานวิจัย คือ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจชองผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กด้วยแบบจำลอง เอ ซี เอส ไอ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 26 - 35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้มากกว่า 15,000 – 35,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านความคาดหวัง พบว่า มีร้านค้าที่ขายสินค้าอยู่จริง สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตามต้องการ ได้พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณภาพ พบว่า มีคุณภาพสินค้าตรงตามที่ให้ข้อมูลไว้ สามารถออกความคิดเห็น ติชม หรือร้องเรียนต่อคุณภาพสินค้าได้ พบรูปแบบสินค้าที่ต้องการมีความชัดเจน อยู่ในระดับมาก ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้บริโภค พบว่า มีการตอบสนองต่อการสื่อสารที่รวดเร็วในด้านข้อมูลของสินค้า ผู้ใช้บริการนิยมใช้บริการ เฟซบุ๊ก มีความสะดวกในการหาข้อมูลของสินค้า อยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เฟซบุ๊กมีทิศทางด้านบวกต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการ โดยจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมาก (Mean = 4.01 และ S.D. = 0.76) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผลต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ เพศ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณภาพ ระดับการศึกษา แตกต่างกันด้านคุณภาพ อาชีพ แตกต่างกัน ด้านความคาดหวัง ด้านคุณค่าหรือความนิยมของผู้ใช้บริการ รายได้ แตกต่างกัน ด้านคุณภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BSCS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27268 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594901 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594893 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา / พาณี ชูบุญทรัพย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา Original title : Improvement of Business Process Management in Student Admission, Registration and Payment Processes Material Type: printed text Authors: พาณี ชูบุญทรัพย์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vi, 40 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-02
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สถาบันอุดมศึกษา -- การรับนักศึกษา Keywords: การรับนักศึกษา,
การลงทะเบียน,
การชำระค่าลงทะเบียนAbstract: การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการทำงานด้านการรับนักศึกษา ประกอบด้วย 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การรับนักศึกษา การลงทะเบียน และการชำระค่าลงทะเบียน ซึ่งเป็นข้อมูลตั้งต้นที่สำคัญ และเป็นกิจกรรมหลักสำคัญที่จำเป็นต้องใช้ตลอดหลักสูตรจนกระทั่งสำเร็จการศึกษา งานดังกล่าวมีปัญหาด้านข้อมูล ขั้นตอนการทำงาน รวมถึงการติดตามงาน โดยการวิจัยนี้จะมุ่งเน้นไปที่การศึกษา ออกแบบ และปรับปรุงกระบวนงานด้านการรับนักศึกษา ซึ่งจำเป็นต้องวิเคราะห์ถึงกระบวนการทำงานในลักษณะ Workflow หรือ แผนผังการทำงานที่ชัดเจน เพื่อให้เห็นถึงขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน รวมถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนงานด้านการรับนักศึกษา ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดียิ่งขึ้น
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27855 SIU IS-T. การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา = Improvement of Business Process Management in Student Admission, Registration and Payment Processes [printed text] / พาณี ชูบุญทรัพย์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vi, 40 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-02
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สถาบันอุดมศึกษา -- การรับนักศึกษา Keywords: การรับนักศึกษา,
การลงทะเบียน,
การชำระค่าลงทะเบียนAbstract: การวิจัยและปรับปรุงกระบวนการทำงานด้านการรับนักศึกษา ประกอบด้วย 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การรับนักศึกษา การลงทะเบียน และการชำระค่าลงทะเบียน ซึ่งเป็นข้อมูลตั้งต้นที่สำคัญ และเป็นกิจกรรมหลักสำคัญที่จำเป็นต้องใช้ตลอดหลักสูตรจนกระทั่งสำเร็จการศึกษา งานดังกล่าวมีปัญหาด้านข้อมูล ขั้นตอนการทำงาน รวมถึงการติดตามงาน โดยการวิจัยนี้จะมุ่งเน้นไปที่การศึกษา ออกแบบ และปรับปรุงกระบวนงานด้านการรับนักศึกษา ซึ่งจำเป็นต้องวิเคราะห์ถึงกระบวนการทำงานในลักษณะ Workflow หรือ แผนผังการทำงานที่ชัดเจน เพื่อให้เห็นถึงขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน รวมถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนงานด้านการรับนักศึกษา ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดียิ่งขึ้น
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27855 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598340 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598464 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร / วิไลรัตน์ อารยะสมสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร Original title : A Study of the Behavioral Acceptability in Cashless Societies of Middle-aged Persons Material Type: printed text Authors: วิไลรัตน์ อารยะสมสกุล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 34 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-05
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
[LCSH]ผู้สูงอายุKeywords: สังคมไร้เงินสด,
ธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมสำคัญที่มีผลต่อการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ของวัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่ทำงานในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีดำเนินการโดยการจัดทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาเพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยคือ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ได้แก่ นักศึกษา และวัยทำงาน ที่มีอายุระหว่าง 18 - 30 ปี จำนวน 100 คน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร มี 3 ตอน โดยแบ่งเป็นตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ตอนที่ 2 พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ได้แก่ ช่องทาง ปริมาณการใช้งานช่องทางความถี่ ประเภท และเหตุผลในการทำธุรกรรมทางการเงิน และตอนที่ 3 เหตุผลการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 ตอน พบว่าพฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครCurricular : BALA/GE/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27858 SIU IS-T. การศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร = A Study of the Behavioral Acceptability in Cashless Societies of Middle-aged Persons [printed text] / วิไลรัตน์ อารยะสมสกุล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 34 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-05
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
[LCSH]ผู้สูงอายุKeywords: สังคมไร้เงินสด,
ธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมสำคัญที่มีผลต่อการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ของวัยผู้ใหญ่ตอนต้นที่ทำงานในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีดำเนินการโดยการจัดทำแบบสอบถามที่มีเนื้อหาเพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยคือ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ได้แก่ นักศึกษา และวัยทำงาน ที่มีอายุระหว่าง 18 - 30 ปี จำนวน 100 คน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เวลาในการเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร มี 3 ตอน โดยแบ่งเป็นตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ตอนที่ 2 พฤติกรรมการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ได้แก่ ช่องทาง ปริมาณการใช้งานช่องทางความถี่ ประเภท และเหตุผลในการทำธุรกรรมทางการเงิน และตอนที่ 3 เหตุผลการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 ตอน พบว่าพฤติกรรมดังกล่าวมีผลต่อการทำธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเข้าสู่สังคมไร้เงินสดของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครCurricular : BALA/GE/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27858 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598357 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-05 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598456 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความคาดหวังของผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอต่อสื่อสังคมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร / อรญาฎา บุญศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความคาดหวังของผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอต่อสื่อสังคมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Expectations of Users of Wedding Studios on Social Media in Bangkok Areas Material Type: printed text Authors: อรญาฎา บุญศิริ, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xii, 77 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-05
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สื่อสังคมออนไลน์ -- กรุงเทพฯ Keywords: ความคาดหวัง,
ผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอ,
สื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 4) เพื่อศึกษาความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ประชากรคู่แต่งงานที่เป็นผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คู่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way Analysis of Variance-ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (Multiple-Comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุ 20-30 ปี มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน 20001-30000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ
2) ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ส่วนใหญ่ตั้งใจเลือกใช้ร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงานของท่าน ตั้งใจว่าต้องใช้ร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงานเท่านั้น ใช้เวลานานเท่าใดในการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงาน คิดว่าร้านเวดดิ้งสตูดิโอ ควรให้บริการในด้านใดเพิ่มเติมจากที่ให้บริการอยู่ในปัจจุบัน และคิดว่าในภาพรวมการจัดงานแต่งงานจากร้านเวดดิ้งสตูดิโอกับจัดงานแต่งงานกันเองอย่างไหนดีกว่ากัน
3) ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ส่วนใหญ่การตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
4) การทดสอบสมมุติฐาน
4.1 การเปรียบเทียบลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า จำแนกตามอายุ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ จำแนกตามอาชีพ มีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ส่วนด้านเพศ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และด้านศาสนา พบว่า ไม่แตกต่างกัน
4.2 การเปรียบเทียบลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ไม่แตกต่างกัน
4.3 การเปรียบเทียบความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อ การตัดสินใจเลือกใช้บริการ และความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27448 SIU IS-T. ความคาดหวังของผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอต่อสื่อสังคมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร = Expectations of Users of Wedding Studios on Social Media in Bangkok Areas [printed text] / อรญาฎา บุญศิริ, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xii, 77 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-05
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สื่อสังคมออนไลน์ -- กรุงเทพฯ Keywords: ความคาดหวัง,
ผู้ใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอ,
สื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 4) เพื่อศึกษาความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ประชากรคู่แต่งงานที่เป็นผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คู่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way Analysis of Variance-ANOVA) และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (Multiple-Comparison) ของ LSD
ผลการศึกษาพบว่า
1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุ 20-30 ปี มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน 20001-30000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ
2) ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ส่วนใหญ่ตั้งใจเลือกใช้ร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงานของท่าน ตั้งใจว่าต้องใช้ร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงานเท่านั้น ใช้เวลานานเท่าใดในการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่องานแต่งงาน คิดว่าร้านเวดดิ้งสตูดิโอ ควรให้บริการในด้านใดเพิ่มเติมจากที่ให้บริการอยู่ในปัจจุบัน และคิดว่าในภาพรวมการจัดงานแต่งงานจากร้านเวดดิ้งสตูดิโอกับจัดงานแต่งงานกันเองอย่างไหนดีกว่ากัน
3) ผลการวิเคราะห์เกี่ยวกับเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ส่วนใหญ่การตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
4) การทดสอบสมมุติฐาน
4.1 การเปรียบเทียบลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า จำแนกตามอายุ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ จำแนกตามอาชีพ มีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ส่วนด้านเพศ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และด้านศาสนา พบว่า ไม่แตกต่างกัน
4.2 การเปรียบเทียบลักษณะประชากรของผู้ใช้บริการเวดดิ้งสตูดิโอทางสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ไม่แตกต่างกัน
4.3 การเปรียบเทียบความสำคัญในการเลือกร้านเวดดิ้งสตูดิโอเพื่อใช้ในงานแต่งงานจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานครต่อ การตัดสินใจเลือกใช้บริการ และความคาดหวังในการใช้บริการร้านเวดดิ้งสตูดิโอจากสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27448 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595809 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-05 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595791 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร / อังคณา สุระอารีย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร Original title : Understanding the Violation of Privacy Right of Working People in Bangkok Metropolis using Social Networks: The Case of Facebook Material Type: printed text Authors: อังคณา สุระอารีย์, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 57 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ละเมิด
[LCSH]สิทธิส่วนบุคคล
[LCSH]เฟซบุ๊คKeywords: การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, พฤติกรรมการใช้ Facebook, วัยทำงาน Abstract: Facebook เป็นเครือข่ายสังคม online ที่นิยมสูงสุดทั่วโลกโดยมีลักษณะการใช้เป็นการ post ข้อความ upload รูปภาพหรือ VDO ต่าง ๆ ที่เป็นของตนเองและบุคคลอื่น การถ่ายทอดสด (Live) รวมถึงการ share ข้อมูล รูปภาพหรือ VDO ของผู้ใช้ Facebook รายอื่น ๆ ด้วยลักษณะการใช้งานดังกล่าว ที่อาจจะทำให้เกิดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และส่งผลกระทบต่อผู้ละเมิดและถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรวัยทำงานของ
ผู้ใช้ Facebook ด้านความเข้าใจสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลวัยทำงานผู้ใช้ Facebook ที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลด้วยการสื่อสารผ่านทาง Facebook ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้ Facebook ของบุคคลวัยทำงานกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความเข้าใจเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลวัยทำงานต่อการใช้ Facebook ในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครผู้ใช้ Facebook จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Coefficients) เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ ANOVA เมื่อพบค่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ด้านลักษณะประชากรระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook และด้านเนื้อหาที่ใช้ เรื่องที่ post แตกต่างกัน มีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook โดยผู้วิจัยได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างวัยทำงานเฉพาะในกรุงเทพมหานครเท่านั้น จึงควรเพิ่มการวิจัยในกลุ่มประชากรกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากการใช้งาน Facebook มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในทุก ๆ วัยCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27604 SIU THE-T. ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร = Understanding the Violation of Privacy Right of Working People in Bangkok Metropolis using Social Networks: The Case of Facebook [printed text] / อังคณา สุระอารีย์, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 57 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ละเมิด
[LCSH]สิทธิส่วนบุคคล
[LCSH]เฟซบุ๊คKeywords: การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, พฤติกรรมการใช้ Facebook, วัยทำงาน Abstract: Facebook เป็นเครือข่ายสังคม online ที่นิยมสูงสุดทั่วโลกโดยมีลักษณะการใช้เป็นการ post ข้อความ upload รูปภาพหรือ VDO ต่าง ๆ ที่เป็นของตนเองและบุคคลอื่น การถ่ายทอดสด (Live) รวมถึงการ share ข้อมูล รูปภาพหรือ VDO ของผู้ใช้ Facebook รายอื่น ๆ ด้วยลักษณะการใช้งานดังกล่าว ที่อาจจะทำให้เกิดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และส่งผลกระทบต่อผู้ละเมิดและถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรวัยทำงานของ
ผู้ใช้ Facebook ด้านความเข้าใจสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลวัยทำงานผู้ใช้ Facebook ที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลด้วยการสื่อสารผ่านทาง Facebook ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้ Facebook ของบุคคลวัยทำงานกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความเข้าใจเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลวัยทำงานต่อการใช้ Facebook ในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครผู้ใช้ Facebook จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Coefficients) เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ ANOVA เมื่อพบค่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ด้านลักษณะประชากรระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook และด้านเนื้อหาที่ใช้ เรื่องที่ post แตกต่างกัน มีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook โดยผู้วิจัยได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างวัยทำงานเฉพาะในกรุงเทพมหานครเท่านั้น จึงควรเพิ่มการวิจัยในกลุ่มประชากรกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากการใช้งาน Facebook มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในทุก ๆ วัยCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27604 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596880 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596872 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. งานวิจัยการปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา / รัตนาภา ติษยางกูร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU IS-T Title : งานวิจัยการปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา Original title : Improvement of Business Process Management in the Procurement and Maintenance of Educational Institutions Material Type: printed text Authors: รัตนาภา ติษยางกูร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 43 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-03
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดซื้อ
[LCSH]การบำรุงรักษา
[LCSH]สถานศึกษาKeywords: สถาบันการศึกษา,
การจัดซื้อ,
การจองห้องประชุม,
การซ่อมบำรุงAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำงานของสถาบันการศึกษาในกระบวนการจัดซื้อ กระบวนการจองห้องประชุม และกระบวนการซ่อมบำรุง เนื่องจากในปัจจุบันสถาบันการศึกษาส่วนใหญ่มีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการงานด้านต่าง ๆ มากขึ้น ทำให้ประสบปัญหาการทำงานที่ไม่สอดรับกับเทคโนโลยีที่เข้ามา การศึกษาใช้รูปแบบการศึกษาเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลบนเว็บไซต์ และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงาน ดำเนินการวิจัยโดย (1) ศึกษาขั้นตอนกระบวนการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ฝ่ายจัดซื้อและพัสดุ และฝ่ายอาคาร (2) นำเสนอกระบวนการทำงานของแต่ละกระบวนการในรูปแบบของ Workflow เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในแต่ละกระบวนการทำงาน (3) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้วยหลักการ APQC เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการทำงานของสถาบันการศึกษา
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า การปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา โดยนำแนวคิดของ Workflow มาใช้ช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการทำงานแบบ Manual ได้ เป็นการลดขั้นตอนการทำงาน ช่วยในการจัดเก็บข้อมูล และการประมวลผลออกรายงานที่จำเป็นภายในสถาบัน สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้มีความถูกต้อง แม่นยำ สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27856 SIU IS-T. งานวิจัยการปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา = Improvement of Business Process Management in the Procurement and Maintenance of Educational Institutions [printed text] / รัตนาภา ติษยางกูร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 43 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-03
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2018.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดซื้อ
[LCSH]การบำรุงรักษา
[LCSH]สถานศึกษาKeywords: สถาบันการศึกษา,
การจัดซื้อ,
การจองห้องประชุม,
การซ่อมบำรุงAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำงานของสถาบันการศึกษาในกระบวนการจัดซื้อ กระบวนการจองห้องประชุม และกระบวนการซ่อมบำรุง เนื่องจากในปัจจุบันสถาบันการศึกษาส่วนใหญ่มีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการงานด้านต่าง ๆ มากขึ้น ทำให้ประสบปัญหาการทำงานที่ไม่สอดรับกับเทคโนโลยีที่เข้ามา การศึกษาใช้รูปแบบการศึกษาเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลบนเว็บไซต์ และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงาน ดำเนินการวิจัยโดย (1) ศึกษาขั้นตอนกระบวนการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ฝ่ายจัดซื้อและพัสดุ และฝ่ายอาคาร (2) นำเสนอกระบวนการทำงานของแต่ละกระบวนการในรูปแบบของ Workflow เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในแต่ละกระบวนการทำงาน (3) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้วยหลักการ APQC เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการทำงานของสถาบันการศึกษา
จากการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า การปรับปรุงกระบวนการในการจัดซื้อและการซ่อมบำรุงของสถาบันการศึกษา โดยนำแนวคิดของ Workflow มาใช้ช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการทำงานแบบ Manual ได้ เป็นการลดขั้นตอนการทำงาน ช่วยในการจัดเก็บข้อมูล และการประมวลผลออกรายงานที่จำเป็นภายในสถาบัน สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้มีความถูกต้อง แม่นยำ สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27856 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598332 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598472 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2018-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท / อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท Original title : Factors Affecting the Selection of Mobile Networks of People in Bangkok Metropolis Case Study: Areas of Phayathai District Material Type: printed text Authors: อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 71 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พฤติกรรมผู้ใช้บริการKeywords: เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่,
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่,
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ของประชาชนที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนกับการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร เขตพญาไท จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (One-way analysis of variance – ANOVA) และเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ Scheffe ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-24 ปี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่มีจำนวนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้งาน 1 เครือข่าย เป็นระบบรายเดือน (Postpaid) เครือข่าย AIS และไม่เคยเปลี่ยนเครือข่ายการใช้งาน ปัจจัยที่ทำให้มีแนวโน้มการเปลี่ยนเครือข่าย คือ ประสิทธิภาพเครือข่ายที่ดีกว่า โดยระยะเวลาในการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ยต่อวัน มากกว่า 4 ชั่วโมง ใช้งานในช่วงเวลา 16.01 – 21.00 น. ค่าใช้บริการเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 501 – 1,000 บาท กิจกรรมที่ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้งานสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ คือตนเอง ส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถเรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิภาพสัญญาณ รองลงมา คือ ด้านความสะดวกและการให้บริการ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านภาพลักษณ์ของเครือข่ายผู้ให้บริการ ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27449 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท = Factors Affecting the Selection of Mobile Networks of People in Bangkok Metropolis Case Study: Areas of Phayathai District [printed text] / อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 71 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พฤติกรรมผู้ใช้บริการKeywords: เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่,
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่,
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ของประชาชนที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนกับการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร เขตพญาไท จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (One-way analysis of variance – ANOVA) และเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ Scheffe ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-24 ปี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่มีจำนวนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้งาน 1 เครือข่าย เป็นระบบรายเดือน (Postpaid) เครือข่าย AIS และไม่เคยเปลี่ยนเครือข่ายการใช้งาน ปัจจัยที่ทำให้มีแนวโน้มการเปลี่ยนเครือข่าย คือ ประสิทธิภาพเครือข่ายที่ดีกว่า โดยระยะเวลาในการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ยต่อวัน มากกว่า 4 ชั่วโมง ใช้งานในช่วงเวลา 16.01 – 21.00 น. ค่าใช้บริการเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 501 – 1,000 บาท กิจกรรมที่ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้งานสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ คือตนเอง ส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถเรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิภาพสัญญาณ รองลงมา คือ ด้านความสะดวกและการให้บริการ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านภาพลักษณ์ของเครือข่ายผู้ให้บริการ ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27449 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595817 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595825 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. พฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร / สาลินี จันทวงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : พฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร Original title : Behaviors of Purchasing On-Line Game Products and Using Game Services on Smartphones by Teenagers Who Study in Areas in Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: สาลินี จันทวงศ์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 56 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-07
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- กรุงเทพฯ
[LCSH]เกมออนไลน์Keywords: ผู้ผลิตเกมออนไลน์,
พฤติกรรมซื้อสินค้าในเกม,
บริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของวัยรุ่นต่อการเล่นเกมบนโทรศัพท์
เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสนใจของการเลือกซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร การทำวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรวัยรุ่นที่มีอายุ 18-23 ปีที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครและเล่นเกมออนไลน์เป็นประจำจำนวน 400 คนโดยแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจำนวน 400 ชุด ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย นับถือศาสนาพุทธ เป็นช่วงอายุ 18-19 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 1-3 คน ผู้ปกครองอาชีพมีอาชีพรับจ้าง ผู้ปกครองมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 - 40,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เล่นเกม RPG (เก็บเลเวล) มีแรงบันดาลใจจากการเล่นตามเพื่อนมากที่สุด และมีปัจจัยที่ดึงดูดในเกมคือเนื้อหามากที่สุด จะเล่นเกมตามความสนใจของตนเองมากที่สุด ชื่นชอบการออกแบบการพัฒนาการของตัวละครและสนใจระบบซื้อของเพื่อพัฒนาตัวละครมากที่สุด และอยากให้บริษัทผู้ผลิตเกมออนไลน์พัฒนาภาพที่แสดงสมจริงมากขึ้น
วัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร มีพฤติกรรมซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
อยู่ในระดับสูงที่สุด คือ คาดหวังก่อนซื้อของในเกมเสมอ มีขอบเขตในการเลือกซื้อของในเกม และวางแผนการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อของในเกมทุกครั้ง มีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับสูง
ส่วนระดับพฤติกรรมซื้อสินค้าและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่ในระดับต่ำที่สุด คือ เลือกซื้อของในเกมตามกระแสนิยมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27450 SIU IS-T. พฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร = Behaviors of Purchasing On-Line Game Products and Using Game Services on Smartphones by Teenagers Who Study in Areas in Bangkok Metropolis [printed text] / สาลินี จันทวงศ์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 56 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-07
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภค -- กรุงเทพฯ
[LCSH]เกมออนไลน์Keywords: ผู้ผลิตเกมออนไลน์,
พฤติกรรมซื้อสินค้าในเกม,
บริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของวัยรุ่นต่อการเล่นเกมบนโทรศัพท์
เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสนใจของการเลือกซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของวัยรุ่นที่ศึกษาในกรุงเทพมหานคร การทำวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรวัยรุ่นที่มีอายุ 18-23 ปีที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครและเล่นเกมออนไลน์เป็นประจำจำนวน 400 คนโดยแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจำนวน 400 ชุด ในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ เพื่อทดสอบสมมติฐาน วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความพึงพอใจ โดยใช้ t-test ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีสองกลุ่ม ใช้ One – Way ANOVA (F-test) ทดสอบของกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่าสองกลุ่ม โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย นับถือศาสนาพุทธ เป็นช่วงอายุ 18-19 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 1-3 คน ผู้ปกครองอาชีพมีอาชีพรับจ้าง ผู้ปกครองมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 - 40,000 บาท โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เล่นเกม RPG (เก็บเลเวล) มีแรงบันดาลใจจากการเล่นตามเพื่อนมากที่สุด และมีปัจจัยที่ดึงดูดในเกมคือเนื้อหามากที่สุด จะเล่นเกมตามความสนใจของตนเองมากที่สุด ชื่นชอบการออกแบบการพัฒนาการของตัวละครและสนใจระบบซื้อของเพื่อพัฒนาตัวละครมากที่สุด และอยากให้บริษัทผู้ผลิตเกมออนไลน์พัฒนาภาพที่แสดงสมจริงมากขึ้น
วัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร มีพฤติกรรมซื้อสินค้าในเกมและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
อยู่ในระดับสูงที่สุด คือ คาดหวังก่อนซื้อของในเกมเสมอ มีขอบเขตในการเลือกซื้อของในเกม และวางแผนการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อของในเกมทุกครั้ง มีระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับสูง
ส่วนระดับพฤติกรรมซื้อสินค้าและบริการเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อยู่ในระดับต่ำที่สุด คือ เลือกซื้อของในเกมตามกระแสนิยมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27450 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595841 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-07 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595833 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-07 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. เทคนิคการโน้มน้าวใจ ด้วยหลักการตลาด ไลฟ์สไตล์ / ธนวัฒน์ วีระถาวร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : เทคนิคการโน้มน้าวใจ ด้วยหลักการตลาด ไลฟ์สไตล์ Original title : Persuasive Techniques Using Lifestyle Marketing Concepts Material Type: printed text Authors: ธนวัฒน์ วีระถาวร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 31 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Lifestyles
[LCSH]การตลาด
[LCSH]การโน้มน้าวใจKeywords: Life style,
การตลาด,
ทฤษฎีการสื่อสารโน้มน้าวใจAbstract: การสื่อสารด้วยการโน้มน้าวใจ เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากในด้านการตลาด หากสามารถโน้มน้าวใจให้ผู้บริโภคเชื่อมัน และเห็นด้วยกับการนำเสนอของเรา จะสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมการซื้อได้อย่างง่ายดาย ในที่นี้จะทำการ Life style เป็นตัวโน้มน้าวใจ เนื่องจากยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนเราใช้ชีวิตได้สะสวกสบายมากขึ้น คนจึงติดกับวิถีชีวิตที่สะดวกสบายในการบริโภคของต่างๆ จนทำให้คำนึงเรื่องราคารองลงมา ดังนั้นการที่เราจะสามารถโน้มน้าวได้ เราต้องกำหนดว่า สินค้าของเราเชื่อมโยงกับ Life styleแบบใด และจะนำเสนออย่างไรให้ลูกค้า ยินดีที่จะใช้บริการของเรา Curricular : BALA/GE/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27300 SIU IS-T. เทคนิคการโน้มน้าวใจ ด้วยหลักการตลาด ไลฟ์สไตล์ = Persuasive Techniques Using Lifestyle Marketing Concepts [printed text] / ธนวัฒน์ วีระถาวร, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 31 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Lifestyles
[LCSH]การตลาด
[LCSH]การโน้มน้าวใจKeywords: Life style,
การตลาด,
ทฤษฎีการสื่อสารโน้มน้าวใจAbstract: การสื่อสารด้วยการโน้มน้าวใจ เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากในด้านการตลาด หากสามารถโน้มน้าวใจให้ผู้บริโภคเชื่อมัน และเห็นด้วยกับการนำเสนอของเรา จะสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมการซื้อได้อย่างง่ายดาย ในที่นี้จะทำการ Life style เป็นตัวโน้มน้าวใจ เนื่องจากยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนเราใช้ชีวิตได้สะสวกสบายมากขึ้น คนจึงติดกับวิถีชีวิตที่สะดวกสบายในการบริโภคของต่างๆ จนทำให้คำนึงเรื่องราคารองลงมา ดังนั้นการที่เราจะสามารถโน้มน้าวได้ เราต้องกำหนดว่า สินค้าของเราเชื่อมโยงกับ Life styleแบบใด และจะนำเสนออย่างไรให้ลูกค้า ยินดีที่จะใช้บริการของเรา Curricular : BALA/GE/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27300 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595148 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595130 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล / กรรณิการ ฉัตรศรีแก้ว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล Original title : A Guideline for Development of Smartphone by Mobile Network Providers Affecting the Needs of People in Bangkok Metropolis and the Outskirts of Bangkok Material Type: printed text Authors: กรรณิการ ฉัตรศรีแก้ว, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xii, 79 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-02
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]สมาร์ทโฟน
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่Keywords: แนวทางพัฒนา Smartphone, ผู้ให้บริการระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ Abstract: วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone แต่ละผู้ให้บริการระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีแนวทางพัฒนามีผลต่อความต้องการ และการใช้ประโยชน์โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ในระดับที่ต่างกัน 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ แต่ละระบบของผู้ให้บริการ 3) ศึกษาระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีแนวทางพัฒนามีผลต่อความต้องการ และการใช้ประโยชน์โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ในระดับที่ต่างกัน 4) ศึกษาเทคนิคการนำเสนอการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphoneของผู้ใช้ แต่ละผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์
เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 5) ศึกษาความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ที่บ่งชี้ถึงแนวทางพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่โทรศัพท์ เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 386 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way Analysis of Variance--ANOVA) การเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD และการหาความสัมพันธ์โดยใช้การหาค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า
ลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุ 30-34 ปี มากที่สุด มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน มากกว่า 30,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ
พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone คือ มีการใช้ทุกวัน ใช้แต่ละครั้งนาน 1-2 ชม. ช่วงเวลาที่ใช้มากที่สุด เวลา 20.00-22.00 น. ใช้ในที่พักอาศัย มีโทรศัพท์ 1 เครื่อง ใช้ในกิจกรรมความบันเทิง/
ดูหนัง ฟังเพลง และ เหตุผลที่ใช้ คือ ความบันเทิง
ระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ใช้ระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใช้มากที่สุด คือ ได้แก่ AIS ระบบสัญญาณ 4G ยี่ห้อ Apple ราคามากกว่า 25,000 บาท และอิทธิผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้โทรศัพท์ ได้แก่ ตนเอง
ความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ที่บ่งชี้ถึงแนวทางพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายได้รวดเร็ว รองรับระบบสัญญาณที่ทันสมัยในอนาคต และความสามารถขยาย RAM ได้มาก
การเปรียบเทียบลักษณะของประชากรต่อแนวทางการพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
การเปรียบเทียบเทคนิคการนำเสนอการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ต่อแนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
ความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ต่อการพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์
เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กัน โดยมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกในบางข้อ ในระดับน้อย ในหัวข้อรูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวก กับสามารถเชื่อมต่อระบบนอกเครือข่ายได้ รูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวกกับออกแบบ Program สั่งงานระบบ Remote Control ได้ และรูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวกกับมีระบบชาร์ตแบบเตอรี่อัตโนมัติ
แนวทางพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone มีระบบรองรับสัญญาณในอนาคตได้ ( = 4.59) อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ มีระบบชาร์ตแบตเตอรี่อัตโนมัติ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.56) และพัฒนาน้อยที่สุด ได้แก่ ตัวเครื่องกันน้ำระดับลึกได้ดี กับออกแบบ Program สั่งงานระบบ Remote มีระดับมาก ( = 4.33) เท่ากันCurricular : BALA/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27652 SIU THE-T. แนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล = A Guideline for Development of Smartphone by Mobile Network Providers Affecting the Needs of People in Bangkok Metropolis and the Outskirts of Bangkok [printed text] / กรรณิการ ฉัตรศรีแก้ว, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xii, 79 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-02
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]สมาร์ทโฟน
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่Keywords: แนวทางพัฒนา Smartphone, ผู้ให้บริการระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ Abstract: วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone แต่ละผู้ให้บริการระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีแนวทางพัฒนามีผลต่อความต้องการ และการใช้ประโยชน์โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ในระดับที่ต่างกัน 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ แต่ละระบบของผู้ให้บริการ 3) ศึกษาระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีแนวทางพัฒนามีผลต่อความต้องการ และการใช้ประโยชน์โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ในระดับที่ต่างกัน 4) ศึกษาเทคนิคการนำเสนอการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphoneของผู้ใช้ แต่ละผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์
เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 5) ศึกษาความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ที่บ่งชี้ถึงแนวทางพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่โทรศัพท์ เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 386 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way Analysis of Variance--ANOVA) การเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD และการหาความสัมพันธ์โดยใช้การหาค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า
ลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุ 30-34 ปี มากที่สุด มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน มากกว่า 30,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ
พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone คือ มีการใช้ทุกวัน ใช้แต่ละครั้งนาน 1-2 ชม. ช่วงเวลาที่ใช้มากที่สุด เวลา 20.00-22.00 น. ใช้ในที่พักอาศัย มีโทรศัพท์ 1 เครื่อง ใช้ในกิจกรรมความบันเทิง/
ดูหนัง ฟังเพลง และ เหตุผลที่ใช้ คือ ความบันเทิง
ระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ใช้ระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใช้มากที่สุด คือ ได้แก่ AIS ระบบสัญญาณ 4G ยี่ห้อ Apple ราคามากกว่า 25,000 บาท และอิทธิผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้โทรศัพท์ ได้แก่ ตนเอง
ความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ที่บ่งชี้ถึงแนวทางพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายได้รวดเร็ว รองรับระบบสัญญาณที่ทันสมัยในอนาคต และความสามารถขยาย RAM ได้มาก
การเปรียบเทียบลักษณะของประชากรต่อแนวทางการพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
การเปรียบเทียบเทคนิคการนำเสนอการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ต่อแนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
ความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ต่อการพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์
เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กัน โดยมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกในบางข้อ ในระดับน้อย ในหัวข้อรูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวก กับสามารถเชื่อมต่อระบบนอกเครือข่ายได้ รูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวกกับออกแบบ Program สั่งงานระบบ Remote Control ได้ และรูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวกกับมีระบบชาร์ตแบบเตอรี่อัตโนมัติ
แนวทางพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone มีระบบรองรับสัญญาณในอนาคตได้ ( = 4.59) อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ มีระบบชาร์ตแบตเตอรี่อัตโนมัติ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.56) และพัฒนาน้อยที่สุด ได้แก่ ตัวเครื่องกันน้ำระดับลึกได้ดี กับออกแบบ Program สั่งงานระบบ Remote มีระดับมาก ( = 4.33) เท่ากันCurricular : BALA/MTEIL Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27652 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597110 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597144 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available