From this page you can:
Home |
Author details
Author วรเดช จันทรศร
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesClipping Collection. อุดมศึกษาไทยในเวทียุโรปการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศที่เป็นหนึ่งด้านวิศวกรรมของโลก / วรเดช จันทรศร
Collection Title: Clipping Collection Title : อุดมศึกษาไทยในเวทียุโรปการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศที่เป็นหนึ่งด้านวิศวกรรมของโลก Material Type: electronic document Authors: วรเดช จันทรศร, Author Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การถ่ายทอดเทคโนโลยี
[LCSH]วิศวกรรมศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]วิศวกรรมศาสตร์ -- หลักสูตร
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษา -- การถ่ายทอดเทคโนโลยีRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=12563 Clipping Collection. อุดมศึกษาไทยในเวทียุโรปการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศที่เป็นหนึ่งด้านวิศวกรรมของโลก [electronic document] / วรเดช จันทรศร, Author . - [s.d.].
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การถ่ายทอดเทคโนโลยี
[LCSH]วิศวกรรมศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]วิศวกรรมศาสตร์ -- หลักสูตร
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษา -- การถ่ายทอดเทคโนโลยีRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=12563 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000203461 T04009 Clipping Main Library Clipping Shelf Available SIU THE-T. การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน / กิจเสริม เวศย์ไกรศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน Original title : Strategies Management for Building a Competitive Advantage in Thai Rice Export to International Asean Economic Communication (AEC) Material Type: printed text Authors: กิจเสริม เวศย์ไกรศรี, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 185 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการเชิงกลยุทธ์
[LCSH]ข้าว -- ไทย -- การส่งออกKeywords: การจัดการเชิงกลยุทธ์, การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน, การส่งออกข้าวไทย, ประชาคมอาเซียน Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อทราบถึงปัจจัยที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย เพื่อทราบถึงคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สร้างความได้เปรียบในการดำเนินการส่งออกข้าวไทย และเพื่อทราบแนวทางหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึกเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 12 คน ผลการวิจัยได้ข้อค้นพบองค์ความรู้ คือ การที่ผู้ส่งออกจะได้เปรียบทางการแข่งขันต้องนำทฤษฎีความร่วมมือมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งออก เนื่องจากต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้ส่งออกและภาครัฐ โดยที่รัฐบาลให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน และพัฒนาปรับปรุงนโยบายสาธารณะในการส่งออกข้าวไทย ตลอดจนนำแนวคิดเกี่ยวกับ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) มาใช้ในการส่งออกข้าว และนำทฤษฎีระบบเปิดมาใช้ในการตลาดเพื่อนำทฤษฎีนี้มาใช้ในการจัดการองค์การให้มีความทันสมัย และต้องมีการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการพัฒนาระบบการส่งออกข้าวไทยให้มีประสิทธิภาพและความได้เปรียบทางการแข่งขันใน การส่งออกมากยิ่งๆ ขึ้น และจากการศึกษาพบประเด็นปัญหาที่ทำให้ความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนลดลง ประกอบด้วยปัญหาต้นทุนการผลิตต่อไร่สูงแต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจำกัด งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตข้าวน้อยเกินไป ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ขาดการประชาสัมพันธ์ในการสร้าง ตราสินค้าข้าวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก ระบบและต้นทุนขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะประเทศเวียดนาม และไม่มีนโยบายและ ยุทธศาสตร์ข้าวที่ชัดเจนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นหากต้องการจะเพิ่มความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน สามารถดำเนินการได้โดยผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทยต้องร่วมมือกับรัฐบาลไทยให้มากขึ้น และรัฐบาลไทยจะต้องให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน จะต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนให้มีความชัดเจน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27863 SIU THE-T. การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน = Strategies Management for Building a Competitive Advantage in Thai Rice Export to International Asean Economic Communication (AEC) [printed text] / กิจเสริม เวศย์ไกรศรี, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 185 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการเชิงกลยุทธ์
[LCSH]ข้าว -- ไทย -- การส่งออกKeywords: การจัดการเชิงกลยุทธ์, การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน, การส่งออกข้าวไทย, ประชาคมอาเซียน Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อทราบถึงปัจจัยที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย เพื่อทราบถึงคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สร้างความได้เปรียบในการดำเนินการส่งออกข้าวไทย และเพื่อทราบแนวทางหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึกเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 12 คน ผลการวิจัยได้ข้อค้นพบองค์ความรู้ คือ การที่ผู้ส่งออกจะได้เปรียบทางการแข่งขันต้องนำทฤษฎีความร่วมมือมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งออก เนื่องจากต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้ส่งออกและภาครัฐ โดยที่รัฐบาลให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน และพัฒนาปรับปรุงนโยบายสาธารณะในการส่งออกข้าวไทย ตลอดจนนำแนวคิดเกี่ยวกับ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) มาใช้ในการส่งออกข้าว และนำทฤษฎีระบบเปิดมาใช้ในการตลาดเพื่อนำทฤษฎีนี้มาใช้ในการจัดการองค์การให้มีความทันสมัย และต้องมีการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการพัฒนาระบบการส่งออกข้าวไทยให้มีประสิทธิภาพและความได้เปรียบทางการแข่งขันใน การส่งออกมากยิ่งๆ ขึ้น และจากการศึกษาพบประเด็นปัญหาที่ทำให้ความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนลดลง ประกอบด้วยปัญหาต้นทุนการผลิตต่อไร่สูงแต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจำกัด งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตข้าวน้อยเกินไป ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ขาดการประชาสัมพันธ์ในการสร้าง ตราสินค้าข้าวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก ระบบและต้นทุนขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะประเทศเวียดนาม และไม่มีนโยบายและ ยุทธศาสตร์ข้าวที่ชัดเจนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นหากต้องการจะเพิ่มความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน สามารถดำเนินการได้โดยผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทยต้องร่วมมือกับรัฐบาลไทยให้มากขึ้น และรัฐบาลไทยจะต้องให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน จะต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนให้มีความชัดเจน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27863 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597920 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000597912 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ / หทัยรัตน์ สนสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ Original title : Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice Material Type: printed text Authors: หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 95 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ
[LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบกKeywords: พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 SIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ = Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice [printed text] / หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 95 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ
[LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบกKeywords: พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000599041 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598985 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย / พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย Original title : The Study of Administration in Gems and Thai Jewelry Material Type: printed text Authors: พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 138 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อัญมณี
[LCSH]เครื่องประดับ
[LCSH]เจ้าของกิจการKeywords: การบริหาร.
อัญมณี เครื่องประดับไทย.
หุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน.Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับของความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางธุรกิจที่มีผลต่อการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทยและเพื่อศึกษาแนวโน้มและทิศทางของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ผู้บริหารของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย และผู้ประกอบกิจการหรือผู้แทน จำนวน 400 คน ตัวแปร ประกอบด้วย ตัวแปรทางการบริหารและตัวแปรทางธุรกิจ และตัวแปรตาม คือ ความสำเร็จของการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้วิธีการทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ประกอบด้วยสถิติพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า..
1. ความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย อยู่ในระดับค่อนข้างมาก 2. ตัวแปรจำนวนทั้งหมด 6 ตัว ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี กล่าวคือ ปัจจัยที่ส่งผลทางบวกมี 5 ตัว ได้แก่ ป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ (socp)
แหล่งเงินทุน (abc) การสร้างแบรนด์ (socb) นโยบายของรัฐ (socg) การมีเครือข่าย / พันธมิตรทางการค้า (and) และส่วนปัจจัยที่มีผลทางลบ คือ การตลาด/การโฆษณา (adm) ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี ตัวแปรทั้ง 6 ตัวเหล่านี้ สามารถทำนายหรือพยากรณ์ผลของความสำเร็จได้ ร้อยละ 68 โดยมีความคลาดเคลื่อน เป็นร้อยละ 23.8 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้
Y = .543+ (.462 socp )+ ( .321abc) + (.180socb)+( .171socg) +( .128adn)+ (-.379adm)
งานวิจัยนี้ได้นำไปสู่ข้อค้นพบทางการบริหารจัดการ ที่สะท้อนให้เห็นว่าแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่รัฐควรจะให้ความสนันสนุนเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจของผู้ประกอบกิจการทางด้านนี้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26554 SIU THE-T. การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย = The Study of Administration in Gems and Thai Jewelry [printed text] / พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 138 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อัญมณี
[LCSH]เครื่องประดับ
[LCSH]เจ้าของกิจการKeywords: การบริหาร.
อัญมณี เครื่องประดับไทย.
หุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน.Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับของความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางธุรกิจที่มีผลต่อการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทยและเพื่อศึกษาแนวโน้มและทิศทางของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ผู้บริหารของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย และผู้ประกอบกิจการหรือผู้แทน จำนวน 400 คน ตัวแปร ประกอบด้วย ตัวแปรทางการบริหารและตัวแปรทางธุรกิจ และตัวแปรตาม คือ ความสำเร็จของการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้วิธีการทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ประกอบด้วยสถิติพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า..
1. ความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย อยู่ในระดับค่อนข้างมาก 2. ตัวแปรจำนวนทั้งหมด 6 ตัว ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี กล่าวคือ ปัจจัยที่ส่งผลทางบวกมี 5 ตัว ได้แก่ ป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ (socp)
แหล่งเงินทุน (abc) การสร้างแบรนด์ (socb) นโยบายของรัฐ (socg) การมีเครือข่าย / พันธมิตรทางการค้า (and) และส่วนปัจจัยที่มีผลทางลบ คือ การตลาด/การโฆษณา (adm) ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี ตัวแปรทั้ง 6 ตัวเหล่านี้ สามารถทำนายหรือพยากรณ์ผลของความสำเร็จได้ ร้อยละ 68 โดยมีความคลาดเคลื่อน เป็นร้อยละ 23.8 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้
Y = .543+ (.462 socp )+ ( .321abc) + (.180socb)+( .171socg) +( .128adn)+ (-.379adm)
งานวิจัยนี้ได้นำไปสู่ข้อค้นพบทางการบริหารจัดการ ที่สะท้อนให้เห็นว่าแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่รัฐควรจะให้ความสนันสนุนเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจของผู้ประกอบกิจการทางด้านนี้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26554 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592012 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592046 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง / วิภารัตน์ รักกลาง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง Original title : Academic Administration of Elementary Schools in the Pluak Daeng Development Group, Rayong Province Material Type: printed text Authors: วิภารัตน์ รักกลาง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 77 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Elementary schools
[LCSH]การศึกษาขั้นประถม -- ไทย
[LCSH]งานวิชาการ -- การบริหารKeywords: โรงเรียนประถมศึกษา Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง จำนวน 4 ด้าน คือ ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดผลและประเมินผล จำแนกตามสาระการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้บริหารโรงเรียน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26098 SIU IS-T. การบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง = Academic Administration of Elementary Schools in the Pluak Daeng Development Group, Rayong Province [printed text] / วิภารัตน์ รักกลาง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 77 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Elementary schools
[LCSH]การศึกษาขั้นประถม -- ไทย
[LCSH]งานวิชาการ -- การบริหารKeywords: โรงเรียนประถมศึกษา Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา กลุ่มปลวกแดงพัฒนา จังหวัดระยอง จำนวน 4 ด้าน คือ ด้านหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านการวัดผลและประเมินผล จำแนกตามสาระการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้บริหารโรงเรียน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26098 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590131 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-17 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590149 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-17 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province [printed text] / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590099 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590073 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590610 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ Original title : Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) Material Type: printed text Authors: สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 198 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ = Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) [printed text] / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 198 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550853 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550861 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Cross-cultural management Holden,, Nigel J. SIU THE-T. การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ / นันทพงศ์ อินทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ : Policy Evaluation of Copyright ACT 2573 (1994) For The Copyright Infringement in Cinematographic Works Material Type: printed text Authors: นันทพงศ์ อินทอง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; บุญทัน ดอกไธสง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 194 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การละเมิดลิขสิทธิ์
[LCSH]ลิขสิทธิ์Keywords: การประเมินนโยบาย, การละเมิดลขสิทธิ์งานภาพยนตร์, พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ 2) เพื่อประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ 3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ ผู้วิจัย และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีโครงสร้าง รวมทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 38 คน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็น 3 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์เป็นหน่วยปฏิบัติงานหลัก ได้แก่ 1) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2) กรมทรัพย์สินทางปัญญา 3) สำนักงานอัยการฝ่ายคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ส่วนที่สอง เป็นการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรก คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สอง ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สาม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สี่ ผู้จัดการโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ ในระดับมหภาพ และการดำเนินการในระดับจุลภาพเป็นเพียงดำเนินการตามผลของการกระทำผิดเท่านั้น ไม่มีการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การป้องกันปราบปรามมีความยากลำบาก และจากการประเมินผลนโยบายการนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากมีการประกาศใช้ พรบ. ลิขสิทธิ์นี้ การละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ เป็นปรากฎการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่มีวิธีการศึกษาในการหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ถึงแม้ว่ามีการจับกุม ดำเนินคดี หรือการยอมความ แต่ผู้ละเมิดยังมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ผู้นำของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการละเมิดลิขสิทธิ์เท่าที่ควรจะเป็นในเรื่องการสื่อสาร การสั่งการ ก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ คือ ทฤษฎีทางหลักนิติศาสตร์ กับ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ มีความไม่สอดคล้องกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ ด้านมหภาพ ผู้นำรัฐควรสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนให้เกิดวัฒนธรรมและค่านิยมให้เกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ รัฐควรกำหนดอัตราโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำความผิด เพื่อการแก้ไขปัญหาการใช้โทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการใช้สิทธิโดยมิชอบของเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรมีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงกฎหมายลิขสิทธิ์อย่างสม่ำเสมอ ควรจัดให้มีการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ด้านจุลภาพ ในหน่วยปฏิบัติงานควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงความผิดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ และในกระบวนการการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27771 SIU THE-T. การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ : Policy Evaluation of Copyright ACT 2573 (1994) For The Copyright Infringement in Cinematographic Works [printed text] / นันทพงศ์ อินทอง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; บุญทัน ดอกไธสง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 194 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การละเมิดลิขสิทธิ์
[LCSH]ลิขสิทธิ์Keywords: การประเมินนโยบาย, การละเมิดลขสิทธิ์งานภาพยนตร์, พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ 2) เพื่อประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ 3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ ผู้วิจัย และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีโครงสร้าง รวมทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 38 คน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็น 3 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์เป็นหน่วยปฏิบัติงานหลัก ได้แก่ 1) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2) กรมทรัพย์สินทางปัญญา 3) สำนักงานอัยการฝ่ายคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ส่วนที่สอง เป็นการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรก คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สอง ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สาม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สี่ ผู้จัดการโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ ในระดับมหภาพ และการดำเนินการในระดับจุลภาพเป็นเพียงดำเนินการตามผลของการกระทำผิดเท่านั้น ไม่มีการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การป้องกันปราบปรามมีความยากลำบาก และจากการประเมินผลนโยบายการนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากมีการประกาศใช้ พรบ. ลิขสิทธิ์นี้ การละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ เป็นปรากฎการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่มีวิธีการศึกษาในการหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ถึงแม้ว่ามีการจับกุม ดำเนินคดี หรือการยอมความ แต่ผู้ละเมิดยังมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ผู้นำของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการละเมิดลิขสิทธิ์เท่าที่ควรจะเป็นในเรื่องการสื่อสาร การสั่งการ ก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ คือ ทฤษฎีทางหลักนิติศาสตร์ กับ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ มีความไม่สอดคล้องกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ ด้านมหภาพ ผู้นำรัฐควรสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนให้เกิดวัฒนธรรมและค่านิยมให้เกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ รัฐควรกำหนดอัตราโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำความผิด เพื่อการแก้ไขปัญหาการใช้โทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการใช้สิทธิโดยมิชอบของเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรมีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงกฎหมายลิขสิทธิ์อย่างสม่ำเสมอ ควรจัดให้มีการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ด้านจุลภาพ ในหน่วยปฏิบัติงานควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงความผิดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ และในกระบวนการการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27771 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597771 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597805 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ / บุญล้น จันทะขิน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ Original title : Development Services to Excellence of the Royal Thai Police Sports Club Material Type: printed text Authors: บุญล้น จันทะขิน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]การศึกษา -- การบริการAbstract: งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ” มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ได้แก่ (1) เพื่อศึกษากระบวนการการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีต่อการพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ และ (3) เพื่อนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรคการพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ โดยเป็นการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative search) มีวิธีการวิจัย คือ การวิจัยจากเอกสาร (documentary research) และการวิจัยสนาม (field research)
สรุปผลการวิจัยตามประเด็นคำถามต่าง ๆ ได้ดังนี้ (1) ผลการศึกษาพบว่า การบริการของสโมสรตำรวจเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดประชุมสัมมนา งานเลี้ยง งานสังสรรค์ งานกิจกรรมสันทนาการ พร้อมทั้งให้บริการสนามเทนนิส อาคารออกกำลังกาย สระว่ายน้ำ การบริการงานของสโมสรตำรวจ มีระเบียบคณะสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กำหนดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อกำหนดนโยบาย อำนวยการ ควบคุม ดูแล โดยมีคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ ทำหน้าที่ในการจัดทำแผนดำเนินงานประจำปี พร้อมประมาณการรายได้ และค่าใช้จ่ายประจำปี เสนอคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ เพื่อพิจารณาอนุมัติ วางแผนการดำเนินการตามระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ มีการมอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ดำเนินการตามแผนการปฏิบัติราชการ มีการรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น อย่างเป็นระบบถือว่าการบริการงานของสโมสรตำรวจมีความเหมาะสมดี นอกจากนี้ควรใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่มาใช้บริการ มีการกำหนดขั้นตอน ระยะเวลา การดำเนินงานของแต่ละขั้นตอนของการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของสโมสรตำรวจ และเกิดประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการตำรวจและลูกจ้าง (2) ผลการศึกษาพบว่า การบริการของสโมสรตำรวจ มีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และ เป็นสถานที่สำหรับจัดเลี้ยงรับรองในภารกิจที่สำคัญ เช่น การจัดงานเลี้ยงรับรองวันตำรวจ งานเลี้ยงรับรองเนื่องในโอกาสมอบประกาศเกียรติคุณในวาระข้าราชการตำรวจเกษียณอายุประจำปี งานประชุมสัมมนาระดับ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งปัญหาที่พบ คือยังขาดแคลน ด้านกำลังพลที่มีอัตรากำลังพลจากข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการในด้านต่าง ๆ และลูกจ้างชั่วคราวที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการตลาด การโรงแรม การบริการสถานที่ อาหาร และเครื่องดื่ม เห็นได้ว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านนี้ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการตลาด การโรงแรม การบริการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน รวมถึงคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ ยังไม่มีนโยบายให้จัดหาเพิ่ม และ (3) ผลการศึกษาพบว่าแนวทางการแก้ปัญหา ควรจัดทำและเสนอแผนประจำปีขอบุคลากรเพิ่ม และควรมีการฝึกอบรมบุคลากรในทุก 6 เดือน เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26531 SIU IS-T. การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ = Development Services to Excellence of the Royal Thai Police Sports Club [printed text] / บุญล้น จันทะขิน, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]การศึกษา -- การบริการAbstract: งานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ” มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย ได้แก่ (1) เพื่อศึกษากระบวนการการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีต่อการพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ และ (3) เพื่อนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรคการพัฒนาการบริการสู่ความเป็นเลิศของสโมสรตำรวจ โดยเป็นการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative search) มีวิธีการวิจัย คือ การวิจัยจากเอกสาร (documentary research) และการวิจัยสนาม (field research)
สรุปผลการวิจัยตามประเด็นคำถามต่าง ๆ ได้ดังนี้ (1) ผลการศึกษาพบว่า การบริการของสโมสรตำรวจเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดประชุมสัมมนา งานเลี้ยง งานสังสรรค์ งานกิจกรรมสันทนาการ พร้อมทั้งให้บริการสนามเทนนิส อาคารออกกำลังกาย สระว่ายน้ำ การบริการงานของสโมสรตำรวจ มีระเบียบคณะสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กำหนดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อกำหนดนโยบาย อำนวยการ ควบคุม ดูแล โดยมีคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ ทำหน้าที่ในการจัดทำแผนดำเนินงานประจำปี พร้อมประมาณการรายได้ และค่าใช้จ่ายประจำปี เสนอคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ เพื่อพิจารณาอนุมัติ วางแผนการดำเนินการตามระเบียบคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ มีการมอบหมายแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ดำเนินการตามแผนการปฏิบัติราชการ มีการรายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น อย่างเป็นระบบถือว่าการบริการงานของสโมสรตำรวจมีความเหมาะสมดี นอกจากนี้ควรใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่มาใช้บริการ มีการกำหนดขั้นตอน ระยะเวลา การดำเนินงานของแต่ละขั้นตอนของการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของสโมสรตำรวจ และเกิดประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการตำรวจและลูกจ้าง (2) ผลการศึกษาพบว่า การบริการของสโมสรตำรวจ มีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมาก และ เป็นสถานที่สำหรับจัดเลี้ยงรับรองในภารกิจที่สำคัญ เช่น การจัดงานเลี้ยงรับรองวันตำรวจ งานเลี้ยงรับรองเนื่องในโอกาสมอบประกาศเกียรติคุณในวาระข้าราชการตำรวจเกษียณอายุประจำปี งานประชุมสัมมนาระดับ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งปัญหาที่พบ คือยังขาดแคลน ด้านกำลังพลที่มีอัตรากำลังพลจากข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ราชการในด้านต่าง ๆ และลูกจ้างชั่วคราวที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการตลาด การโรงแรม การบริการสถานที่ อาหาร และเครื่องดื่ม เห็นได้ว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านนี้ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการตลาด การโรงแรม การบริการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน รวมถึงคณะอนุกรรมการสวัสดิการสโมสรตำรวจ ยังไม่มีนโยบายให้จัดหาเพิ่ม และ (3) ผลการศึกษาพบว่าแนวทางการแก้ปัญหา ควรจัดทำและเสนอแผนประจำปีขอบุคลากรเพิ่ม และควรมีการฝึกอบรมบุคลากรในทุก 6 เดือน เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26531 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591733 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-17 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591741 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-17 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร / กุลิสรา บริณตพงษ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร Original title : The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok Material Type: printed text Authors: กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 108 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร = The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok [printed text] / กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 108 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593267 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง / ชัชวาลย์ สดภิบาล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Original title : Human Resource Development of Rojana Industrial Park Public Company Limited, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ชัชวาลย์ สดภิบาล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 81 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Human resource management
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การบริหาร
[LCSH]ระยอง
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การบริหารKeywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพือ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26105 SIU IS-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง = Human Resource Development of Rojana Industrial Park Public Company Limited, Rayong Province [printed text] / ชัชวาลย์ สดภิบาล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 81 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Human resource management
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การบริหาร
[LCSH]ระยอง
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การบริหารKeywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพือ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26105 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590263 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590552 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590586 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย / พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย Original title : Positive Behavior Developing of Members in Institute of Technological College: Case Study of Pathumwan Institute of Technology and Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Uthenthawai Campus Material Type: printed text Authors: พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 162 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักเรียนอาชีวศึกษา
[LCSH]พฤติกรรมKeywords: พฤติกรรมเชิงบวก,
มหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย,
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกนักเรียนอาชีวศึกษาทั้งชาย และหญิง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย ที่เป็นตัวแทนที่ดีของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อศึกษาความสำคัญถึงเหตุจำเป็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การกำหนดนโยบายสาธารณะสำหรับใช้แก้ไขปัญหานักเรียนอาชีวศึกษา งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นศิษย์เก่า อาจารย์ประจำ และผู้ปกครองของนักศึกษาของทั้ง 2 สถาบัน รวมผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 76 คน เครื่องมือ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่าสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจนนำไปสู่สาเหตุของการทะเลาะวิวาทกันของทั้ง 2 สถาบัน ได้แก่ 1) ค่านิยมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการรับน้องของรุ่นพี่ 2) ความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น และค่านิยมที่ผิด ๆ ที่ได้รับจากรุ่นพี่ 3) เกิดจากการยั่วยุจากฝ่ายตรงข้าม 4) เกิดจากการใช้สารเสพติดทำให้ขาดการยั้งคิด 5) เพราะคุณภาพการเรียน การสอนของสถาบันไม่มีคุณภาพพอ 6 ) เพราะความรักสถาบันของตัวเองไม่ยอมให้ใครมาลบลู่ 7) เพราะสีเสื้อ และเครื่องหมายของสถาบันที่ต่างกัน การวิจัยยังค้นพบว่าควรขอเสนอให้รวมทั้งสองสถาบันอาชีวศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อหลอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับระบบการบริหารงานใหม่ที่รวมตัวเป็นหนึ่งCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27236 SIU THE-T. การพัฒนาพฤติกรรมเชิงบวกของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย = Positive Behavior Developing of Members in Institute of Technological College: Case Study of Pathumwan Institute of Technology and Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Uthenthawai Campus [printed text] / พฤฒิไกร ไกรพิพัฒน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 162 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักเรียนอาชีวศึกษา
[LCSH]พฤติกรรมKeywords: พฤติกรรมเชิงบวก,
มหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย,
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของสมาชิกนักเรียนอาชีวศึกษาทั้งชาย และหญิง ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และมหาวิทยาลัยราชมงคลภาคตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย ที่เป็นตัวแทนที่ดีของสมาชิกสถาบันอาชีวศึกษา เพื่อศึกษาความสำคัญถึงเหตุจำเป็นในการแก้ไขปัญหา เพื่อเป็นแนวทางนำไปสู่การกำหนดนโยบายสาธารณะสำหรับใช้แก้ไขปัญหานักเรียนอาชีวศึกษา งานวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นศิษย์เก่า อาจารย์ประจำ และผู้ปกครองของนักศึกษาของทั้ง 2 สถาบัน รวมผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 76 คน เครื่องมือ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่าสาเหตุที่ทำให้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน มีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจนนำไปสู่สาเหตุของการทะเลาะวิวาทกันของทั้ง 2 สถาบัน ได้แก่ 1) ค่านิยมที่ผิด ๆ เกี่ยวกับการรับน้องของรุ่นพี่ 2) ความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น และค่านิยมที่ผิด ๆ ที่ได้รับจากรุ่นพี่ 3) เกิดจากการยั่วยุจากฝ่ายตรงข้าม 4) เกิดจากการใช้สารเสพติดทำให้ขาดการยั้งคิด 5) เพราะคุณภาพการเรียน การสอนของสถาบันไม่มีคุณภาพพอ 6 ) เพราะความรักสถาบันของตัวเองไม่ยอมให้ใครมาลบลู่ 7) เพราะสีเสื้อ และเครื่องหมายของสถาบันที่ต่างกัน การวิจัยยังค้นพบว่าควรขอเสนอให้รวมทั้งสองสถาบันอาชีวศึกษาให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อหลอมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับระบบการบริหารงานใหม่ที่รวมตัวเป็นหนึ่งCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27236 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594794 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594802 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย / อานนท์ เหมือนทัพ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย Original title : The Development of Thai Female Professional Golfers Material Type: printed text Authors: อานนท์ เหมือนทัพ, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 195 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]นักกอล์ฟKeywords: นักกอล์ฟอาชีพสตรี, การพัฒนา, ความสำเร็จ, ประชารัฐ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาลักษณะของการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย และ 3) ศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย ซึ่งผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยจากวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักนักกอล์ฟสตรีอาชีพ จำนวน 5 คน และผู้ให้ข้อมูลรอง จำนวน 30 คน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยมีเครื่องมือวิจัย ได้แก่ ผู้วิจัย และแบบสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก กล้องถ่ายรูป ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยได้แก่ การฝึกซ้อม พรสวรรค์ การสื่อสาร สุขภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ที่ปรึกษาทางจิตวิทยา โค้ช/พี่เลี้ยง วิทยาศาสตร์การกีฬา การสนับสนุนจากภาคเอกชน การสนับสนุนจากครอบครัว งานวิจัยนี้ได้ค้นพบอีกว่า ความสำเร็จของนักกอล์ฟอาชีพไม่ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนจากภาครัฐ และหน่วยงานภาครัฐไม่มีนโยบายที่สนับสนุนการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยอย่างเป็นรูปธรรม แต่ความสำเร็จมาจากการสนับสนุนของครอบครัว ซึ่งเป็นความสำเร็จที่ทำประโยชน์ในการสร้างรายได้และการสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ กล่าวคือ รัฐ/ประเทศชาติได้ประโยชน์จาก ประชารัฐ ข้อเสนอแนะหน่วยงานภาครัฐควรให้ความสำคัญในการสร้างและพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟอาชีพไทย Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27651 SIU THE-T. การพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย = The Development of Thai Female Professional Golfers [printed text] / อานนท์ เหมือนทัพ, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 195 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]นักกอล์ฟKeywords: นักกอล์ฟอาชีพสตรี, การพัฒนา, ความสำเร็จ, ประชารัฐ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาลักษณะของการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย และ 3) ศึกษาเปรียบเทียบความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทย ซึ่งผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยจากวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักนักกอล์ฟสตรีอาชีพ จำนวน 5 คน และผู้ให้ข้อมูลรอง จำนวน 30 คน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยมีเครื่องมือวิจัย ได้แก่ ผู้วิจัย และแบบสัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก กล้องถ่ายรูป ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยได้แก่ การฝึกซ้อม พรสวรรค์ การสื่อสาร สุขภาพร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ที่ปรึกษาทางจิตวิทยา โค้ช/พี่เลี้ยง วิทยาศาสตร์การกีฬา การสนับสนุนจากภาคเอกชน การสนับสนุนจากครอบครัว งานวิจัยนี้ได้ค้นพบอีกว่า ความสำเร็จของนักกอล์ฟอาชีพไม่ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนจากภาครัฐ และหน่วยงานภาครัฐไม่มีนโยบายที่สนับสนุนการพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟสตรีอาชีพไทยอย่างเป็นรูปธรรม แต่ความสำเร็จมาจากการสนับสนุนของครอบครัว ซึ่งเป็นความสำเร็จที่ทำประโยชน์ในการสร้างรายได้และการสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ กล่าวคือ รัฐ/ประเทศชาติได้ประโยชน์จาก ประชารัฐ ข้อเสนอแนะหน่วยงานภาครัฐควรให้ความสำคัญในการสร้างและพัฒนาสู่ความสำเร็จของนักกีฬากอล์ฟอาชีพไทย Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27651 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597128 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597789 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา / ปทิตตา โทสวนจิต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Original title : Participation of Public in Solving Drug Problems in Community Banmai Sub-District Maharaja District, Ayutthaya Province Material Type: printed text Authors: ปทิตตา โทสวนจิต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหา
[LCSH]ยาเสพติด -- พระนครราชศรีอยุธยา -- บ้านใหม่Keywords: การมีส่วนร่วม,
ปัญหายาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) เรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยแวดล้อม และ 3) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (questionnaire) ประชากร ได้แก่ ผู้ที่เป็นหัวหน้าครอบครัวหรือผู้แทนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านใหม่จำนวน 546 คน เป็นตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน (krejcie and morgan) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 217 ตัวอย่าง และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) ได้แก่ ผู้บริหารชุมชนนักพัฒนาชุมชนและผู้นำกลุ่มในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สถิติทางสังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าสถิติต่าง ๆ ในส่วนข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดและข้อมูลที่ได้จากข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ (data grouping) จากนั้นจึงนำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท (content analysis technique) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26613 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา = Participation of Public in Solving Drug Problems in Community Banmai Sub-District Maharaja District, Ayutthaya Province [printed text] / ปทิตตา โทสวนจิต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหา
[LCSH]ยาเสพติด -- พระนครราชศรีอยุธยา -- บ้านใหม่Keywords: การมีส่วนร่วม,
ปัญหายาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) เรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยแวดล้อม และ 3) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชน ตำบลบ้านใหม่ อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (questionnaire) ประชากร ได้แก่ ผู้ที่เป็นหัวหน้าครอบครัวหรือผู้แทนที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านใหม่จำนวน 546 คน เป็นตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน (krejcie and morgan) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 217 ตัวอย่าง และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) ได้แก่ ผู้บริหารชุมชนนักพัฒนาชุมชนและผู้นำกลุ่มในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สถิติทางสังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าสถิติต่าง ๆ ในส่วนข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดและข้อมูลที่ได้จากข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ (data grouping) จากนั้นจึงนำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท (content analysis technique) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26613 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592640 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592616 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-25 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Due for return by 06/22/2024 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนในการบริหารงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / ณรงค์ศักดิ์ ม่วงแก้ว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนในการบริหารงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Participation of Community Leaders in Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization’s Management, Pluakdaeng District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ณรงค์ศักดิ์ ม่วงแก้ว, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 59 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ผู้นำชุมชน -- ระยอง -- มาบยางพร
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: การมีส่วนร่วม,
การบริหารงาน,
ท้องถิ่น,
ผู้นำชุมชนAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงต้องศึกษาการมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล และปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพรใช้แบบสัมภาษณ์โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้นำชุมชนในพื้นที่ตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง จำนวน 5 คน
ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ผู้นำชุมชนให้ความสำคัญอย่างมากกับการมีส่วนร่วมในการบริหารงานอันจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับการพัฒนาท้องถิ่น เช่น การจัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ส่วนปัจจัยที่มีผลกระทบ พบว่า การเอาใจใส่จริงจัง การประสานงาน การให้คำปรึกษา การวางตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ทุกเรื่องส่งผลทำให้เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลในการพัฒนาท้องถิ่น ส่วนปัญหาอุปสรรค พบว่า ปัญหาเกิดจากการแจ้งข้อมูลข่าวสารให้ทราบช้า ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการทำงานของ องค์การบริหารส่วนตำบล ความร่วมมือของการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนของหมู่บ้านบางครั้งมีความล่าช้าขาดการปรึกษาหารือโดยความพร้อมเพียงกัน ข้อเสนอแนะผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผู้นำชุมชนมากกว่านี้เพื่อเกิดความร่วมมือในการทำงานพัฒนาท้องถิ่นCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26652 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนในการบริหารงานของ องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Participation of Community Leaders in Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization’s Management, Pluakdaeng District, Rayong Province [printed text] / ณรงค์ศักดิ์ ม่วงแก้ว, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 59 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ผู้นำชุมชน -- ระยอง -- มาบยางพร
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: การมีส่วนร่วม,
การบริหารงาน,
ท้องถิ่น,
ผู้นำชุมชนAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงต้องศึกษาการมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล และปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพรใช้แบบสัมภาษณ์โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้นำชุมชนในพื้นที่ตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง จำนวน 5 คน
ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ผู้นำชุมชนให้ความสำคัญอย่างมากกับการมีส่วนร่วมในการบริหารงานอันจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับการพัฒนาท้องถิ่น เช่น การจัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ส่วนปัจจัยที่มีผลกระทบ พบว่า การเอาใจใส่จริงจัง การประสานงาน การให้คำปรึกษา การวางตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ทุกเรื่องส่งผลทำให้เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลในการพัฒนาท้องถิ่น ส่วนปัญหาอุปสรรค พบว่า ปัญหาเกิดจากการแจ้งข้อมูลข่าวสารให้ทราบช้า ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการทำงานของ องค์การบริหารส่วนตำบล ความร่วมมือของการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนของหมู่บ้านบางครั้งมีความล่าช้าขาดการปรึกษาหารือโดยความพร้อมเพียงกัน ข้อเสนอแนะผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผู้นำชุมชนมากกว่านี้เพื่อเกิดความร่วมมือในการทำงานพัฒนาท้องถิ่นCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26652 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592996 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-33 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592970 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-33 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available