From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา / จันทนา แก้วฟู / คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัียสุโขทัยธรรมาธิราช - 2554
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา : ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ ภาคเหนือ Original title : Factors affecting risk management of medication errors by professional nurses at regional hospitals in Northern region Material Type: printed text Authors: จันทนา แก้วฟู, Author Publisher: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัียสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2554 Pagination: ก-ฎ, 122 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Drug Therapy -- nursing
[LCSH]Medication errors -- preventing & control
[LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ ภาคเหนือKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
ยา.Class number: WY100 จ214 2554 Abstract: งานวิจัยนี้มุ่งศึกษา 1. การบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา เจตคติในการป้องกันความคลาดเคบื่อนทางยา และภาระงานของพยาบาลวิชาชีพ 2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติในการป้ิองกันความคลาดเคลื่อนทางยา ภาระงาน กับการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ และ 3 ศึกษาตัสแปรที่ร่วมกันทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ
ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารความเสี่ยงความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในระดับมาก เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในรดับมากที่สุด และภาระงานมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และภาระงานมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดัีบน้อยที่สุดกับการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคบื่อนทางยาอย่างมีนัยสกคัญที่ระดับ 0.05 3 เจคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาสามารถทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยวามารถอธิบายความแปรปรวนของการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาได้ร้อยละ 31.3 (R=0.13) และสามารถสร้างสมการทำนายรูปคะแนนดิบได้ดังนี้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23211 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา = Factors affecting risk management of medication errors by professional nurses at regional hospitals in Northern region : ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ ภาคเหนือ [printed text] / จันทนา แก้วฟู, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัียสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 . - ก-ฎ, 122 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Drug Therapy -- nursing
[LCSH]Medication errors -- preventing & control
[LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์ ภาคเหนือKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
ยา.Class number: WY100 จ214 2554 Abstract: งานวิจัยนี้มุ่งศึกษา 1. การบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยา เจตคติในการป้องกันความคลาดเคบื่อนทางยา และภาระงานของพยาบาลวิชาชีพ 2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติในการป้ิองกันความคลาดเคลื่อนทางยา ภาระงาน กับการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ และ 3 ศึกษาตัสแปรที่ร่วมกันทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพ
ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารความเสี่ยงความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในระดับมาก เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีค่าเฉลี่ยของคะแนนโดยรวมอยู่ในรดับมากที่สุด และภาระงานมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. เจตคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยามีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และภาระงานมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดัีบน้อยที่สุดกับการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคบื่อนทางยาอย่างมีนัยสกคัญที่ระดับ 0.05 3 เจคติในการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาสามารถทำนายการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยวามารถอธิบายความแปรปรวนของการบริหารความเสี่ยงด้านความคลาดเคลื่อนทางยาได้ร้อยละ 31.3 (R=0.13) และสามารถสร้างสมการทำนายรูปคะแนนดิบได้ดังนี้
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23211 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354751 WY100 จ214 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต / นงนุช หอมเนียม / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit Material Type: printed text Authors: นงนุช หอมเนียม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit [printed text] / นงนุช หอมเนียม, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355261 WX218 น525 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available