From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า / แสงอรุณ ถิระเรืองรัตน์ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - 2548
Title : การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : กรณีศึกษาโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา Original title : A Study on medical care impediments in universal coverage health insurance : a case study of Maharaj Ratchasima Hospital Nakorn Ratchasima province Material Type: printed text Authors: แสงอรุณ ถิระเรืองรัตน์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2548 Pagination: ก-ญ, 170 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-046-754-7 General note: เนื้อหามีสองภาษา ฉบับภาษาไทย BARCODE No.32002000308997 ฉบับภาษาอังกฤษ BARCODE No.32002000309011
วิทยานิพนธ์ [ศศ.ม. [วัฒนธรรมศึกษา]] - มหาวิทยาลัยมหิดล 2548.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Health care -- Thailand
[LCSH]Health insurance
[LCSH]Medical care -- Thailand
[LCSH]สิทธิบัตรทอง
[LCSH]สิทธิผู้ป่วย
[LCSH]หลักประกันสุขภาพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยายาลมหานครราชสีมา -- กรณีศึกษาKeywords: หลักประกันสุขภาพ.
็Health care
Health insurance.Class number: W115.H4 ส882 2548 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับความรู้ของผู้รับบริการเกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่ได้รับ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคจากการรับบริการตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง กับกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ที่มารับบริการที่แผนกตรวจโรคผู้ป่วยจาก 10 แผนกของโรงพยาบาลมหานครราชสีมา จังหวัีดนครราชสีมา โดยใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระหว่างวันที่ 1-31 ตุลาคม 2547 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA ประมวลผลโดยเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า
1. กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอยู่ในระดับน้อย ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาล ได้แก่ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และรายได้ 2. ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่ได้รับอยู่ในระดับดี ร้อยละ 42.0 ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ0.3 มีความคิดเห็นว่าโรงพยาบาลควรปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ และ 3. ปัญหาอุปสรรคในการมารับบริการ มีผู้มารับบริการไม่ถึงร้อยละ 20 ทีพบปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบเรียงลำดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ประชาชนที่มารับบริการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปัญหาเกี่ยวกับบริการที่ได้รับจากห้องบัตรที่ต้องรอนานเกินไป เจ้าหน้าที่พูดจาไม่ชัดเจน ไม่สุภาพ และปัญหาเกี่ยวกับบริการได้รับจากพยาบาลผู้ให้บริการที่พยาบาลบางคนพูดจาไม่สุภาพ ไม่เป็นมิตรกับผู้ป่วย พยาบาลขาดการกระตือรือร้น งานวิจัยได้เสนอแนะว่า ควรจัดให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิผู้ป่วยตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้มากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นผู้บริหารรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องศึกษาสาเหตุที่แท้จริงเกี่ยวกับคุณภาพของบริการ เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23167 การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้บริการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า = A Study on medical care impediments in universal coverage health insurance : a case study of Maharaj Ratchasima Hospital Nakorn Ratchasima province : กรณีศึกษาโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา [printed text] / แสงอรุณ ถิระเรืองรัตน์, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2548 . - ก-ญ, 170 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-046-754-7
เนื้อหามีสองภาษา ฉบับภาษาไทย BARCODE No.32002000308997 ฉบับภาษาอังกฤษ BARCODE No.32002000309011
วิทยานิพนธ์ [ศศ.ม. [วัฒนธรรมศึกษา]] - มหาวิทยาลัยมหิดล 2548.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Health care -- Thailand
[LCSH]Health insurance
[LCSH]Medical care -- Thailand
[LCSH]สิทธิบัตรทอง
[LCSH]สิทธิผู้ป่วย
[LCSH]หลักประกันสุขภาพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยายาลมหานครราชสีมา -- กรณีศึกษาKeywords: หลักประกันสุขภาพ.
็Health care
Health insurance.Class number: W115.H4 ส882 2548 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับความรู้ของผู้รับบริการเกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่ได้รับ รวมทั้งปัญหาอุปสรรคจากการรับบริการตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง กับกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ที่มารับบริการที่แผนกตรวจโรคผู้ป่วยจาก 10 แผนกของโรงพยาบาลมหานครราชสีมา จังหวัีดนครราชสีมา โดยใช้สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระหว่างวันที่ 1-31 ตุลาคม 2547 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA ประมวลผลโดยเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า
1. กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอยู่ในระดับน้อย ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความรู้เกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาล ได้แก่ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และรายได้ 2. ความคิดเห็นของผู้รับบริการที่ได้รับอยู่ในระดับดี ร้อยละ 42.0 ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ0.3 มีความคิดเห็นว่าโรงพยาบาลควรปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ และ 3. ปัญหาอุปสรรคในการมารับบริการ มีผู้มารับบริการไม่ถึงร้อยละ 20 ทีพบปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบเรียงลำดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ประชาชนที่มารับบริการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิด้านการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปัญหาเกี่ยวกับบริการที่ได้รับจากห้องบัตรที่ต้องรอนานเกินไป เจ้าหน้าที่พูดจาไม่ชัดเจน ไม่สุภาพ และปัญหาเกี่ยวกับบริการได้รับจากพยาบาลผู้ให้บริการที่พยาบาลบางคนพูดจาไม่สุภาพ ไม่เป็นมิตรกับผู้ป่วย พยาบาลขาดการกระตือรือร้น งานวิจัยได้เสนอแนะว่า ควรจัดให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิผู้ป่วยตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้มากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นผู้บริหารรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องศึกษาสาเหตุที่แท้จริงเกี่ยวกับคุณภาพของบริการ เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23167 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000308997 W115.H4 ส882 2548 C.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000309011 W115.H4 ส882 2548 C.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง / กนกพร สุทธิกาญจน์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง Original title : Relationship between personal factors leader traits and service quality management process and perceived performance of the administration board members of mediums size private hospital in the central region Material Type: printed text Authors: กนกพร สุทธิกาญจน์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 155 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-545-023-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [สม. [วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]คุณภาพการบริการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ภาวะผู้นำ.
โรงพยาบาล.
การบริการ.Class number: WX40 ก151 2547 Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำกรรมการบริหาร กระบวนการบริหารคุณภาพบริการของกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานตามการับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลด้านบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเิงิน และการตลาด และประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง จำนวน 14 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูลจากกรรมการบริหารของโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดจำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กรรมการบริหารโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.0 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 64.7 มีประสบการณืบริหารตั้งแต่ 1-3 ปั ร้อยละ 30.2 สำเร็จการศึกาาระดับปริญยาตรี ร้อยละ 66.4 คณะกรรมการบริหารมีลักษณะเป็นผู็นำอยู่ในระดับสูงทุกลักษณะ ยกเว้นการให้กำลัีงใจเป็นนิจระดับปานกลาง กระบวนการบริหารคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
การศึกษาความสัีมพันธ์พบว่า ลักษณะประชากรมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารอย่างไม่มีนัียสำคัญทางสถิติ p-value>0.05 ลักษณะผู้นำมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.05,r=0.66 สำหรับด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาดมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง r=0.51และ0.53 ตามลำดับ ส่วนการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลมีความสัีมพันธ์ในระดับค่อนข้่างสูง r=0.65 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ในการบริหารงานโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผลการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23137 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำและกระบวนการบริหารคุณภาพบริการดกับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ในเขตภาคกลาง = Relationship between personal factors leader traits and service quality management process and perceived performance of the administration board members of mediums size private hospital in the central region [printed text] / กนกพร สุทธิกาญจน์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 155 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-545-023-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [สม. [วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]คุณภาพการบริการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนKeywords: ภาวะผู้นำ.
โรงพยาบาล.
การบริการ.Class number: WX40 ก151 2547 Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประชากร ลักษณะผู้นำกรรมการบริหาร กระบวนการบริหารคุณภาพบริการของกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานตามการับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลด้านบริการ การมุ่งเน้นลูกค้า การเิงิน และการตลาด และประสิทธิผลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง จำนวน 14 แห่ง โดยการสุ่มตัวอย่างเก็บข้อมูลจากกรรมการบริหารของโรงพยาบาลเอกชนทั้งหมดจำนวน 116 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กรรมการบริหารโรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.0 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 64.7 มีประสบการณืบริหารตั้งแต่ 1-3 ปั ร้อยละ 30.2 สำเร็จการศึกาาระดับปริญยาตรี ร้อยละ 66.4 คณะกรรมการบริหารมีลักษณะเป็นผู็นำอยู่ในระดับสูงทุกลักษณะ ยกเว้นการให้กำลัีงใจเป็นนิจระดับปานกลาง กระบวนการบริหารคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง และผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
การศึกษาความสัีมพันธ์พบว่า ลักษณะประชากรมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารอย่างไม่มีนัียสำคัญทางสถิติ p-value>0.05 ลักษณะผู้นำมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานตามการรับรู้ของกรรมการบริหารทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value<0.05,r=0.66 สำหรับด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาดมีความสัมพันธ์ระดับปานกลาง r=0.51และ0.53 ตามลำดับ ส่วนการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลมีความสัีมพันธ์ในระดับค่อนข้่างสูง r=0.65 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ในการบริหารงานโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลาง ผู้บริหารควรให้ความสำคัญกับผลการดำเนินงานเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ดีมีคุณธรรม
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23137 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354652 WX40 ก151 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available