From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ / วิมล มาดิษฐ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between organization climate, coaching and competencies of professional nurses, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: วิมล มาดิษฐ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ญ, 138 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-088-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริการการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- กลุ่มทำงาน
[LCSH]พฤติกรรมองค์กร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: โรงพยาบาลศูนย์.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ว736 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะ กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ โรงพยาบาลศูนย์ ที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปีขึ้นไป จำนวน 378 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามบรรยากาศองค์การ แบบสอบถามการสอนแนะ และแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 .91 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ และสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับสุง ([Mean] = 3.86, 3.80 และ 3.74 ตามลำดับ) 2. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .553 และ .546 ตามลำดับ)
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23134 ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ = Relationships between organization climate, coaching and competencies of professional nurses, regional hospital and medical centers [printed text] / วิมล มาดิษฐ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ญ, 138 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-088-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริการการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- กลุ่มทำงาน
[LCSH]พฤติกรรมองค์กร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: โรงพยาบาลศูนย์.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ว736 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะ กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ โรงพยาบาลศูนย์ ที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปีขึ้นไป จำนวน 378 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามบรรยากาศองค์การ แบบสอบถามการสอนแนะ และแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 .91 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ และสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับสุง ([Mean] = 3.86, 3.80 และ 3.74 ตามลำดับ) 2. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .553 และ .546 ตามลำดับ)
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23134 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354645 WY100 ว736 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ / ชลธิชา กองจริต / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Indicators of nursing administration quality in intensive care units, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: ชลธิชา กองจริต, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 210 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-176-047-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยม 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: การบริหาร.
การพยาบาล.
หอผู้ป่วยวิกฤต.
โรงพยาบาลศูนย์.Class number: WX150 ช274 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์โดยใช้วิธีเชิงประจักษ์ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้
ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบแนวคิดเบื้องต้นของการวิจัย โดยทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญทั้งหมด 10 ท่าน ซึ่งมีประสบการณ์การทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤ๖ โรงพยาบาลศูนย์
ขั้นที่ 2 สร้างเครื่องมือโดยใช้แบบสอบถามตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการตรวจสอบความตรงตามเนื่อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97
ขั้นที่ 3 รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤต 5 ปีขึ้นไป จำนวน 678 คน แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คิดเป็นร้อยละ 96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนคิการวิเคราะห์องค์ประกอบ สกัดองค์ประกอบด้วยวิธีองค์ประกอบหลัก หมุนแกนแบบออโธร์กอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ คัดเลือกตัวชี้วัดมีค่าไอแกนมากว่า 1.02 องค์ประกอบตัวชี้วัดมีตัวชี้ย่อยไม่น้อยกว่า 3 ตัวแปนขึ้นไป ตัวชี้วัดมีน้ำหนักองค์ประกอบอย่างน้อย 0.40
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูฯย์ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 67.67 โดยมีตัวชี้วัด ดังนี้
1. การนิเทศ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 16.68%
2. การบริหารพัสดุและพื้นที่ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 12.09%
3. ทีมสหสาขาและการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบก้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 9.51%
4. การจัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.79%
5. การจัดระบบงาน ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.67%
6. การควบคุมการติดเชื้อ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 6 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 6.58%
7. การพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปปรวนได้ 5.328%
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23306 ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์ = Indicators of nursing administration quality in intensive care units, regional hospital and medical centers [printed text] / ชลธิชา กองจริต, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 210 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-176-047-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยม 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: การบริหาร.
การพยาบาล.
หอผู้ป่วยวิกฤต.
โรงพยาบาลศูนย์.Class number: WX150 ช274 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูนย์โดยใช้วิธีเชิงประจักษ์ วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักดังนี้
ขั้นที่ 1 กำหนดกรอบแนวคิดเบื้องต้นของการวิจัย โดยทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญทั้งหมด 10 ท่าน ซึ่งมีประสบการณ์การทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤ๖ โรงพยาบาลศูนย์
ขั้นที่ 2 สร้างเครื่องมือโดยใช้แบบสอบถามตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการตรวจสอบความตรงตามเนื่อหาจากผู้เชี่ยวชาญ และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97
ขั้นที่ 3 รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยวิกฤต 5 ปีขึ้นไป จำนวน 678 คน แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คิดเป็นร้อยละ 96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนคิการวิเคราะห์องค์ประกอบ สกัดองค์ประกอบด้วยวิธีองค์ประกอบหลัก หมุนแกนแบบออโธร์กอนอล ด้วยวิธีแวริแมกซ์ คัดเลือกตัวชี้วัดมีค่าไอแกนมากว่า 1.02 องค์ประกอบตัวชี้วัดมีตัวชี้ย่อยไม่น้อยกว่า 3 ตัวแปนขึ้นไป ตัวชี้วัดมีน้ำหนักองค์ประกอบอย่างน้อย 0.40
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวชี้วัดคุณภาพการบริหารการพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลศูฯย์ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 67.67 โดยมีตัวชี้วัด ดังนี้
1. การนิเทศ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 16.68%
2. การบริหารพัสดุและพื้นที่ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 11 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 12.09%
3. ทีมสหสาขาและการศึกษาต่อเนื่อง ประกอบก้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 9.51%
4. การจัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 7 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.79%
5. การจัดระบบงาน ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 8.67%
6. การควบคุมการติดเชื้อ ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 6 ตัวชี้วัด อธิบายความแปรปรวนได้ 6.58%
7. การพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ประกอบด้วยตัวชี้วัดย่อย 4 ตัวชี้วัด อธิบายความแปปรวนได้ 5.328%
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23306 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384659 THE WX150 ช274 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available