From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
Old book collection. คู่มือการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น / สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข / นนทบุรี : สภาการพยาบาล - 2554
Collection Title: Old book collection Title : คู่มือการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น : สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง Material Type: printed text Authors: สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, Author ; สภาการพยาบาล Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 4. Publisher: นนทบุรี : สภาการพยาบาล Publication Date: 2554 Pagination: [10] , 142 หน้า. Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-401-133-6 Price: 150.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตรวจร่างกาย
[LCSH]การใช้ยา -- การพยาบาล
[LCSH]การใช้ยา -- คู่มือ
[LCSH]พยาบาลผดุงครรภ์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพClass number: WY100 ส226ค 2554 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22509 Old book collection. คู่มือการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น : สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง [printed text] / สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, Author ; สภาการพยาบาล . - พิมพ์ครั้งที่ 4. . - นนทบุรี : สภาการพยาบาล, 2554 . - [10] , 142 หน้า. ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-401-133-6 : 150.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตรวจร่างกาย
[LCSH]การใช้ยา -- การพยาบาล
[LCSH]การใช้ยา -- คู่มือ
[LCSH]พยาบาลผดุงครรภ์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพClass number: WY100 ส226ค 2554 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22509 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000364875 WY100 ส226ค 2554 c.4 Book Main Library General Shelf Available 32002000364859 WY100 ส226ค 2554 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000364883 WY100 ส226ค 2554 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000364867 WY100 ส226ค 2554 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000364909 WY100 ส226ค 2554 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000364834 WY100 ส226ค 2554 c.6 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. คู่มือการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น / สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข / นนทบุรี : สภาการพยาบาล - 2556
Collection Title: Old book collection Title : คู่มือการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น : สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง Material Type: printed text Authors: สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, Author ; สภาการพยาบาล Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 4. Publisher: นนทบุรี : สภาการพยาบาล Publication Date: 2556 Pagination: [10] , 142 หน้า. Size: 27 ซม. Price: 150.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตรวจร่างกาย
[LCSH]การใช้ยา -- การพยาบาล
[LCSH]การใช้ยา -- คู่มือ
[LCSH]พยาบาลผดุงครรภ์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพAbstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24711 Old book collection. คู่มือการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น : สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง [printed text] / สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข, Author ; สภาการพยาบาล . - พิมพ์ครั้งที่ 4. . - นนทบุรี : สภาการพยาบาล, 2556 . - [10] , 142 หน้า. ; 27 ซม.
150.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตรวจร่างกาย
[LCSH]การใช้ยา -- การพยาบาล
[LCSH]การใช้ยา -- คู่มือ
[LCSH]พยาบาลผดุงครรภ์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพAbstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24711 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000462794 WY100 ส226ค 2556 c.13 Book Main Library General Shelf Available 32002000462745 WY100 ส226ค 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000462752 WY100 ส226ค 2556 c.10 Book Main Library Library Counter Available 32002000462828 WY100 ส226ค 2556 c.11 Book Main Library Library Counter Available 32002000462802 WY100 ส226ค 2556 c.12 Book Main Library Library Counter Available 32002000462786 WY100 ส226ค 2556 c.14 Book Main Library Library Counter Available 32002000462778 WY100 ส226ค 2556 c.15 Book Main Library Library Counter Available 32002000462737 WY100 ส226ค 2556 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000462729 WY100 ส226ค 2556 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000462711 WY100 ส226ค 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000462703 WY100 ส226ค 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000462810 WY100 ส226ค 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000462695 WY100 ส226ค 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000462679 WY100 ส226ค 2556 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000462760 WY100 ส226ค 2556 c.9 Book Main Library Library Counter Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต / รัชนก วันทอง, 2514- / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : การพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต Original title : Self-development of professional nurses for nursing organization in the future Material Type: printed text Authors: รัชนก วันทอง, 2514-, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 123 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-983-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การพัฒนาตนเอง.
พยาบาล.Class number: WY100 ร712 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการ วิธีการ ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ประชากรที่ศึกษา เป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 21 ท่าน ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและ จริยธรรมทางวิชาชีพทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบสอบถามรอบแรกมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและเลือกตอบ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป EXCEL หาค่ามัธยฐานและพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคตนั้น พยาบาลควรจะต้องมีการศึกษหาความรู้ตลอดเวลา และมีทักษะความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้นหาข้อมูล ส่วนวิธีการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพ พยาบาลจะมีการเข้าร่วมในการอบรมด้านบริการพยาบาลที่มีคุณภาพตามความต้องการของผู้รับบริการ และมีการสมัครเป็นสมาชิกขององค์การพยาบาลเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ที่ทันสมัย ส่วนปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาตนของพยาบาลวิชาชีพนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยภายในตนประกอบด้วย ความต้องการความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและความต้องการความมั่นคงในความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ส่วนปัจจัยภายนอกที่เข้ามากระทบตัวพยาบาลประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และนโยบายปฏิรูประบบสุขภาพที่มุ่งเน้นการการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิและการได้รับการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้า Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23172 การพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต = Self-development of professional nurses for nursing organization in the future [printed text] / รัชนก วันทอง, 2514-, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 123 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-983-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การพัฒนาตนเอง.
พยาบาล.Class number: WY100 ร712 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการ วิธีการ ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ประชากรที่ศึกษา เป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 21 ท่าน ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและ จริยธรรมทางวิชาชีพทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบสอบถามรอบแรกมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและเลือกตอบ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป EXCEL หาค่ามัธยฐานและพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคตนั้น พยาบาลควรจะต้องมีการศึกษหาความรู้ตลอดเวลา และมีทักษะความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้นหาข้อมูล ส่วนวิธีการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพ พยาบาลจะมีการเข้าร่วมในการอบรมด้านบริการพยาบาลที่มีคุณภาพตามความต้องการของผู้รับบริการ และมีการสมัครเป็นสมาชิกขององค์การพยาบาลเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ที่ทันสมัย ส่วนปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาตนของพยาบาลวิชาชีพนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยภายในตนประกอบด้วย ความต้องการความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและความต้องการความมั่นคงในความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ส่วนปัจจัยภายนอกที่เข้ามากระทบตัวพยาบาลประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และนโยบายปฏิรูประบบสุขภาพที่มุ่งเน้นการการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิและการได้รับการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้า Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23172 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355477 WY100 ร712 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000355451 WY100 ร712 2545 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available การวิเคราะห์ตัวประกอบการรับรู้ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพโรง พยาบาลของรัฐ / ณัฐกมล แพทย์รังษี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : การวิเคราะห์ตัวประกอบการรับรู้ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพโรง พยาบาลของรัฐ Original title : A factor analysis of subjective career success of professional nurses, governmental hospitals Material Type: printed text Authors: ณัฐกมล แพทย์รังษี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฌ, 137 แผ่น Size: 30 ISBN (or other code): 978-974-141-958-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: ความสำเร็จ. Class number: WY100 ณ413 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23193 การวิเคราะห์ตัวประกอบการรับรู้ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพโรง พยาบาลของรัฐ = A factor analysis of subjective career success of professional nurses, governmental hospitals [printed text] / ณัฐกมล แพทย์รังษี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฌ, 137 แผ่น ; 30.
ISSN : 978-974-141-958-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: ความสำเร็จ. Class number: WY100 ณ413 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23193 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354553 WY100 ณ413 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ / นุจรี สันติสำราญวิไล / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ Original title : A study of competency of chemotherapy nurses, goverment hospital Material Type: printed text Authors: นุจรี สันติสำราญวิไล, Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 217 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]เคมีบำบัดKeywords: พยาบาล.
เคมีบำบัด.
สมรรถนะ.Class number: WY141 น542 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มสาขาด้านการแพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาลหน่วยบริการเคมีบำบัด และกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติการให้ยาเคมีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ ที่ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 90 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 58 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 32 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก แต่ละสมรรถนะหลักประกอบด้วยสมรรถนะย่อยดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้เกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการบริหารยา ประกอบด้วย 19 ข้อ 2. สมรรถนะด้านการจัดการความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วย 8 ข้อ 3. สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด ประกอบด้วย12 ข้อ 4. สมรรถนะด้านความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคและผลกระทบ ประกอบด้วย 6 ข้อ 5. สมรรถนะด้านการสื่อสาร การสอนและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 22 ข้อ 6. สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ ประกอบด้วย 12 ข้อ 7. สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้ และการวิจัย ประกอบด้วย 11 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23177 การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ = A study of competency of chemotherapy nurses, goverment hospital [printed text] / นุจรี สันติสำราญวิไล, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 217 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]เคมีบำบัดKeywords: พยาบาล.
เคมีบำบัด.
สมรรถนะ.Class number: WY141 น542 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มสาขาด้านการแพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาลหน่วยบริการเคมีบำบัด และกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติการให้ยาเคมีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ ที่ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 90 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 58 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 32 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก แต่ละสมรรถนะหลักประกอบด้วยสมรรถนะย่อยดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้เกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการบริหารยา ประกอบด้วย 19 ข้อ 2. สมรรถนะด้านการจัดการความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วย 8 ข้อ 3. สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด ประกอบด้วย12 ข้อ 4. สมรรถนะด้านความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคและผลกระทบ ประกอบด้วย 6 ข้อ 5. สมรรถนะด้านการสื่อสาร การสอนและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 22 ข้อ 6. สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ ประกอบด้วย 12 ข้อ 7. สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้ และการวิจัย ประกอบด้วย 11 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23177 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355519 WY141 น542 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ / ปรารถนา หมี้แสน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ : โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ Original title : A comparison of human resourse management of nursing departments as perceived by professional nurses hospital participated and non particpated in hospital total quality management program Material Type: printed text Authors: ปรารถนา หมี้แสน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ก-ฌ, 135 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-334-553-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการ
[LCSH]บุคลากรโรงพยาบาล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การจัดการ.
ทรัพยากรมนุษย์.
การพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ป572 2542 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล
2. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 3. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลหลังจากเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพเป็นระยะเวลา 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี 4. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกับโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .094 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิตทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ระบบงานอยู่ในระดับมาก การศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และความสุขสมบรูณ์ และความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโดยรวมไม่แตกต่างกัน รายด้านระบบงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระหว่างโรงพยาบาบที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกัลโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลโดยรสมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23328 การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ = A comparison of human resourse management of nursing departments as perceived by professional nurses hospital participated and non particpated in hospital total quality management program : โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ [printed text] / ปรารถนา หมี้แสน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ก-ฌ, 135 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-334-553-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการ
[LCSH]บุคลากรโรงพยาบาล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การจัดการ.
ทรัพยากรมนุษย์.
การพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ป572 2542 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล
2. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 3. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลหลังจากเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพเป็นระยะเวลา 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี 4. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกับโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .094 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิตทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ระบบงานอยู่ในระดับมาก การศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และความสุขสมบรูณ์ และความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโดยรวมไม่แตกต่างกัน รายด้านระบบงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระหว่างโรงพยาบาบที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกัลโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลโดยรสมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23328 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357283 THE WX150 ป572 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฎ, 126 แผ่น Layout: แผนภูมิ Size: 30 cm. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ฎ, 126 แผ่น : แผนภูมิ ; 30 cm.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355154 WY105 ก117 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป / ญาณิศา ลิ้มรัตน์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between personal factors,ethical work climate in nursing deparments,quality of working life,and organization commitment of professional nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: ญาณิศา ลิ้มรัตน์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 121 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-17-6311-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล ]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: จริยธรรม.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความผูกพัน.Class number: WY11 ญ324 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติืการที่ปฎิบัิติงานในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 384 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 093 .88 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั้วไป อยู่ในระดับสูง
2. ปัจัจส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัีมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.22]
3. บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.60]
4. คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.67]
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานและบรรยาการจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลสามารถร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 50.7 [R2 =.507]Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23179 ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป = Relationships between personal factors,ethical work climate in nursing deparments,quality of working life,and organization commitment of professional nurses, general hospitals [printed text] / ญาณิศา ลิ้มรัตน์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 121 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-17-6311-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล ]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: จริยธรรม.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความผูกพัน.Class number: WY11 ญ324 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติืการที่ปฎิบัิติงานในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 384 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 093 .88 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั้วไป อยู่ในระดับสูง
2. ปัจัจส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัีมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.22]
3. บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.60]
4. คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.67]
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานและบรรยาการจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลสามารถร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 50.7 [R2 =.507]Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23179 ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมในหน่วยงานกับประสิทธิผลของงานของ / สุมาลัย ประจวบอารีย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมในหน่วยงานกับประสิทธิผลของงานของ : พยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between emotional quotient workplace environment and job effectiveness of professional nurse of perioperative nursing service regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: สุมาลัย ประจวบอารีย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ฎ, 96 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-654-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Operating Room Nursing
[LCSH]การพยาบาลทางห้องผ่าตัด
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: การพยาบาล.
Operating room.Class number: WY162 ส846 2546 Abstract: ศึกษาระดับความฉลาดทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมในหน่วยงาน ประสิทธิผลของงาน และความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมในหน่วยงานกับประสิทธิผลของงาน ของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 249 คน ซึ่งได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ แบบสอบถามสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน แบบสอบถามประสิทธิผลของงาน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ .87 และ .94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ประสิทธิผลของงานและสภาพแวดล้อมในหน่วยงานของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับดี (X = 4.17 และ 4.01 ตามลำดับ) 2. ความฉลาดทางอารมณ์ ของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับปกติ (X = 165.99) 3. ความฉลาดทางอารมณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของงานของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .45) 4.สภาพแวดล้อมในหน่วยงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของงานของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .71) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23129 ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมในหน่วยงานกับประสิทธิผลของงานของ = Relationships between emotional quotient workplace environment and job effectiveness of professional nurse of perioperative nursing service regional hospital and medical centers : พยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / สุมาลัย ประจวบอารีย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ฎ, 96 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-654-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Operating Room Nursing
[LCSH]การพยาบาลทางห้องผ่าตัด
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: การพยาบาล.
Operating room.Class number: WY162 ส846 2546 Abstract: ศึกษาระดับความฉลาดทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมในหน่วยงาน ประสิทธิผลของงาน และความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมในหน่วยงานกับประสิทธิผลของงาน ของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 249 คน ซึ่งได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ แบบสอบถามสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน แบบสอบถามประสิทธิผลของงาน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ .87 และ .94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ประสิทธิผลของงานและสภาพแวดล้อมในหน่วยงานของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับดี (X = 4.17 และ 4.01 ตามลำดับ) 2. ความฉลาดทางอารมณ์ ของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับปกติ (X = 165.99) 3. ความฉลาดทางอารมณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของงานของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .45) 4.สภาพแวดล้อมในหน่วยงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของงานของพยาบาลวิชาชีพงานการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .71) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23129 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354462 WY162 ส846 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร / พัฒราภรณ์ กล้าหาญ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between adversity quotient, career commitment, and career success of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the department of medical services, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: พัฒราภรณ์ กล้าหาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฎ,131 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์Keywords: อุปสรรค.
ความผูกพันในวิิชาชีพ.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 พ631 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครจำนวน 368 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค แบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพและแบบสอบถามความสำเร็จในวิชาชีพ วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้. 80, .95 และ.85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสำเร็จในวิชาชีพและความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับสูง ( X = 3. 52, SD = .49 และ X = 3. 94, SD = .53 ตามลำดับ ) 2. ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในอยู่ในระดับปานกลาง ( X= 131. 25, SD = 13.44) 3. ความผูกพันในวิชาชีพ และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r =.46 และ .14 ตามลำดับ ) 4. ความผูกพันในวิชาชีพสามารถพยากรณ์ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครได้ร้อยละ 20.7(R2= .207) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สร้างสมการในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ ความสำเร็จในวิชาชีพ = 0.455 ความผูกพันในวิชาชีพ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23220 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร = Relationships between adversity quotient, career commitment, and career success of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the department of medical services, Bangkok Metropolis [printed text] / พัฒราภรณ์ กล้าหาญ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฎ,131 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์Keywords: อุปสรรค.
ความผูกพันในวิิชาชีพ.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 พ631 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครจำนวน 368 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค แบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพและแบบสอบถามความสำเร็จในวิชาชีพ วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้. 80, .95 และ.85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสำเร็จในวิชาชีพและความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับสูง ( X = 3. 52, SD = .49 และ X = 3. 94, SD = .53 ตามลำดับ ) 2. ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในอยู่ในระดับปานกลาง ( X= 131. 25, SD = 13.44) 3. ความผูกพันในวิชาชีพ และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r =.46 และ .14 ตามลำดับ ) 4. ความผูกพันในวิชาชีพสามารถพยากรณ์ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครได้ร้อยละ 20.7(R2= .207) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สร้างสมการในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ ความสำเร็จในวิชาชีพ = 0.455 ความผูกพันในวิชาชีพ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23220 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354926 WY100 พ631 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม / สุธิดา เรืองเพ็ง / 2550
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม Original title : Relationships between hardiness, director support and professional commitment of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense Material Type: printed text Authors: สุธิดา เรืองเพ็ง, Author Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 113 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ผู้บังคับบัญชา
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกระทราวงกลาโหมKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ผู้บังคับบัญชา.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม.Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 386 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความเข้มแข็งอดทน แบบสอบถามการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .89, .84 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม อยู่ในระดับมาก (X= 3.79 S.D. = .40) 2. ความเข้มแข็งอดทนและ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.92 S.D. = .36 และ X = 3.68 S.D. = .65 ตามลำดับ) 3. ความเข้มแข็งอดทนและการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .44 และ .26 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23221 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม = Relationships between hardiness, director support and professional commitment of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense [printed text] / สุธิดา เรืองเพ็ง, Author . - 2550 . - ก-ญ, 113 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ผู้บังคับบัญชา
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกระทราวงกลาโหมKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ผู้บังคับบัญชา.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม.Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 386 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความเข้มแข็งอดทน แบบสอบถามการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .89, .84 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม อยู่ในระดับมาก (X= 3.79 S.D. = .40) 2. ความเข้มแข็งอดทนและ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.92 S.D. = .36 และ X = 3.68 S.D. = .65 ตามลำดับ) 3. ความเข้มแข็งอดทนและการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .44 และ .26 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23221 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354991 WY125 ส844 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ฎ, 192 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-431-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาทและความยืดหยุ่น = Relationships between personality, working ability, role diversity, flexibility of teams and nursing team effectiveness of professional nurses in intensive care units, regional hospital and medical centers : ของทีมกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / วรรณฤดี เชาว์ศรีกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ฎ, 192 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-431-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)) -- จุฬาลงกรณ์มหาิวิทยาลัย,2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บุคลิกภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การทำงาน.
พยาบาลวิชาชีพ
บุคลิกภาพ.Class number: WY100 ว777 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัีมพันธ์ีระหว่างบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท และความยืดหยุ่นของทีม กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายประสิืทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทีมการพยาบาล 74 ทีม ที่ประกอบด้วย พยาบาลวิชาบีพ จำนวน 471 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย จากประชากร 977 คน ซึ่งปฎิบัติงานอยู่ในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการรบวรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพ ความสามารถในการทำงาน ความหลากหลายในบทบาท ความยืดหยุ่นของทีม และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ผ่านการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรขั้นตอน (ใช้ทีมเป็นหน่วยในการวิเคราะห์) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ งานห้องผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.83)
2. ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน และความยืดหยุ่นของทีม มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.72, 0.77 และ0.78 ตามลำดับ) บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิกภาพประนีประนอม และบุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.33, 0.32 และ 0.31) ตามลำดับ และบุคลิกภาพเปิดเผยมีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.20) ส่วนบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล
3. กลุ่มตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ได้แก่ ความหลากหลายในบทบาท ความสามารถในการทำงาน ความยืดหยุ่นของทีม และบุคลิกภาพควบคุมตนเองโดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 73 (R=0.73) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23307 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384667 THE WY100 ว777 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration Material Type: printed text Authors: ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 131 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-515-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร = Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration [printed text] / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 131 แผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-515-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354439 WY125 ข158 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป / สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between personal factors, nursing career vitality, internal locus of control, and career commitment of professional nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฎ, 98 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-443-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: พยาบาลวืชาชีพ.
วิืชาชีพพยาบาล.
ความผูกพัน.Class number: WY100 ส845 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตน กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพลังวิชาชีพพยาบาล แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตนและแบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .83, .86 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.71 S.D. = .43) 2. พลังวิชาชีพพยาบาลและความเชื่ออำนาจภายในตนของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.53 S.D. = .40, [Mean] = 3.95 S.D. = .37 ตามลำดับ) 3. ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุและประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r = .13 และ .12 ตามลำดับ) แต่ระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป 4. พลังวิชาชีพพยาบาล และความเชื่ออำนาจภายในตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50 และ .61 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23173 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป = Relationships between personal factors, nursing career vitality, internal locus of control, and career commitment of professional nurses, general hospitals [printed text] / สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฎ, 98 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-443-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: พยาบาลวืชาชีพ.
วิืชาชีพพยาบาล.
ความผูกพัน.Class number: WY100 ส845 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตน กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพลังวิชาชีพพยาบาล แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตนและแบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .83, .86 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.71 S.D. = .43) 2. พลังวิชาชีพพยาบาลและความเชื่ออำนาจภายในตนของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.53 S.D. = .40, [Mean] = 3.95 S.D. = .37 ตามลำดับ) 3. ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุและประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r = .13 และ .12 ตามลำดับ) แต่ระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป 4. พลังวิชาชีพพยาบาล และความเชื่ออำนาจภายในตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50 และ .61 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23173